ใบงานการงานอาชีพ ป.6 งานประดิษฐ์

แบบฝกึ ทกั ษะการงานอาชีพ
เร่อื งงานประดษิ ฐ์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6

โดย
.....................................................
ตำแหนง่ คร.ู .................................

โรงเรยี น…………………………………………..
อำเภอ……………………………… จังหวัด……………………………….
สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา…………………………………………………….

คำนำ

เอกสารประกอบการเรียนรู้ แบบฝึกเสริมทักษะการงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 6 ฉบับน้ี ทางผู้ศึกษาได้พฒั นาขึ้นเพื่อใช้ในการจดั การเรยี นรู้ให้แกน่ ักเรียนช้ันประถมศึกษาปี
ที่ 6 ซึ่งมีเนื้อหาตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มีการจัดทำเนื้อหาและแบบฝึกใบงานพรอ้ ม
เฉลยให้สามารถศึกษาได้เอง เอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ได้รวบรวมเรียบเรียงสาระสำคัญโดยสังเขป
ชัดเจน เนื้อหาที่ได้บรรจุในเอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ได้มาจากการศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
เน้อื แกนกลางเพือ่ ใหม้ ีความเหมาะสมกับนักเรยี น

ผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณ เพื่อนครู ครูผู้อาวุโส ครูชำนาญการ ศึกษานิเทศก์ และผู้อำนวยการ
โรงเรียนที่ได้กรุณาให้คำแนะนำและตรวจสอบความถูกต้องของแบบฝึกเสริมทักษะการงานอาชีพ เรื่องงาน
ประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ฉบับนี้ด้วยดี และขอบใจนักเรียนทุกคนที่
ให้ความร่วมมือในการเรียนและช่วยแก้ไขข้อผิดพลาดบางประการจนทำให้เอกสารฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งข้ึน
การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหากมีความผิดพลาดข้อบกพร่อง
ขอ้ เสนอแนะ คำตชิ มใดพึงมี ถือเป็นการสร้างกุศลยิ่งแก่แวดวงวิชาการผ้เู ขยี นขอน้อมรับดว้ ยความยินดี

.........................................................
ผู้จดั ทำ

คำแนะนำสำหรบั ครูการใช้แบบฝกึ เสริมทักษะการงานอาชีพ

การนำแบบฝึกทักษะการงานอาชีพฉบับน้ี ไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ครูควรให้คำแนะนำในการ
เรียนรู้พรอ้ มทำข้อตกลงในการเรียน และปฏิบัติดงั นี้

1. ครูผสู้ อนควรใหค้ ำแนะนำขัน้ ตอนการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการงานอาชีพ เร่ืองงานประดิษฐ์ กลุ่ม
สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพแก่นกั เรียนอย่างละเอียด เพ่อื ให้นักเรยี นแต่ละคนเข้าใจตรงกนั รวมทงั้ การให้
คะแนนทง้ั การทดสอบกอ่ นเรียนหลงั เรยี น และคะแนนจากแบบฝกึ เสริมทักษะแต่ละกจิ กรรม

2. แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะฉบับนี้ นอกจากการใชส้ อนตามแผนการจดั การเรยี นร้แู ล้ว ยังสามารถนำใช้สอน
เสริมนอกเวลาเรยี นปกติ หรอื ตามความเหมาะสม

3. ครูผู้สอนตอ้ งอธบิ ายขั้นตอนการใช้แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะนี้กบั นักเรียนทีละขนั้ ตอน โดยให้นกั เรยี นทำ
แบบทดสอบก่อนศกึ ษาเนื้อหาและทำแบบฝึกเสริมทักษะครูจะต้องบันทกึ คะแนนทกุ ครัง้ ไวด้ ้วย

4. ครผู ู้สอนจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามความเหมาะสม โดยใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพ เป็นส่ือในการจัดการเรยี นรู้

5. ครผู ู้สอนให้นกั เรียนศึกษาองคค์ วามรู้ ท่ีอยใู่ นแบบฝึกเสริมทักษะโดยศึกษา ทำความเข้าใจอธบิ าย
ซักถาม ประกอบแล้วจงึ ให้นักเรียนทำแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะในแตล่ ะกจิ กรรม

6. ครผู ูส้ อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใหน้ กั เรียนทำแบบฝึกทักษะต้ังแตต่ ้นจนจบตามลำดับใน
แผนการจัดการเรียนรู้

