Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

ในการพัฒนาทักษะ (skill) ของนักศึกษาให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน สถานประกอบการ หรือผู้ใช้บัณฑิต จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์ถึงสิ่งที่สถานประกอบการ/ตลาดแรงงาน มีความต้องการ แล้วนำสิ่งเหล่านั้นมาพัฒนารายวิชาเรียน ในหลักสูตร เพื่อให้ตอบโจทย์การผลิตบัณฑิต ให้มีทักษะ (Skill) เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน

Show

    ในการฝึกอบรม และเรียนรู้ เรื่อง “Skill Mapping รุ่นที่ ๓” โดยวิทยากรบรรยาย ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร์ คำฝอย

    จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ณ วันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๕ ผ่านระบบ Zoom Meeting เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. โดยสรุปเนื้อหาที่ได้จากการอบรม ดังนี้

    ๑. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ

           จากโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงมากมายอยู่ตลอดเวลา แต่การศึกษานั้นกลับสวนทาง คือ มีการปรับเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงน้อยมากเมื่อเทียบกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน

    โดยมนุษย์เราถ้าไม่มีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในโลกสมัยใหม่ จะส่งผลให้เราไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งการศึกษาในบ้านเราก็เช่นกัน ต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเอง

    เพื่อให้ทันต่อความต้องการของตลาดแรงงาน /ผู้ใช้บัณฑิต เป็นต้น

           ซึ่งในการเรียนรู้ในสมัยใหม่นี้ ย่อมแตกต่างจากสมัยก่อน โดยที่ต้องสร้างเนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมต่อผู้เรียน เนื่องจากในยุคปัจจุบันมีข้อมูล

    สารสนเทศต่าง ๆ มากมาย จึงต้องมีการนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยตั้งเป้าทีความต้องการของตลาดแรงงาน/ผู้ใช้บัณฑิตเป็นหลัก

    เพราะสถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่สร้าง/ผลิตบัณฑิตเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน ดังนั้นการที่ตลาดแรงงานจะยอมรับสาถบันอุดมศึกษาได้นั้น ต้องดูที่ผลผลิตที่ตัวบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันนั้น ๆ

    ว่ามีคุณภาพ และสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้มาก น้อยเพียงใด และโจทย์ที่สำคัญที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องนำมาพิจารณา ก็คือ การสร้างบัณฑิตให้มีทักษะ (Skill)

    ในด้านต่าง ๆ ทั้ง Hard Skill และ Soft Skill เพื่อให้บัณฑิตที่จบใหม่ได้เข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ ซึ่งทางสถาบันอุดมศึกษา จึงต้องนำประเด็น ความต้องการใน Skill ด้านต่าง ๆ

    นำมาประกอบการพิจารณาเพื่อนำมาพัฒนา/ปรังปรุงหลักสูตรฯ ให้มีความทันสมัย และตอบโจทย์ของตลาดแรงงานได้ โดยที่ในอนาคตหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษาต้องมีการสร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ได้มาซึ่งความรู้

    สร้างทักษะจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาจริง มีการสร้างระบบการศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนรู้ทั้งใน/นอกสถาบัน และเรียนรู้ตลอดเวลา/ตลอดชีวิต ได้ 

    ดังนั้นทางสถาบันอุดมศึกษาจำเป็นต้องมีการสร้าง Half-Life of Skills ความจำเป็นที่จะต้อง Reskill และ Upskill 

              สรุปท้ายสุดแล้ว สถาบันอุดมศึกษาจำเป็นที่ต้องมีการสำรวจความต้องการของตลาดแรงงาน/สถานประกอบการ/ผู้ใช้บัณฑิต ว่าต้องการบัณฑิตที่มีทักษะทางด้านใดเป็นพิเศษ เพื่อนำมาพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร/เนื้อหารายวิชาให้สอดคล้องกับความต้องการของทักษะในตลาดแรงงาน 

     ๒. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่

              ๒.๑ ได้รับความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์การสร้าง Skill Mapping

              ๒.๒ สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในการเขียน/พัฒนาในส่วนของเนื้อหารายวิชาในหลักสูตรที่ปรับปรุงใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ๓. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ)

              ๓.๑ สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากการอบรมมาประยุกต์ใช้ในจัดทำ Skill Mapping ในคำรายวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรที่ปรับปรุงใหม่

              ๓.๒ สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ นำมาปรับใช้ในการพัฒนารายวิชาในหลักสูตรฯ และนำมาปฏิบัติได้จริงเพื่อให้เกิดทักษะด้านต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ    

    Ad

    Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

    Ad

    Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

    Ad

    Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Ad

    Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

    Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

    การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้
    ในศตวรรษที่ 21

    ผศ.น.สพ.ดร. สุชาติ วัฒนชัย
    ภาควิชาศัลยศาสตร์และวิทยาการสืบพันธุ์
    คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

    Mapping การเรียน รู้ในศตวรรษที่ 21

    Desiner and Developer of Learning environment

    การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้
    ในศตวรรษที่ 21

    ผศ.น.สพ.ดร. สุชาติ วัฒนชัย
    ภาควิชาศัลยศาสตร์และวิทยาการสืบพันธุ์
    คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น