แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 2566

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 นายชัชวาล ธีรภานุ นายกเทศมนตรีตำบลบ้านเป็ด เป็นประธานการประชุมการเตรียมความพร้อมจัดทำคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 งบเงินอุดหนุนที่จัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้แจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ดำเนินการตามปฏิทินและแนวทางการขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ โดยมีคณะผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการและพนักงานเทศบาล เข้าร่วมการประชุม ณ ห้องประชุมหนองโคตร ชั้น 4

แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัว ประจำปีงบประมาณ 2566 ปรับเพิ่มเงินอุดหนุนรายหัวปีแรกแล้ว

หนังสือคู่มือแนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัว ประจำปีงบประมาณ 2566 ปรับเพิ่มเงินอุดหนุนรายหัวปีแรกแล้ว

แอดมินรักครู Follow on Twitter 5 ต.ค. 2022

20,877 Less than a minute

แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 2566
แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัว ประจำปีงบประมาณ 2566

ปรับเพิ่มเงินอุดหนุนรายหัวปีแรกแล้ว แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัว ประจำปีงบประมาณ 2566

แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายหัว 2566 เป็นแนวทางการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 

ซึ่งในเล่มคู่มือจะมีรายละเอียดตามสารบัญดังนี้

แนวทางการดำเนินการ และเกณฑ์การจัดสรร

  1. ค่าจัดการเรียนการสอน
  2. ค่าหนังสือเรียน
  3. ค่าอุปกรณ์การเรียน
  4. ค่าเครื่องแบบนักเรียน
  5. ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ
อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้นักเรียนทุกคนมีความพร้อมที่จะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา โดยการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ

ค่าจัดการเรียนการสอน
ค่าจัดการเรียนการสอน หมายถึง เงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป  เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ เงินอุดหนุนรายหัว ปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน  ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน โดยมีเกณฑ์และแนวทางการดำเนินการดังนี้
1.1 เงินอุดหนุนรายหัว สำหรับนักเรียนที่วไป
1.1.1 เงินอุดหนุนรายหัว
จัดสรรให้นักเรียนทุกคน ตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยมีอัตราการจัดสรรจำแนกตาระดับ ดังนี้
1) ระดับก่อนประถมศึกษา 1,734 บาท
ภาคเรียนละ 867 บาท/คน
2) ระดับประถมศึกษา 1,938 บาท/คน/ปี
– ภาคเรียนละ 969 บาท/คน
3) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3,570 บาท/คน/ปี
– ภาคเรียนละ 1,785 บาท/คน
4) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3,876 บาท/คน/ปี
– ภาคเรียนละ 1,938 บาท/คน

รายละเอียดอื่นๆ สามาถดูได้ที่เอกสาร แนบด้านล่าง  และยังสามารถดาวน์โหลดเก็บไว้เป็นแนวทางในการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของโรงเรียนได้อีกด้วย

แนวทางปฏิบัติในการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่จัดสรรให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาลตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล)
          มาตรา ๙ ภายใต้บังคับบทบัญญัติหมวด ๕ การควบคุมการประกอบวิชาชีพด้านการสอบบัญชี และหมวด ๖ การควบคุมการประกอบวิชาชีพด้านการทำบัญชี ในกรณีที่การประกอบวิชาชีพบัญชีด้านใด มีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียของประชาชน หรือเพื่อประโยชน์ที่จะให้มีการคุ้มครองประชาชนและพัฒนาหรือจัดระเบียบการประกอบวิชาชีพบัญชีด้านใด จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดให้การประกอบวิชาชีพบัญชีด้านนั้นต้องได้รับใบอนุญาตหรือต้องขึ้นทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบัญชีก็ได้
แผนย่อยที่ 1 การส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมคุณธรรม/การทำความดีที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าหมายที่ 1 ประชากรมีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น จำนวนประชากรอายุ 13 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปีจากข้อมูลปีฐาน ปี พ.ศ. 2565 เป็นค่าตั้งต้น เป้าหมายที่ 2 จำนวนเครือข่ายทางสังคมที่มีขีดความสามารถในการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทยเพิ่มขึ้น จำนวนเครือข่ายทางสังคมมีขีดความสามารถในการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี                  พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน ปี                 พ.ศ. 2565 เป็นค่าตั้งต้น แนวทางการพัฒนา (6 แนวทาง 10 โครงการ) แนวทางการพัฒนา โครงการ ผู้รับผิดชอบ แนวทางที่ 1 สร้างพื้นที่และสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมหรือการทำความดี (1) โครงการสร้างเสริมสภาพแวดล้มที่เอื้อต่อการส่งเสริมคุณธรรมบนฐานชีวิตวิถีใหม่
(2) โครงการพัฒนาชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัดคุณธรรม
(3) โครงการพิพิธภัณฑ์ในมิติด้านคุณธรรม วธ./สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานทุกภาคส่วน แนวทางที่ 2 ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคล ชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัด คุณธรรม โครงการค้นหา/คัดเลือก/ยกย่องเชิดชูบุคคลหรือองค์กรด้านการส่งเสริมคุณธรรม หน่วยงานทุกภาคส่วน แนวทางที่ 3 ส่งเสริมให้สถาบันศาสนาเป็นศูนย์กลางชุมชนและขับเคลื่อนคุณธรรมด้วยพลังบวร (บ้าน-วัด/ศาสนสถาน-โรงเรียน/ราชการ) 1 ชุมชน 1 สถาบันศาสนา โครงการส่งเสริมสถาบันศาสนาเป็นศูนย์กลางชุมชนและขับเคลื่อนคุณธรรมด้วยพลังบวร กระทรวงมหาดไทย (มท.) /วธ./พศ. แนวทางที่ 4 พัฒนาขีดความสามารถของชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัดคุณธรรม สู่การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม โครงการพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัดคุณธรรม สู่การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม สำนักนายกรัฐมนตรี/มท./วธ./กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) แนวทางที่ 5 ส่งเสริมการนำคุณธรรมเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเกิดจากภัยธรรมชาติ และวิกฤติโรคอุบัติใหม่ (1) โครงการส่งเสริมการนำคุณธรรมเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
(2) โครงการส่งเสริมการนำคุณธรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเกิดจากภัยธรรมชาติ และวิกฤติโรคอุบัติใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 6 สนับสนุนส่งเสริมกลไกของชุมชนให้มีระบบพี่เลี้ยงเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน โครงการพัฒนาระบบพี่เลี้ยงชุมชน มท./กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)/วธ. กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ เช่น (1) กำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาสนับสนุนการจัดสรรงบประมาณงบบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรม (2) การนำโครงการของแผนย่อยที่ 1 ภายใต้แผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ระยะที่ 2 เข้าระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หลังการประกาศแผน แผนย่อยที่ 2 การพัฒนาระบบและการเสริมสร้างขีดความสามารถของกลไกเพื่อการขับเคลื่อนและส่งเสริมคุณธรรม เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าหมายที่ 1 จำนวนเครือข่าย/องค์กรที่ร่วมกันทำกิจกรรมสาธารณะเพิ่มขึ้น จำนวนเครือข่าย/องค์กรจากทุกภาคส่วนที่ร่วมกันทำกิจกรรมสาธารณะเพิ่มขึ้น เช่น การมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนในการติดตามและตรวจสอบโครงการของรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปีจากข้อมูลปีฐานปี พ.ศ. 2565 เป้าหมายที่ 2 จำนวนองค์กรเครือข่ายทางสังคมที่มีการพัฒนาระบบเครดิตทางสังคม (Social Credit) เพื่อรองรับการส่งเสริมคุณธรรม จำนวนองค์กรเครือข่ายทางสังคมที่มีการพัฒนาระบบเครดิตทางสังคม (Social Credit) ที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทยเพื่อรองรับการส่งเสริมคุณธรรมเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี                  พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน พ.ศ. 2566 เป้าหมายที่ 3 จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีค่า ITA ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีค่า ITA ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี                   พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน พ.ศ. 2565 แนวทางการพัฒนา (4 แนวทาง และ  6 โครงการ) แนวทางการพัฒนา โครงการ ผู้รับผิดชอบ แนวทางที่ 1 ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในทุกช่วยวัยโดยนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบททางสังคมไทย โครงการพัฒนาระบบเครดิตทางสังคมให้เป็นเครื่องมือเพื่อการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทย พม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 2 สร้างกลไกเครือข่ายคุณธรรมและระบบการสนับสนุนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (1) โครงการพัฒนาระบบและการเสริมสร้างขีดความสามารถของกลไกเพื่อการขับเคลื่อนและส่งเสริมคุณธรรมบนฐานชีวิตวิถีใหม่
(2) โครงการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อนจังหวัดคุณธรรมให้บรรลุเป้าหมาย พม./มท./วธ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 3 พัฒนากลไกให้หน่วยงานภาครัฐขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมไทย                ที่ดีงาม (1) โครงการขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีวัฒนธรรมไทยที่ดีงามอย่างเป็นระบบของหน่วยงานภาครัฐส่วนกลางและส่วนภูมิภาคสู่องค์กรคุณธรรม
(2) โครงการขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาลนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีวัฒนธรรมไทยที่ดีงามอย่างเป็นระบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่องค์กรคุณธรรม สำนักงาน ก.พ.ร./มท. แนวทางที่ 4 เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรม โครงการสมัชชาคุณธรรม ตลาดนัดคุณธรรม ตลาดนัดความดี วธ./มท. กิจกรมที่ต้องดำเนินการ เช่น (1) พัฒนาระบบเครดิตทางสังคม (Social Credit) ให้เป็นเครื่องมือเพื่อการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทย อาทิ ธนาคารความดี นวัตกรรมสังคมแบบเปิดโดยภาครัฐ : “คนดีมีที่ยืน ความดีมีพื้นที่ในสังคม” เป็นต้น (2) การเชื่อมโยงเครื่องมือการประเมินระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐจากผลงานวิจัยสู่ระบบการประเมิน ITA แผนย่อยที่ 3 การส่งเสริมการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนและองค์กรเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรม เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 1. ทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ภายในปี                   พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน ปี                 พ.ศ. 2565 2. จำนวนคนที่ได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตจากการส่งเสริมคุณธรรมขององค์กรเครือข่ายเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปีจากข้อมูลปีฐาน ปี พ.ศ. 2566 แนวทางการพัฒนา (3 แนวทาง และ 5 โครงการ) แนวทางการพัฒนา โครงการ ผู้รับผิดชอบ แนวทางที่ 1 กำหนดให้สถานศึกษาทุกระดับของหน่วยงานทุกภาคส่วนสะท้อนกระบวนการจัดการศึกษาที่บรรลุเป้าหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีพฤติกรรมและทักษะชีวิตที่สะท้อนคุณธรรมจริยธรรม กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.)/มท./กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรม (อว.)/วธ. แนวทางที่ 2 ส่งเสริมให้เกิดระบบการจัดการความรู้ที่เป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายในชุมชนหรือหน่วยงาน (1) โครงการเรียนรู้/ปลูกฝัง/ส่งเสริม คุณธรรมบนฐานชีวิตวิถีใหม่
(2) โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนให้มีขีดความสามารถในการส่งเสริมขับเคลื่อนการพัฒนาคุณธรรมที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย หน่วยงานทุกภาคส่วน แนวทางที่ 3 ส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัยพัฒนา และเผยแพร่ระบบการจัดการความรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรม (1) โครงการส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัย พัฒนา สำรวจ รวบรวม และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรมในสถานการณ์ต่าง ๆ
(2) โครงการพัฒนาสื่อส่งเสริมคุณธรรมที่เหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ศธ./อว./วธ./กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.)/สำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ เช่น การกำหนดให้สถานศึกษาของหน่วยงานทุกภาคส่วน (โดยเฉพาะภาครัฐ) สะท้อนกระบวนการและผลการจัดการศึกษาที่บรรลุเป้าหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม