การบําเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง

การบําเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง
ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา
การบําเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง

การบําเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง

          ทรงเริ่มบำเพ็ญเพียรทุกรกิริยา ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกันว่าจะเป็นหนทางที่ทำให้
ตรัสรู้ โดยกดพระทนต์ด้วยพระทนต์,  กดพระตาลุ(เพดานปาก) ด้วยพระชิวหา(ลิ้น),
ทรงผ่อนกลั้นลมอัสสาสะปัสสาสะ, ทรงอดพระกระยาหาร จนพระวรกายเหี่ยวแห้ง
พระฉวี(ผิวพรรณ)เศร้าหมอง  มีพระอาการประชวรอ่อนเพลียอิดโรย จนหมดสติล้มลง

          เมื่อฟื้นคืนสติ ทรงเห็นว่าผู้ที่ทำความเพียรด้วยการทรมานร่างกาย
ยิ่งกว่าเรานั้นไม่มี  เราปฏิบัติอุกฤษฏ์ถึงขนาดนี้แล้ว ยังไม่สามารถจะบรรลุ
พระโพธิญาณได้ ชะรอยหนทางแห่งการตรัสรู้คงจะเป็นหนทางอื่น มิใช่ทางนี้เป็นแน่

การบําเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง


             ขณะนั้นพระอินทร์ทรงทราบความปริวิตกของพระมหาบุรุษ  จึงนำพิณทิพย์
สามสายมาดีดถวายให้พระโพธิสัตว์ได้สดับ

          เมื่อพระองค์ได้สดับเสียงพิณแล้วก็ทรงเปรียบเทียบการปฏิบัติกับพิณสามสายว่า
            “สายหนึ่งตึงนัก พอดีดไปหน่อยก็ขาด สายหนึ่งหย่อนนัก ดีดไม่มีเสียง
ส่วนอีกสายหนึ่งไม่ตึงนักไม่หย่อนนักพอปานกลาง จะมีเสียงดังไพเราะ”

          พระโพธิสัตว์ทรงถือเอาเสียงพิณนั้นเป็นนิมิตหมาย พิจารณาเห็นแจ้งว่า
           “มัชฌิมาปฏิปทา คือ การปฏิบัติเป็นกลางๆ ไม่ตึงนักไม่หย่อนนัก
คงจะเป็นหนทางแห่งการตรัสรู้แน่นอน”

            จึงตัดสินพระทัยที่จะบำเพ็ญเพียรทางจิตต่อไป และการบำเพ็ญเพียร
ทางจิตนั้น บุคคลที่มีร่างกายไม่แข็งแรงทุพพลภาพเช่นเรานี้ไม่สามารถจะเจริญสมาธิได้
จึงได้เสวยพระกระยาหารบำรุงร่างกายให้มีกำลังก่อนแล้วจึงบำเพ็ญเพียร
ดังนั้น ในวันรุ่งขึ้นจึงทรงถือบาตรเที่ยวบิณฑบาตมาเสวยพระกระยาหารตามเดิม

การบําเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง

            ฝ่ายปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ผู้มีศรัทธาเลื่อมใสในการปฏิบัติแบบทรมานร่างกาย
ครั้นเห็นพระองค์ทรงหันมาบริโภคอาหาร จึงเข้าใจว่า  พระองค์ทรงละความเพียร
เสียแล้ว จึงพากันหลีกหนีทิ้งพระองค์ให้ประทับอยู่ตามลำพัง

ที่มาจากพระไตรปิฎก อรรถกถาและคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง

บทภาพยนตร์

บรรยาย
            พระมหาบุรุษต้องการแสวงหาหนทางตรัสรู้  จึงทรงทรมานตนเองตามคตินิยม
ของพวกนักบวช เป็น ๓ วาระ

            วาระที่ ๑ ทรงใช้ฟันกดฟัน  ใช้ลิ้นกดเพดานปากไว้แน่นจนเหงื่อไหลโซม
ได้รับทุกขเวทนาแสนสาหัส  เหมือนมีผู้มาบีบคอไว้แน่น  ครั้นเห็นว่าไม่ใช่หนทางตรัสรู้
จึงเปลี่ยนวิธีอื่นต่อไป

            วาระที่ ๒ ทรงกลั้นลมหายใจเข้าออกให้เดินไม่สะดวกจนเกิดเสียงอู้
ในช่องหูทั้งสอง ปวดพระเศียร เสียดท้องและร้อนในพระวรกายอย่างยิ่ง
แม้จะทุกข์ทรมานอย่างหนัก แต่พระองค์ก็มิได้ย่อท้อ ครั้นเห็นว่านี่ก็ไม่ใช่
หนทางตรัสรู้จึงเปลี่ยนวิธีอื่นต่อไป

            วาระที่ ๓ ทรงอดอาหารจนซูบผอมเหี่ยวแห้งผิวพรรณเศร้าหมอง
กระดูกและเส้นเอ็นปรากฏที่พระวรกายมีพระกำลังถดถอย อิดโรยทนทุกข์ทรมาน
อย่างแรงกล้า พอลูบพระวรกายก็มีเส้นพระโลมาติดมาด้วย

(พระพุทธเจ้า) (เสียงก้องในความคิด)
            เรากระทำทุกรกิริยาทรมานร่างกาย   จนแม้ผู้อื่นก็ไม่สามารถทำได้
ยิ่งกว่านี้แล้ว เหตุใดจึงไม่บรรลุพระโพธิญาณ   หรือว่าหนทางนี้จะไม่ใช่ทางตรัสรู้