7. ครูผสู้ อนตรวจแบบฝกึ เสรมิ ทักษะทน่ี กั เรยี นได้ทำใบกิจกรรมพร้อมบนั ทกึ คะแนนทกุ คร้ังให้
เรียบรอ้ ยใหท้ ำแบบทดสอบหลังเรียน

8. ครูผสู้ อนดำเนนิ การตรวจแบบฝึกทกั ษะ แบบทดสอบ และสงั เกตพฤติกรรมการร่วมกจิ กรรมของ
นกั เรยี น บนั ทึกคะแนน และแจง้ ผลการประเมนิ แกน่ ักเรยี นเป็นรายบุคคล

คำแนะนำสำหรับนกั เรยี นการใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะการงานอาชีพ

เอกสารประกอบการเรียนรู้ แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการงานอาชีพ กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ที่
สรา้ งขึน้ น้ี จดั ทำขนึ้ เปน็ นวตั กรรมสำหรับจัดการเรยี นร้ใู หก้ ับนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เพ่อื ใหน้ ักเรียนได้
ศกึ ษาดว้ ยตนเองและมีความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งงานประดิษฐ์ ซึ่งจะช่วยใหน้ กั เรียนใช้ได้ถูกตอ้ ง โดยมงุ่ เน้นให้
นกั เรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ถงึ ความสำคัญในการศกึ ษาค้นควา้ และเปน็ ดงั น้นั เพ่อื ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพในการ
จดั การเรยี นรู้ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำดังตอ่ ไปนี้อย่างเครง่ ครดั
1. ให้นักเรียนอ่านคำแนะนำสำหรบั นกั เรยี นก่อนลงมือศึกษาเอกสารประกอบ การเรียนรู้เล่มน้ที กุ คร้ัง
2. นกั เรียนควรอ่านและทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนตามท่ีกำหนดไวใ้ นแบบฝึกเสริมทกั ษะใหค้ รบทุกกิจกรรม
3. นักเรียนควรต้ังใจศึกษาและทำความเข้าใจคำชี้แจง และคำสงั่ ก่อนทจี่ ะลงมือปฏิบัติกิจกรรมในแบบฝึกเสรมิ
ทกั ษะต่างๆ ตามที่กำหนดไวใ้ นแบบฝกึ เสริมทักษะ
4. นกั เรยี นควรอ่านทบทวนแบบฝึกเสรมิ ทักษะแต่ละแบบฝึกทที่ ำทุกคร้ังก่อนส่งครู เพือ่ ตรวจทานความถูกต้อง
5. นักเรยี นควรสำรวจตนเองว่าทำคะแนนในแบบฝกึ เสรมิ ทักษะในแต่ละแบบฝกึ และแบบประเมินต่างๆ ผ่าน
เกณฑ์อยใู่ นระดบั ใด เพื่อแก้ไขขอ้ บกพร่องและพัฒนาตนเองใหม้ คี วามสามารถมากขึ้น
6. ใหน้ กั เรียนตงั้ ใจทำแบบทดสอบหลังเรียนดว้ ยความต้งั ใจและเต็มความสามารถ เพราะคะแนนทไี่ ด้จากการทำ
แบบทดสอบหลงั เรียนจะเป็นคะแนนเก็บทีใ่ ช้ในการประเมินผลของนักเรียน
7. หากนักเรยี นมขี ้อสงสยั หรือไม่เข้าใจในเนอ้ื หาของเอกสารประกอบการเรียนรู้ เล่มนี้และตอ้ งการทบทวน
เนือ้ หาใหม่อีกครั้งหรือต้องการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนรูเ้ ปน็ ตัวอยา่ งในกรณีศึกษาเพิ่มเตมิ นักเรยี นสามารถ
ยืมเอกสารประกอบการเรยี นร้เู ล่มน้ไี ด้แต่ต้องรักษาให้อยใู่ นสภาพดีและไม่สูญหาย

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มที กั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทกั ษะการทำงานร่วมกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม เพื่อการดำรงชีวิต
และครอบครัว
ง 1.1 ป.6/1 อภปิ รายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละขั้นตอน
ป.6/2 ใชท้ ักษะการจดั การในการทำงานและมีทักษะการทำงานร่วมกนั
ป.6/3 ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการทำงานกบั ครอบครวั และผู้อ่ืน

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
1) แนวทางการทำงานและการปรับปรุงการทำงานแต่ละขนั้ ตอนเป็นการทำงานตามลำดับที่วางแผนไว้ ก่อน
การทำงาน ขณะปฏิบตั ิงาน และเมื่อทำงานสำเรจ็ แล้วให้ประเมินทุกข้นั ตอนเพ่ือการแก้ไขและปรับปรงุ
ผลงาน
2) การจัดการในการทำงานและทักษะการทำงานร่วมกัน เชน่
- การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแตง่ ใหส้ มาชิกในครอบครัว หรือเพ่ือน ในโอกาสตา่ งๆ
3) มารยาทในการทำงานกบั สมาชิกในครอบครวั และผู้อืน่
4) การมจี ติ สำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยดั และคุ้มค่าเปน็ คุณธรรมในการทำงาน

3. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ของใช้ ของตกแต่ง เปน็ สิ่งที่มนษุ ยค์ ิด ออกแบบ และสรา้ งขึ้นหรอื ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาจสร้างเลยี นแบบให้

เหมือนของจรงิ ตามธรรมชาติ หรอื มีรูปแบบทแี่ ปลกใหม่ ทันสมยั สามารถนำไปใชง้ านใหเ้ กดิ ประโยชน์ การนำวสั ดุ
เหลอื ใช้มาประดิษฐข์ องใช้ ของตกแตง่ เป็นการใชท้ รพั ยากรอย่างประหยัดและคมุ้ คา่

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกประเภทของงานประดิษฐไ์ ด้
2) จำแนกประเภทของงานประดิษฐไ์ ด้
3) ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการทำงานกับผู้อื่น

สารบัญ หน้า
1
เร่ือง 2
คำนำ 3
คำแนะนำสำหรับครูการใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะการงานอาชีพ 4
คำแนะนำสำหรับนกั เรยี นการใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการงานอาชีพ 5
แบบทดสอบกอ่ นเรียน 6
ใบความรู้ 7
ใบงานที่ 1 8
ใบงานที่ 2 9
ใบงานท่ี 3 10
ใบงานท่ี 4 11
ใบงานที่ 5 12
ใบงานท่ี 6 13
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบบันทกึ คะแนน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ช่ือ ช้นั เลขท่ี

คำช้ีแจง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องทส่ี ุดเพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดเป็นวสั ดสุ ังเคราะห์ 7. ในการประดษิ ฐข์ องใช้ ควรพิจารณา

ก. กอ้ นหิน ข. เมลด็ พืช จากส่งิ ใดเป็นหลัก

ค. เปลอื กไข่ ง. ไหมพรมญี่ปุ่น ก. สง่ิ ของน้นั ทำไดห้ รือไม่

2. ข้อใดไมใ่ ช่วสั ดธุ รรมชาติ ข. สงิ่ ของน้นั ขายไดห้ รือไม่

ก. หยวกกลว้ ย ค. สิ่งของนั้นใชป้ ระโยชน์ไดห้ รอื ไม่

ข. เมล็ดถว่ั เขยี ว ง. สิ่งของนนั้ หาวสั ดมุ าตกแต่งได้หรอื ไม่

ค. กะลามะพรา้ ว 8. การประดิษฐ์ส่ิงต่างๆ ผปู้ ระดิษฐ์จะต้องมคี วามสามารถใน

ง. ฝาขวดนำ้ อัดลม ดา้ นใด

3. ขอ้ ใดเป็นงานประดษิ ฐท์ ป่ี ระเภทตา่ งจากข้ออ่นื ก. การตลาด

ก. งานแกะสลกั งานประตู ข. ความรวดเรว็

ข. งานแกะสลักผกั และผลไม้ ค. มนษุ ยสัมพนั ธ์

ค. งานประดษิ ฐบ์ ายศรจี ากใบตอง ง. ความคิดสรา้ งสรรค์

ง. งานประดษิ ฐ์กรอบรปู จากไมไ้ อศกรีม 9. ถา้ ตอ้ งการประดิษฐ์เศษวัสดุให้เปน็ ของใช้ จะต้องศึกษา

4. ข้อใดจัดเปน็ งานประดษิ ฐ์เอกลกั ษณ์ไทย เรอื่ งใดก่อน

ก. กระเป๋าผ้า ก. การหาวัสดุมาตกแต่ง

ข. หน้ากากเสือ ข. การนำไปใชป้ ระโยชน์

ค. กระเป๋ายา่ นลิเภา ค. อปุ กรณ์เครอ่ื งใช้ตา่ งๆ

ง. ตุ๊กตาดนิ เผาประดบั สวน ง. การออกแบบสงิ่ ประดิษฐ์

5. การประดิษฐ์ของใช้ ควรคำนงึ ถึงข้อใดมากท่ีสุด 10. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการทำงานประดิษฐ์จาก

ก. ความสะอาด เศษวสั ดุ

ข. ความประณตี ก. ฝึกให้เกิดความคดิ สร้างสรรค์

ค. ความสวยงาม ข. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

ง. ประโยชน์ในการใช้สอย ค. ฝึกนิสยั ในการทำงานเช่นความอดทน ความ

6. การประดิษฐ์กลอ่ งกระดาษทิชชู สามารถนำไปใช้ ละเอยี ดรอบคอบ

ประโยชนใ์ นห้องใด ง. ทำใหร้ ่ำรวย

ก. ห้องรบั แขก ข. หอ้ งน้ำ

ค. หอ้ งพระ ง. หอ้ งทำงาน

เฉลย

1. ง 2. ง 3. ง 4. ค 5. ง 6. ก 7. ค 8. ง 9. ข 10. ง

กระดาษคำตอบ

เร่ืองงานประดษิ ฐ์

ชื่อ...............................................................................เลขท.ี่ .......................

ทดสอบกอ่ นเรียน
ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนทไี่ ด้__________คะแนน
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

 ใบความรู้ 

ความหมายของงานประดิษฐ์
งานประดิษฐ์ หมายถึง สิ่งที่จัดทำขึ้น โดยใช้ความคิด สร้างสรรคใ์ ห้เกิดความประณีต สวยงาม น่าสนใจ เพื่อ

ประโยชนท์ พ่ี งึ ประสงค์ เชน่ งานประดิษฐด์ อกไม้ ผา้ รองจาน กระเป๋า ตุ๊กตา ที่คนั่ หนังสือ กระทงใบตอง บายศรี พาน
ดอกไม้ มาลยั แบบอืน่ ๆ

ความสำคญั และประโยชนข์ องงานประดษิ ฐ์
- ประหยัดค่าใชจ้ า่ ย
- ใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
- ความเพลดิ เพลิน
- เพ่ิมคณุ ค่าของวัสดุ
- สร้างความแปลกใหม่ทมี่ อี ยู่เดิม
- ช้ินตรงตามความตอ้ งการ
- เปน็ ของกำนัลแก่ผู้อ่นื
- เพม่ิ รายไดใ้ ห้แก่ตนเองและครอบครวั
- เกิดความภูมใิ จในตนเอง

ลกั ษณะของงานประดษิ ฐ์
1. งานประดิษฐ์ทั่วไป เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตวั

นำมาดัดแปลง หรอื เรียนร้จู ากตำรา เชน่ การประดษิ ฐข์ องใชจ้ ากเศษวสั ดุ การประดิษฐด์ อกไม้

2. งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถ่ิน
หรอื ทำขึ้นเพื่อใชง้ านหรือเทศกาลเฉพาะอยา่ ง เชน่ มาลยั บายศรี งานแกะสลัก

ประเภทของงานประดิษฐ์
งานประดิษฐ์ต่างๆ สามารถเลือกทำได้ตามความต้องการและประโยชน์ใช้สอย ซึ่งอาจแบ่งประเภทของงาน

ประดิษฐ์ตามโอกาสใช้สอยดังน้ี
1. ประเภทใช้เป็นของเล่น เป็นของเล่นที่ผู้ใหญ่ในครอบครัวทำให้ลูกหลานเล่นเพื่อความเพลิดเพลิน เช่น

งานป้ันดินเป็นสตั ว์ สิ่งของ งานจักสานใบลานเป็นโมบาย งานพับกระดาษ
2. ประเภทของใช้ ทำข้ึนเพ่ือเป็นของใชใ้ นชีวิตประจำวนั เช่น การสานกระบงุ ตะกรา้ การทำเครื่องใช้จาก

ดนิ เผา จากผ้าและเศษวสั ดุ
3. ประเภทงานตกแต่ง ใช้ตกแต่งสถานที่ บ้านเรือนให้สวยงาม เช่น งานแกะสลักไม้ การทำกรอบรูป

ดอกไม้ประดษิ ฐ์
4. ประเภทเครื่องใช้ในงานพิธี ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ในงานเทศกาลหรือประเพณีต่างๆ เช่น การทำกระทง

ลอย ทำพานพมุ่ มาลยั บายศรี

วสั ดุอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นงานประดษิ ฐ์
การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการประดิษฐ์ชิ้นงานต้องเลือกให้เหมาะสมจึงจะได้งานออกมามีคุณภาพ สวยงาม

รวมทั้งต้องดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้เหล่านี้ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ตลอดเวลา และสามารถแบ่งออกเป็นประเภท
ต่างๆ ไดด้ ังนี้

1. ประเภทของเล่น
- วัสดุทีใ่ ช้ เช่น กระดาษ ใบลาน ผา้ เชอื ก พลาสตกิ กระปอ๋ ง
- อปุ กรณ์ที่ใช้ เชน่ กรรไกร เข็ม ด้าย กาว มดี ตะปู คอ้ น แปรงทาสี

2. ประเภทของใช้
- วัสดทุ ี่ใช้ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ ดิน ผ้า
- อุปกรณท์ ใี่ ช้ เช่น เล่ือย สี จกั รเย็บผา้ กรรไกร เครื่องขัด เจาะ

3. ประเภทของตกแต่ง
- วัสดุทีใ่ ช้ เชน่ เปลอื กหอย ผ้า กระจก กระดาษ ดินเผา
- อปุ กรณ์ เชน่ เลื่อย คอ้ น มีด กรรไกร สี แปรงทาสี เคร่อื งตอก

4. ประเภทเครื่องใช้ในงานพธิ ี
- วัสดทุ ี่ใช้ เชน่ ใบตอง ดอกไมส้ ด ใบเตย ผา้ ริบบ้นิ
- อุปกรณ์ทใ่ี ช้ เชน่ เข็มเย็บผ้า เขม็ ร้อยมาลยั คีม คน้ เขม็ หมุด

การเลือกใช้และบำรุงรกั ษาอุปกรณ์ มหี ลักการดงั น้ี
1. ควรเลือกใชใ้ หถ้ ูกประเภทของวสั ดุและอุปกรณ์
2. ควรศกึ ษาวิธกี ารใชก้ อ่ นลงมอื ใช้
3. เมื่อใชแ้ ล้วเกบ็ ไวใ้ หเ้ ป็นระเบียบเรียบรอ้ ย
4. ซ่อมแซมเครื่องมือทช่ี ำรุดใหพ้ รอ้ มใช้เสมอ

ประเภทของงานประดิษฐต์ ามโอกาสใช้สอย
งาน ประดิษฐ์ต่าง ๆ เราสามารถเลือกชิ้นงานประดิษฐ์ได้ตามประโยชน์ หรือความต้องการใช้สอยในโอกาส

ตา่ ง ๆ ซ่ึงสามารถแบ่งประเภทของงานประดิษฐต์ ามโอกาสใชส้ อยดงั นี้

1. ประเภทงานประดิษฐ์เครื่องเลน่ งานประดิษฐ์เครอ่ื งเลน่ สว่ นใหญจ่ ะเป็นการเรยี นรู้และฝึกฝนจากผู้ใหญ่มา
สู่ ลูกหลานในบ้าน และมีการแพร่กระจายจากเพื่อนมาสู่เพื่อน เช่นการประดิษฐ์ตุ๊กตา ว่าว และรถลาก
2. ประเภทเครื่องใช้ งานประดิษฐ์เครื่องใช้เป็นชิ้นงานที่ทำขึ้นเพื่อความสะดวกสบายและเป็น เครื่องทุ่นแรง

ในการดำเนินชีวิต หรือประกอบอาชีพในชีวิตประจำวัน เช่นเสื้อผ้า แจกัน หมวก ตะกร้า กระจาดและเข่ง
3. ประเภทเครื่องตกแต่ง งานประดิษฐ์ตกแต่ง ทำขึ้นเพื่อความสวยงามและเป็นสิ่งประดิษฐ์ใช้กับบ้านเรือน
นอกจากนี้บางชิ้นงานสามารถนำมาใช้ในด้านการใช้สอยได้ เช่นกรอบรูป โคมไฟ ภาพวาด งานแกะสลัก
4. ประเภทเครื่องใช้ในพิธี ทำขึ้นเพื่อใช้ในพิธีทางศาสนา ในช่วงโอกาสต่าง ๆ และงานประเพณีสำคัญ เช่น
งานลอยกระทง งานวันเข้าพรรษา ออกพรรษา งานศพ งานประดิษฐ์เครื่องใช้ เช่น พานพุ่ม มาลัย บายศรี
การจดั ดอกไม้ในงานศพ

หลักการทำงานประดิษฐ์
ในการทำงานประดิษฐเ์ พื่อให้ได้ผลงานตามจดุ หมายทกี่ ำหนดไว้ ควรยึดหลกั ในการทำงานประดิษฐด์ ังตอ่ ไปนี้

1. ศึกษารายละเอียดของงานที่จะนำมาประดิษฐ์ให้เข้าใจ ค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับรูปแบบต่าง ๆ
ของงานและเลือกทำสิ่งประดิษฐใ์ ห้เหมาะสมความรู้ ความสามารถของตนเอง และเป็นสิ่งที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์
ในชีวติ ประจำวนั ได้

2. วางแผนการทำงาน กำหนดขั้นตอนการทำงานให้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่ายและ
ออกแบบรายละเอยี ดวธิ ีการประดษิ ฐ์ไว้ให้ครบถว้ น เพ่อื ความสะดวกในการปฏบิ ตั ิงาน

3. การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทำงานประดิษฐ์ไว้ให้ครบถ้วนและใช้ให้ เหมาะสมกับการที่
ออกแบบไว้ โดยทั่วไปการเลอื กวัสดุมาใชใ้ นงานประดิษฐ์ นยิ มเลอื กใช้วัสดทุ ีม่ ีอยู่ในท้องถ่นิ หรอื วสั ดุท่ีมอี ยภู่ ายในบ้าน
ซงึ่ หางา่ ย มรี าคาถูก

4. ลงมอื ปฏบิ ตั ิงานตามขั้นตอนท่วี างแผนไว้ ขณะที่ทำการประดิษฐ์ เมื่อเกิดปญั หาไมค่ วรทอ้ ถอย ควรปรกึ ษา
ครหู รือผทู้ ม่ี ีความสามารถ และควรพยายามตงั้ ใจปฏบิ ตั งิ านต่อไปจนกวา่ งานจะสำเรจ็

การออกแบบงานประดิษฐ์
การ ออกแบบ หมายถึงการแสดงความคิด การวางแผน เพือ่ กำหนดรูปแบบผลงานที่ต้องการก่อนทำงานประดิษฐ์ โดย
การร่างภาพเขียนด้วยดินสอและไม้บรรทัดเท่านั้น การออกแบบมีความสำคัญมากเพราะผู้ออกแบบต้องใช้ความคิด
สร้างสรรค์การดัดแปลง แก้ผลงาน ให้มีรูปร่างแปลกใหม่ การออกแบบที่ดีจะช่วยให้การทำงานได้สะดวกรวดเร็วข้ึ น
ผลงานสำเร็จตรงตามต้อง การไม่มีผิดพลาด

หลกั การออกแบบ
เมือ่ จะออกแบบควรนำองคป์ ระกอบทีส่ ำคัญของการออกแบบมาใช้โดยยึดหลักดงั ต่อไปน้ี

1. ความสมดุล เกี่ยวข้องกับความรู้สึกในการมองเห็นทั้งด้านรูปทรง น้ำหนัก สี ความสมดุลเท่ากนั และความสมดุลท่ี
ไมเ่ ท่ากนั

2. สัดส่วนหมายถึงการได้ส่วนกันของสิ่งที่ออกแบบ เช่น การออกแบบดอกไม้ ส่วนประกอบดอกไม้ ใบ ก้าน ควรได้
สดั ส่วนดอกไม่ควรใหญเ่ กนิ กา้ นและใบมากนกั

3. ความกลมกลืน คือการออกแบบวัตถุให้มรี ูปทรงท่ีไปดว้ ยกันได้ สีก็ต้องกลมกลืนกันการใช้แสง และเงาที่ไปด้วยกัน
ได้

4. ความแตกต่าง คือการใชส้ ว่ นประกอบของการออกแบบท่ีไม่ซ้ำกัน ใชส้ ีที่ไม่เหมอื นกัน

5. การเน้นให้เกิดจุดเด่น คือการออกแบบที่ทำให้เกิดจุดเด่นสะดุดตา ทำให้น่าสนใจ น่าดู อาจเน้นสิ่งหนึ่งสิ่งใดเพียง
อยา่ งเดียวกไ็ ด้ เช่น สี เส้น รูปรา่ ง

วิธีการออกแบบงานประดษิ ฐ์
1. รา่ งโครงรา่ ง กำหนดรูปแบบ บอกข้ันตอนการประดิษฐ์ต้ังแต่เร่มิ ต้นจนสำเร็จ

2. กำหนดวัสดุ หรอื เศษวสั ดุ ทีต่ ้องนำมาใช้ให้ครบถ้วน

3. กำหนดรายชอื่ เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ท่ตี ้องใช้

4. กำหนดราคาทนุ หรือค่าใช้จา่ ยในการประดิษฐ์

5. บอกประโยชนข์ องผลงานวา่ จะนำไปใช้ประโยชน์อะไรดกี ว่าเดิมหรือไม่

บตั รภาพ

ใบงานท่ี 1 ประเภทงานประดษิ ฐ์

ช่ือ ช้ัน เลขที่
คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนดูภาพ แลว้ ระบุว่าภาพใดเปน็ งานประดษิ ฐเ์ อกลกั ษณ์ไทย และภาพใดเป็นงานประดิษฐ์

ทวั่ ไป

 เอกลักษณไ์ ทย  ทั่วไป  เอกลักษณ์ไทย  ทั่วไป

 เอกลักษณไ์ ทย  ทวั่ ไป  เอกลักษณไ์ ทย  ท่วั ไป

 เอกลักษณไ์ ทย  ท่ัวไป  เอกลักษณไ์ ทย  ทัว่ ไป

เฉลย ใบงานที่ 1 ประเภทงานประดษิ ฐ์

ชอื่ ชน้ั เลขที่
คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นดภู าพ แล้วระบวุ ่าภาพใดเป็นงานประดษิ ฐเ์ อกลักษณ์ไทย และภาพใดเปน็ งานประดิษฐ์

ทวั่ ไป

 เอกลกั ษณ์ไทย  ทว่ั ไป  เอกลักษณ์ไทย  ทั่วไป

 เอกลกั ษณ์ไทย  ท่ัวไป  เอกลักษณไ์ ทย  ทว่ั ไป

 เอกลกั ษณไ์ ทย  ท่ัวไป  เอกลักษณ์ไทย  ทว่ั ไป

ใบงานท่ี 2 อุปกรณ์ที่ใชใ้ นงานประดิษฐ์ เลขท่ี

ชอ่ื ชัน้
คำชี้แจง : ให้นกั เรยี นเขียนหรือวาดภาพอุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการประดษิ ฐ์ตามรายการท่ีกำหนด

อุปกรณท์ ใ่ี ช้วดั อุปกรณท์ ่ใี ชต้ ดั

อปุ กรณท์ ีใ่ ชเ้ จาะ อุปกรณท์ ีใ่ ชต้ ิด

เฉลย ใบงานที่ 2 อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นงานประดิษฐ์ เลขที่

ชอ่ื ชั้น
คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนเขยี นหรือวาดภาพอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการประดษิ ฐต์ ามรายการที่กำหนด

อปุ กรณท์ ใี่ ชว้ ดั อุปกรณท์ ่ใี ชต้ ดั

ไม้ครึ่งวงกลม วงเวยี น ไม้บรรทัด คีมตดั ลวด กรรไกร คัตเตอร์

อุปกรณ์ที่ใชเ้ จาะ อปุ กรณ์ทใ่ี ชต้ ิด

ตะปู เหลก็ แหลม ท่ีเจาะกระดาษ กาวน้ำ เทปใส กาวแท่ง ปนื กาว

ใบงานที่ 3 งานประดษิ ฐ์ เลขท่ี

ช่ือ ช้นั
คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี

ใบงานที่ 4 งานประดษิ ฐ์ เลขท่ี

ช่ือ ช้นั
คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี

ใบงานที่ 5 งานประดษิ ฐ์ เลขท่ี

ช่ือ ช้นั
คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี

ใบงานท่ี 6 งานประดษิ ฐ์

ชือ่ ช้ัน เลขท่ี

ใบงานที่ 7 งานประดษิ ฐ์ เลขท่ี

ช่ือ ช้นั
คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี

ใบงานท่ี 8 งานประดษิ ฐ์

ชือ่ ช้ัน เลขท่ี

แบบทดสอบหลงั เรียน

ชื่อ ช้นั เลขท่ี

คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นเลอื กคำตอบท่ีถกู ต้องท่สี ุดเพยี งขอ้ เดียว

