ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

การทำงานในที่อับอากาศอย่างปลอดภัย



การทำงานในที่อับอากาศ

อย่างปลอดภัย

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

คำจำกัดความพื้นที่อับอากาศ (Confined Spaces) 

หมายถึง สถานที่ทำงานที่มีทางเข้าออกจำกัด มีการระบายอากาศตามธรรมชาติ ไม่เพียงพอที่จะทำให้อากาศ ภายในอยู่ในสภาพถูกสุขลักษณะ และปลอดภัยซึ่งอาจเป็นที่สะสมของสารเคมีเป็น พิษ สารไวไฟ รวมทั้งออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่นถังน้ำมัน ถังหมัก ไซโล ท่อ ถัง ถ้ำ บ่อ อุโมงค์ เตา ห้องใต้ดิน ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกันนี้

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

สถานที่อับอากาศ
1. มีขนาดเพียงพอที่คนสามารถเข้าไปได้
2. มีทางเข้า-ทางออกขนาดจำกัด
3. พื้นที่ที่ทางเข้า-ทางออกอยู่ไกลจากจัดปฏิบัติงานหรือมีขนาดเล็ก
4. ไม่ได้ออกแบบมาให้เพื่อปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

มาตรการป้องกันอันตราย
- จัดทำป้าย "ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า"ติดหน้าทางเข้า-ออก และต้องขออนุญาตก่อนเข้าทำงานทุกครั้ง
- ตรวจสอบก๊าซพิษ ก๊าซติดไฟและปริมาณก๊าซออกซิเจนต้องอยู่ระหว่าง 19.5 - 23.5
- ต้องมีผู้ควบคุม และมีผู้ช่วยเหลืออยู่ประจำบริเวณทางเข้า-ทางออก ตลอดเวลาที่มีการทำงาน
- จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล Personal Protective Equipment (PPE) อุปกรณ์ช่วยเหลือและช่วยชีวิตที่เหมาะสม
 

บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้อง


ผู้อนุญาต
ประเมินความอันตรายในพื้นที่ ออกหนังสืออนุญาตทำงาน อนุมัติให้มีการทำงานในที่อับอากาศวางแผนปฏิบัติงาน ตรวจสอบพื้นที่ก่อนและระหว่างปฏิบัติงาน

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

ผู้ควบคุมงาน
วางแผนการทำงานและการป้องกันอันตราย ควบคุมดูแลผู้ปฏิบัติงาน ชี้แจงหน้าที่ วิธีทำงานการป้องกันอันตราย สั่งหยุดงานชั่วคราวได้

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ


ผู้ปฏิบัติงาน
ตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงานแจ้งอันตราย เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินสวมอุปกรณ์ PPEตลอดระยะเวลาปฏิบัติงาน

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ


ผู้ช่วยเหลือ
ให้ความช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงาน หากเกิดเหตุฉุกเฉินไม่ให้ผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าพื้นที่ ตรวจสอบรายชื่อและจำนวนผู้เข้าปฏิบัติงาน ตรวจสอบอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้พร้อมใช้งาน

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ
การทำงานในพื้นที่อับอากาศ

การทำงานในพื้นที่อับอากาศ

พื้นที่อับอากาศ หรือ Confined space คือ ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัด และ มีการระบายอากาศไม่เพียงพอที่จะทำให้อากาศภายในอยู่ในสภาพถูกสุขลักษณะและปลอดภัย รวมทั้งไม่ได้ออกแบบไว้เป็นสถานที่ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ เช่น อุโมงค์ ถ้ำ บ่อ หลุม ห้องใต้ดิน ห้องนิรภัย ถังน้ำมัน ถังหมัก ถังไซโล ท่อ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายกัน และตามนิยามกฎหมายความปลอดภัยที่อับอากาศยังรวมถึง บรรยากาศอันตรายซึ่งหมายถึง สภาพอากาศที่อาจทำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายจากสภาวะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้

(1) มีออกซิเจนต่ำกว่าร้อยละ 19.5 หรือมากกว่าร้อยละ 23.5 โดยปริมาตร
(2) มีก๊าซ ไอ ละอองที่ติดไฟหรือระเบิดได้ เกินร้อยละ ๑๐ ของค่าความเข้มข้นขั้นต่ำของสารเคมีแต่ละชนิดในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบิดได้ (Lower Flammable limit หรือ Lower Explosive Limit)
(3) มีฝุ่นที่ติดไฟหรือระเบิดได้ ซึ่งมีค่าความเข้มข้นเท่ากับหรือมากกว่าค่าความเข้มข้นขั้นต่ำสุดของฝุ่นที่ติดไฟหรือระเบิดได้แต่ละชนิด (Minimum Explosible Concentration)
(4) มีค่าความเข้มข้นของสารเคมีแต่ละชนิดเกินมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

ปฏิบัติอย่างไรเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
1. มีระบบการทำงานที่มีความปลอดภัย ดังนี้
- มีผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน หรือเจ้าของพื้นที่เข้าดูแลรับผิดชอบพื้นที่
- ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ผู้ควบคุมงาน และผู้อนุญาต) ต้องผ่านการอบรมและมีความรู้ความสามารถในการทำงานในสถานที่อับอากาศ
- มีการตัดระบบการทำงานของเครื่องจักร กระแสไฟฟ้า และการป้อนวัสดุ
- ทำความสะอาดพื้นที่โดยรอบเพื่อไม่มีสิ่งที่เป็นอันตราย ก่อนเข้าปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- ทำการตรวจสอบและดำเนินการให้ช่องทางเข้าออก สะดวก ปลอดภัย
- มีระบบระบายอากาศที่เหมาะสมก่อนเข้าทำงาน และตลอดระยะเวลาที่ทำงาน
- มีการตรวจวัดสภาพบรรยากาศสำหรับการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- เลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะกับลักษณะงาน และแสงสว่างเพียงพอ
- มีการเลือกใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือ SCBA ที่เหมาะสม
- มีป้ายเตือนอันตรายและห้ามเข้า
2. มีการเตรียมการสำหรับเหตุฉุกเฉินให้พร้อมก่อนเริ่มการเข้าปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- ตรวจสอบและเตรียมความพร้อมในการแจ้งกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
- จัดเตรียมเครื่องมือกู้ภัยและช่วยชีวิตที่พร้อมใช้งานได้อย่างทันสถานการณ์
- ทีมฉุกเฉินและทีมกู้ภัยมีสมรรถนะตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานในที่อับอากาศได้ทันสถานการณ์
3. มีการจัดโปรแกรมการจัดการเพื่อความปลอดภัยในการเข้าทำงานในที่อับอากาศ
- ชี้บ่งอันตรายพื้นที่ที่ถือว่าเป็นที่อับอากาศ
- มีระบบการอนุญาตให้เข้าปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- จัดให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง (ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้เฝ้าระวัง ผู้ควบคุมงาน และผู้อนุญาต) และผู้ที่มีความรู้ความสามารถอบรมการปฏิบัติงานในที่อับอากาศ
- มีการวางแผน และทำการประเมินความเสี่ยงในการเข้าปฏิบัติงานในที่อับอากาศแต่ละครั้ง
- มีขั้นตอนการปฏิบัติงานและขั้นตอนการตรวจวัดสภาพบรรยากาศอันตราย
- มีป้ายเตือนอันตราย
- มีระบบการป้องกันการเข้าในที่อับอากาศโดยพลการ
- จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์การช่วยชีวิต หรืออุปกรณ์พิเศษอื่นตามลักษณะการปฏิบัติงาน
- จัดให้มีระบบระบายอากาศที่เหมาะสมก่อนเข้าทำงาน และตลอดระยะเวลาที่ทำงาน
- มีแผนกู้ภัยฉุกเฉินสำหรับลูกจ้างหรือผู้ประสบภัยในสถานที่อับอากาศ

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

ขั้น ตอน การ ทํา งานในที่อับอากาศ

ถังเก็บน้ำ หรือ บ่อเก็บน้ำ เป็นพื้นที่ที่อยู่ในเงื่อนไขว่าเป็นพื้นที่อับอากาศ ดังนั้น งานล้างถังเก็บน้ำ ถังพักน้ำ จึงต้องดำเนินการตามมาตรฐานการปลอดภัยตามที่ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกำหนดว่าด้วยการทำงานในพื้นที่อับอากาศ โดยพนักงานต้องได้รับการฝึกอบรมจากหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากทางกระทรวงแรงงาน และมีใบรับรองการฝึกอบรมอย่างถูกต้อง เพื่อให้งานออกมาได้ตามมาตรฐาน และ ปลอดภัย โดยต้องมีอุปกรณ์การทำงาน และ อุปกรณ์ความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน มีแผนการช่วยเหลือ เพื่อความมั่นใจในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน

บริษัท เค-วิซ โซลูชั่น จึงเน้นย้ำการทำงานตามมาตรฐานความปลอดภัยดังกล่าว พนักงานที่เกี่ยวข้องได้รับการฝึกอบรมจากหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง เพื่อให้ลูกค้าของเรา มีการออกแบบขั้นตอนการทำงานล้างถังเก็บน้ำให้ลูกค้าของเราได้รับบริการที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัยทั้งตัวพนักงานล้างถังเก็บน้ำของเรา และ ปลอดภัยต่อบุคลากรและระบบอาคารของลูกค้า สนใจรับบริการล้างถังเก็บน้ำ ถังพักน้ำ สำหรับบ้านพักอาศัย อาคารสูง ติดต่อ HOTLINE 0814673826 หรือ อีเมลล์ [email protected]