แนวทาง การแก้ไข ปัญหา ที่ เกิด ขึ้น กับ ทรัพยากร แร่

��ѡࡳ��ʶҹ��Сͺ��÷������Ѻ�ҧ�������ͧ��������� (Green Mining Award) �е�ͧ�������Ӥѭ��д��Թ��� 6 ����ͧ �ѧ���仹��

1. �դ����Ѻ�Դ�ͺ�������Ǵ��������ѧ���繷���� ��÷�����ͧ�е�ͧ�դ����Ѻ�Դ�ͺ�������Ǵ��������ѧ�� �¨� ��ͧ������ͧ���١��ͧ�����ѡ�Ԫҡ�� �Ǻ����š�з����������дѺ�������Ѻ�� ��ͧ�Ѻ�Դ�ͺ��ͤ���������·���Դ �������͡�÷�����ͧ�������Դ����������µ������Ǵ������Ъ������дѺ����ع�ç ����Դ�����ͧ���¹ �¡�ê��� ��������������Ѻ������Ѻ�š�з� ��д��Թ��������л�Ѻ��ا��Ҿ�Ǵ��������������Ҿ�������� �¨�������� ������Сͺ��÷� Corporate Social Responsibility (CSR) ���� ���� �Ѻ�Դ�ͺ�ͧ��áԨ����ѧ��

2. Ŵ ��ͧ�ѹ �����䢼š�з�����Ǵ���� ��÷�����ͧ����ͧ���к���èѴ��÷�����ҵðҹ �ա�û�ԺѵԵ���ҵá�û�ͧ�ѹ �����䢼š�з�����Ǵ���� ������ҧ �Ҫ��á�˹����ҧ��觤�Ѵ��Фú��ǹ ���к���Ǩ�ͺ���������ѧ�س�Ҿ����Ǵ��������ջ���Է���Ҿ ����ա���֡�������෤���������� �����Ѻ��ا�к��ӨѴ �ž�� ���չ�º��ʹѺʹع�Ԩ�����س�Ҿ��ҧ� �� 5 �. ISO 9000 ISO 14000 ��� Clean Technology (CT) �繵�

3. ���Ť�����ʹ�������آ�Ҿ͹���¢ͧ���ҹ��Ъ���������������������§ ��÷�����ͧ��ͧ���к��ѡ�Ҥ�����ʹ�������آ�Ҿ������ҵðҹ �ա�÷�����ͧ���١ ��ͧ�����ѡ�Ԫҡ�÷�����������Դ�ѹ���µ�;�ѡ�ҹ����ͧ��л�ЪҪ������ ���к���Ǩ�ͺ��ФǺ����ž������������Ш���͡�����¹͡����ͧ���

4. �վ�鹷����������з�ȹ���Ҿ���º�������Ҵ�� ��÷�����ͧ�е�ͧ�ա�èѴ��þ�鹷�����ҧ������� �Դ��÷�����ͧ੾�к���dz����������ҹ�� ����dz���������աԨ������� ������ͧ�е�ͧ�ӡ�û�١�������л�Ѻ��ا��ȹ���Ҿ�����§�� ����dz����ҹ��÷�����ͧ������ǵ�ͧ�ӡ�ÿ�鹿٤Ǻ���仡Ѻ��÷�����ͧ �������ҧ��鹷��������������ҧ ����Ţͧ�к�����ȹ� ����Ŵ������š��͹�����ѧ�ء����š㹻Ѩ�غѹ �͡�ҡ������Сͺ��èе�ͧ��駡ͧ�ع��鹿��¨Ѵ��èҡ���÷����ҡ��þѲ�ҷ�Ѿ�ҡ���� ��������ѡ��Сѹ㹡�ÿ�鹿پ�鹷����ѧ�ҡ��зҹ�ѵ������������

5. ����ʵ�Ǩ�ͺ�� ��÷�����ͧ��ͧ���������ŷ������Ǣ�ͧ�Ѻ��÷�����ͧ����Ҹ�ó���Ѻ��Һ ��о�����Ѻ��õ�Ǩ�ͺ�ҡ�ؤ����¹͡ �� ��õԴ�����ʴ� �ͺࢵ����ͧ ��С�û�Ъ�����ѹ������Ŵ�ҹ����Ǵ���� �繵�

6. ���Ѿ�ҡ�������ҧ������� ��÷�����ͧ��ͧ�ӷ�Ѿ�ҡ�����������ª�����ҧ������� �٧�ش �֡�����Ը����ҧ��Ť���������Ѻ��Ѿ�ҡ���� ��ʹ���֡�����ԸչӢͧ���� �ҡ��ǹ��ü�Ե�������ª�����ҧ������� �������������ա�èѴ�� 3 Rs (Reduce Reuse Recycle) �������ҧ�������˹ѡ㹡�����Ѿ�ҡ�����Դ����ª���٧�ش

การพัฒนาทรัพยากรแร่ขึ้นมาใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดรายได้และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจภายในประเทศ แต่การประกอบกิจการเหมืองแร่ ที่ผ่านมา มีการร้องเรียนและเรียกค่าเสียหายจากผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยู่ต่อเนื่อง

เช่นผลกระทบต่อระบบนิเวศผลกระทบด้านเสียงและฝุ่นจากการใช้วัตถุระเบิด ผลกระทบต่อแหล่งน้ำใต้ดิน และการปนเปื้อนของสารอันตรายในดินผลกระทบทางสังคมในพื้นที่และสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งแตกต่างไปตามประเภทแร่และมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตและกิจกรรมต่อเนื่อง เช่น การปนเปื้อนของสารหนูในสิ่งแวดล้อมจากการทำเหมืองดีบุกในตำบลร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช การปนเปื้อนตะกั่วในอำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ปัญหามลพิษอากาศจากกิจกรรมการระเบิดหินปูน บริเวณตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี และการทำเหมืองแร่ใต้ดินแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานีและการปนเปื้อนแคดเมียมจากการทำเหมืองสังกะสีในพื้นที่เกษตร รวมถึงกรณีสารพิษจากการทำเหมืองแร่ทองคำในหลายจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น พิจิตร เลย

การดำเนินการของภาครัฐต่อกรณีเหล่านี้ นอกเหนือจากล่าสุดที่ ครม. มีมติให้บริษัทอัคราฯ ยุติการดำเนินกิจการเหมืองแร่ทองคำ ในช่วงสิ้นปีนี้แล้ว น่าสนใจว่า ที่ผ่านมาภาครัฐมีการดำเนินมาตรการลดผลกระทบจากกิจกรรมการทำเหมืองแร่ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเยียวยาผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนอย่างไร ข้อร้องเรียนจากประชาชนจึงเกิดขึ้นต่อเนื่อง

จากการศึกษา พบว่า มาตรการรองรับการทำเหมือง ประกอบด้วยมาตรการกำกับและควบคุมเป็นการกำหนดมาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการทำเหมืองแร่ การกำหนดให้ทำการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมก่อนการให้ประทานบัตร การควบคุมการปล่อยมลพิษ การเฝ้าระวังและตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟูสภาพแวดล้อม รวมทั้งการดำเนินมาตรการทางกฎหมายเพื่อให้ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้รับผิดชอบต่อความเสียหายแก่ผู้ได้รับผลกระทบและสิ่งแวดล้อม

มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ เป็นการใช้เครื่องมือด้านการเงินการคลัง โดยการเรียกค่าปรับจากผู้ประกอบการเหมืองที่กระทำผิด การจ่ายค่าชดเชยความเสียหายแก่ผู้ได้รับผล กระทบและผลผลิตที่เสียหาย รวมถึงการจัดตั้งกองทุนเพื่อเยียวยาปัญหาผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เช่น กองทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ กองทุนประกันความเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