1. ในการประดษิ ฐข์ องใช้ ควรพิจารณา 5. ขอ้ ใดเปน็ วสั ดสุ งั เคราะห์

จากสง่ิ ใดเป็นหลัก ก. กอ้ นหนิ ข. เมลด็ พชื

ก. สิง่ ของน้นั ทำได้หรือไม่ ค. เปลือกไข่ ง. ไหมพรมญี่ปนุ่

ข. สิง่ ของนั้นขายได้หรือไม่ 6. ขอ้ ใดไม่ใช่วัสดุธรรมชาติ

ค. สิ่งของนน้ั ใชป้ ระโยชนไ์ ด้หรอื ไม่ ก. หยวกกล้วย

ง. สงิ่ ของนัน้ หาวสั ดุมาตกแต่งได้หรอื ไม่ ข. เมล็ดถวั่ เขียว

2. การประดิษฐส์ ิ่งต่างๆ ผปู้ ระดิษฐจ์ ะต้องมคี วามสามารถใน ค. กะลามะพร้าว

ดา้ นใด ง. ฝาขวดน้ำอดั ลม

ก. การตลาด 7. ข้อใดเป็นงานประดษิ ฐท์ ่ีประเภทตา่ งจากข้ออื่น

ข. ความรวดเร็ว ก. งานแกะสลกั งานประตู

ค. มนุษยสัมพนั ธ์ ข. งานแกะสลกั ผักและผลไม้

ง. ความคดิ สร้างสรรค์ ค. งานประดิษฐ์บายศรีจากใบตอง

3. ถา้ ต้องการประดิษฐเ์ ศษวสั ดใุ หเ้ ป็นของใช้ จะตอ้ งศกึ ษา ง. งานประดิษฐ์กรอบรูปจากไมไ้ อศกรีม

เร่อื งใดก่อน 8. ขอ้ ใดจดั เปน็ งานประดษิ ฐเ์ อกลกั ษณ์ไทย

ก. การหาวัสดุมาตกแตง่ ก. กระเป๋าผ้า

ข. หนา้ กากเสือ

ข. การนำไปใช้ประโยชน์ ค. กระเป๋าย่านลิเภา

ค. อุปกรณ์เครอ่ื งใชต้ า่ งๆ ง. ต๊กุ ตาดินเผาประดับสวน

ง. การออกแบบสง่ิ ประดิษฐ์ 9. การประดิษฐ์ของใช้ ควรคำนึงถงึ ข้อใดมากทส่ี ุด

4. ขอ้ ใดไม่ใช่ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการทำงานประดิษฐ์จากเศษ ก. ความสะอาด

วสั ดุ ข. ความประณตี

ก. ฝึกให้เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ค. ความสวยงาม

ข. ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ง. ประโยชนใ์ นการใช้สอย

ค. ฝกึ นิสัยในการทำงานเชน่ ความอดทน ความ 10.การประดิษฐก์ ล่องกระดาษทิชชู สามารถนำไปใช้

ละเอยี ดรอบคอบ ประโยชน์ในห้องใด

ง. ทำใหร้ ่ำรวย ก. ห้องรบั แขก ข. ห้องน้ำ

ค. หอ้ งพระ ง. ห้องทำงาน

เฉลย
1. ก 2. ค 3. ง 4. ข 5. ง 6. ง 7. ง 8. ง 9. ค 10. ง

กระดาษคำตอบ

เรือ่ งงานประดษิ ฐ์

ชื่อ...............................................................................เลขท.่ี .......................

ทดสอบหลงั เรยี น
ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

คะแนนทไี่ ด้__________คะแนน
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

แบบบนั ทึกคะแนน
การทดสอบก่อนเรยี น / หลังเรียน และแบบฝึกทักษะ

เรื่องงานประดิษฐ์

ช่อื ................................................................................................ชน้ั ..........................................เลขท่ี....................

โรงเรียน............................................................................

สงั กดั ........................................................................

แบบทดสอบ/แบบฝกึ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 10
แบบทดสอบหลังเรยี น 10
แบบฝึกทักษะใบงานที่ 1-8 80
รวมคะแนนทง้ั หมด 100

ลงชื่อ......................................................ครูผสู้ อน
( ....................................................... )
ตำแหน่ง................................................