(พระอินทร์) (พูดกับตัวเอง)
            พระมหาบุรุษกำลังครุ่นคิดวิตกถึงหนทางตรัสรู้   เราจะช่วยยังไงดีนะ
...ฮ้า...ต้องใช้วิธีนี้

��й��෾´�ͧ��˹���Ӥѭ�Դ�Դ��Ҿ�к��⾸��ѵ����Һ������鹾�Ъ������� �֧�պ�Ӥ���价����ҡ�ا���ž�ʴ�� ��������ط⸷�зç��蹾�з����� ��Һ㴷���������ѧ�����������繾�����������ط���� ������ǹ����¾�Ъ���վŧ���ҧ��͹

"�Ѫ���һ�Ի�� ��ҧ��¡�ҧ"

���鹿�鹤׹ʵ� ��к��⾸��ѵ����Һ���ɷç�Ԩ�ó����Ի�� ��� ��û�оĵ������ҧ���Թ 㹷ءá����ҷ�����з���������� �֧�ؤ�ŷ���������ͼ�����š���С�з���觡��Ҿ��ͧ�������� ����䩹�ѧ����Ҩ����ؾ��⾸ԭҳ ��� �ѭ�ҷ��е�������繾�оط���� �֧�������˹�ҧ��餧������Ըա�÷��е��������� ���Ǩ���˹�ҧ����������

��й�� �������Թ��Ҹ��Ҫ ���;���Թ��� �ç��Һ��ͻ���Ե��ͧ��к��⾸��ѵ��֧�ӾԳ�Ծ���������Ҵմ����
�� ���˹�觢֧���֧ ����ʹմ��¨֧�Ҵ
�� ���˹�觢֧������͹ ����ʹմ�֧��������§
�� ���˹�觢֧���ʹ� ���֧������͹����ʹմ��ѧ�Դ���§����ШѺ� ��к��⾸��ѵ����ʴѺ���§�Գ�ç�ǹ���֡�֧�Գ�����ͧ���·ç����ҧ��͹ �ç�Ԩ�ó���� �Ѫ���һ�Ի�� ���͡�û�ԺѵԵ���ҧ��¡�ҧ����ͧ ��� ˹�ҧ���⾸ԭҳ

����;�����⾸��ѵ��Ԩ�ó���ѧ��� ���ͧ���ç���������������鹵���ӴѺ ���������ҧ��¿������ó��� �������ҧ��¾�����ó��� ����ອ��Ѥ�շ�� � �������繾��ͧ�������ԡ㹡�÷��ҹ��㹡����ǧ����������� ��Դ������Ҫ���Է�ѵ��Шзç¡��ԡ㹡����ǧ����������� �����ԡ����͡�Ǫ���͡�Ѻ令�ͧ�Ҫ�����ѵ��蠨֧���������ա�ҡ��Ҫ���Է�ѵ���仠 ����������ͧ��������§������ǵ���Ӿѧ�

การบําเพ็ญทุกรกิริยา มีอะไรบ้าง

ทุกรกิริยา” อย่างง่ายที่สุดคือการละเว้นจากกิเลสบางอย่าง เช่น การงดดื่มสุรา หรือการเลือกใช้ชีวิตอันสมถะ เช่น ใช้ชีวิตอารามวาสี หรือถ้าเป็น “ทุกรกิริยา” ขั้นรุนแรงอาจจะเป็นการทำร้ายตนเองเช่นโดยการเฆี่ยน แทง หรือกรีดเนื้อหนังเป็นต้น

การบําเพ็ญทุกรกิริยาของพระสิทธัตถะ หมายถึงข้อใด

การบำเพ็ญทุกรกิริยา หมายถึง กิริยาที่ทำได้ยาก อาทิ การลดปริมาณในการรับประทานอาหาร จนถึงขั้นไม่รับประทานเลย การกลั้นลมหายใจ การบำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุธรรมวิเศษ ด้วยวิธีการทรมานตนด้วยวิธีต่างๆ เป็นวิธีของโยคี

ทรงบําเพ็ญทุกรกิริยากี่ปี

การบำเพ็ญทุกรกิริยา เมื่อพระองค์ทรงเปลี่ยนพระทัยที่จะคิดค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยพระองค์เองแทนที่จะทรงเล่าเรียนในสำนักอาจารย์แล้วพระองค์เริ่มด้วยการทรมานพระวรกายตามวิธีการของโยคี เรียกว่า การบำเพ็ญทุกรกิริยา บริเวณแม่น้ำ เนรัญชรานั้น พระมหาบุรุษได้ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาเป็นเวลา ๖ ปี พระองค์ก็ยังคงมิได้ค้นหาทางหลุดพ้นจาก ...

การบำเพ็ญทุกรกิริยาในวาระที่ 1 ทำอย่างไร

วาระที่ ๑ ทรงกดพระทนต์ด้วยพระทนต์ กดพระตาลุด้วยชิวหาไว้ให้แน่นจนพระเสโทไหลโซมจากพระกัจฉะ ในเวลานั้นได้เสวยทุกขเวทนากล้า เปรียบเหมือนบุรุษมีกำลังมากจับบุรุษที่มีกำลังน้อยที่ศีรษะหรือที่คอ บีบให้แน่นฉะนั้น แม้พระกายจะกระวนกระวายไม่สงบอย่างนี้ แต่ทุกขเวทนานั้นไม่อาจครอบงำพระหฤทัยให้กระสับกระส่ายได้ พระองค์มีพระสติมั่นไม่ ...