และมาตรการทางสังคม เป็นการให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการปฏิบัติตัว และป้องกันผลกระทบ และการส่งเสริมผู้ประกอบการให้คำนึงถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อม

อย่างไรก็ตาม แม้ภาครัฐจะมีมาตรการเหล่านี้ แต่การร้องเรียนเรื่องผลกระทบจากการทำเหมืองดูจะไม่ลดน้อยลง สะท้อนว่า การดำเนินการที่ผ่านมายังมีปัญหาและข้อจำกัดหลายประการ อุปสรรคที่ทำให้มาตรการของรัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลไม่เต็มที่ ได้แก่ การขาดการจัดเก็บข้อมูลและศึกษาสาเหตุของปัญหาและแหล่งที่มาของมลพิษ ทำให้ไม่สามารถระบุแหล่งกำเนิดมลพิษได้ การกำหนดเขตพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบขนาดปัญหาและประชากรที่ได้รับผลกระทบ หน่วยงานภาครัฐที่เข้ามาแก้ไขปัญหาทำเฉพาะส่วนงานที่รับผิดชอบ ไม่มีการประสานการทำงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การขาดความเชื่อมั่นในการติดตามตรวจสอบข้อมูลผลกระทบ เนื่องจากไม่มีกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง ทำให้เกิดช่องว่างในการกำกับดูแลและเกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าของกิจการกับผู้ได้รับผลกระทบ ความแตกแยกระหว่างกลุ่มผู้ที่ได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ และการขาดกลไกทางการเงินการคลังที่เป็นธรรมและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการให้เงินอุดหนุนเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบมีจำนวนน้อยและไม่ต่อเนื่อง

การดำเนินการป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการทำเหมืองแร่ที่เป็นแนวทางในอนาคต ควรดำเนินมาตรการที่หลากหลาย ได้แก่ การพัฒนาฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่ชัดเจนในแต่ละพื้นที่ การกำหนดเขตพื้นที่และแนวกันชนพื้นที่ทำเหมืองให้ชัดเจน และไม่ทับซ้อนกับพื้นที่ชุมชนและพื้นที่ทำเกษตร การกำหนดนโยบายและแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยการจัดสรรงบประมาณให้ดำเนินการอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง

การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวัง และฟื้นฟูพื้นที่การทำเหมือง การให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่อย่างถูกต้องและเป็นจริง การรับรู้ข้อมูลในการตรวจสอบและเฝ้าระวังอย่างโปร่งใส รวมถึงการสร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูล นอกจากนี้ ภาครัฐควรมีการจัดตั้งกองทุนเพื่อเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบและแก้ไขปัญหาผลกระทบจากการทำเหมืองโดยเน้นการจ่ายค่าเสียหายให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบทันที

การพิจารณาค่าภาคหลวงใหม่เพื่อครอบคลุมต้นทุนทางสังคมสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนที่เสียหายไป รวมถึงการเพิ่มอัตราการเก็บเงินเข้ากองทุนประกันความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่จ่ายตามประเภทแร่ เทคโนโลยี และจำนวนประชากรในพื้นที่ และการปรับโครงสร้างการใช้เงิน เพื่อดูแลทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียงในระยะยาว

ท้ายนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่เป็นสิ่งดีเพิ่มรายได้ให้คนในท้องถิ่น แต่การพัฒนาต้องคำนึงถึงประเด็นผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และการยอมรับของคนในพื้นที่ด้วย ทั้งนี้ อาจพิจารณาการพัฒนาเศรษฐกิจด้านอื่นในพื้นที่เพื่อเพิ่มรายได้และคุณภาพชีวิตที่เป็นไปตามความต้องการของประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ซึ่งคำนึงถึงประโยชน์ที่เกิดขึ้นแก่สังคมโดยรวม


หมายเหตุ เผยแพร่ครั้งแรกใน กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 2 มิถุนายน 2559 ใน คอลัมน์: วาระทีดีอาร์ไอ: ‘เหมืองแร่’ กับการจัดการผลกระทบ’สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ’