ทยอยโอด เป็นเพลงประจำกัณฑ์ใด

               การตกแต่งสถานที่ที่จะมีเทศน์มหาชาติทำให้เกิดการสร้างสรรค์งานศิลปะหลายสาขา อาทิ งานหัตถศิลป์และงานจิตรกรรม การตกแต่งศาลาที่จะมีการเทศน์มหาชาตินั้นมักทำให้มีบรรยากาศครึกครื้น มีการประดับประดาด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และราชวัตรฉัตรธง ให้มีบรรยากาศเหมือนเขาวงกต มีการตกแต่งบูชาด้วยเครื่องแกวลายคราม โลหะเงินทอง ดอกไม้เครื่องผูก ตามประทีปโคมไฟ และที่สำคัญมีฉากประจำกัณฑ์ เขียนเป็นรูปภาพแสดงเรื่องในกัณฑ์นั้นๆ แขวนไว้ด้วย

๑.   จบกัณฑ์ทศพร บรรเลงเพลงสาธุการ ประกอบกิริยาน้อมรับพรของพระนางผุสดี

๒.  จบกัณฑ์หิมพานต์ บรรเลงเพลงตวงพระธาตุ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ เพื่อมุ่งประกอบกิริยาที่พระเวสสันดรทรงบริจาคทานตามเนื้อเรื่อง

๓.   จบทานกัณฑ์ บรรเลงเพลงพญาโศก เพื่อประกอบกิริยาโศกสลดรันทดใจที่พระเวสสันดรถูกเนรเทศออกจากเมือง

๔.   จบกัณฑ์วนปเวสน์ บรรเลงเพลงพระยาเดิน ประกอบกิริยาเดินของพระเวสสันดร พระนางมัทรีและพระกัณหาชาลี

๕.   จบกัณฑ์ชูชก บรรเลงเพลงเซ่นเหล้า ประกอบกิริยากินอันตะกละตะกลามของชูชก บางวงใช้เพลงค้างคาวกินกล้วยประกอบความทุพพลภาพของชูชก

๖.   จบกัณฑ์จุลพน บรรเลงเพลงรัวสามลา ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์แสดงการขู่ขวัญของนายาพรานเจตบุตรที่แสดงแก่ชูชก บางวงใช้แพลงคุกพาทย์ ประกอบกิริยาเช่นเดียวกัน แต่เป็นเพลงระดับชั้นสูงกว่า

๗.   จบกัณฑ์มหาพน บรรเลงเพลงเชิดกลอง ประกอบกิริยาเดินอย่างเร่งรีบของชูชก

๘.   จบกัณฑ์กุมาร บรรเลงเพลงโอด เชิดฉิ่ง คือบรรเลงเพลงโอดสลับกับเพลงเชิดฉิ่ง ประกอบกิริยาที่ชูชกเฆี่ยนตีกัณหาชาลีขณะเดินทางไป

๙.   จบกัณฑ์มัทรี บรรเลงเพลงทยอยโอด ประกอบกิริยาคร่ำครวญของพระนางมัทรี

๑๐. จบกัณฑ์สักกบรรพ บรรเลงเพลงเหาะ หรืออาจเป็นเพลงกลม ซึ่งอาจเป็นเพลงกลม ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ทั้งสองเพลง ประกอบกิริยาเหาะลงมาของพระอินทร์ บางวงบรรเลงเพลงกระบองกัน ประกอบการแปลงตังของพระอินทร์

๑๑. จบกัณฑ์มหาราช บรรเลงเพลงกราวนอก ประกอบการยกพลของพระเจ้ากรุงสญชัย บางวงบรรเลงเพลง เรื่องทำขวัญ ประกบตอนทำขวัญพระกัณหาชาลี

๑๒. จบกัณฑ์ฉกษัตริย์ บรรเลงเพลงตระนอน ประกอบเรื่องกษัตริย์ทั้งหก ประทับแรมบริเวณอาศรม

๑๓. จบกัณฑ์นครกัณฑ์ บรรเลงเพลงกลองโยน ประกอบการยกขบวนพยุหยาตราอัญเชิญพระเวสสันดรกลับพระนคร

การตกแต่งสถานที่ที่จะมีเทศน์มหาชาติทำให้เกิดการสร้างสรรค์งานศิลปะหลายสาขา อาทิ งานหัตถศิลป์และงานจิตรกรรม การตกแต่งศาลาที่จะมีการเทศน์มหาชาตินั้นมักทำให้มีบรรยากาศครึกครื้น มีการประดับประดาด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และราชวัตรฉัตรธง ให้มีบรรยากาศเหมือนเขาวงกต มีการตกแต่งบูชาด้วยเครื่องแกวลายคราม โลหะเงินทอง ดอกไม้เครื่องผูก ตามประทีปโคมไฟ และที่สำคัญมีฉากประจำกัณฑ์ เขียนเป็นรูปภาพแสดงเรื่องในกัณฑ์นั้นๆ แขวนไว้ด้วย

ประกอบกิริยาโศกสลดรันทดใจของพระเจ้ากรุงสัญชัย  พระนางผุสดี  พระนางมัทรี  และพระบรมวงศานุวงศ์ที่พระเวสสันดรถูกเนรเทศ

๔.กัณฑ์วนปเวสน์

เพลงพญาเดิน

ประกอบการเดินป่าของพระเวสสันดร  พระนางมัทรี  กัญหา  ชาลี

๕.กัณฑ์ชูชก

เพลงเซ่นเหล้า

ประกอบกิริยาตะกระตะกรามของพราหมณ์ชูชก

๖.กัณฑ์จุลพล

เพลงคุกพาทย์

ประกอบกิริยาสำแดงอิทธิฤทธิ์  ขู่ขวัญ  ซึ่งพราหมณ์เจตบุตร  ได้แสดงแก่ชูชก

๗.กัณฑ์มหาพล

เพลงเชิดกลอง

ประกอบกิริยาเดินอย่างรีบเร่งของชูชก  ซึ่งได้รับการบอกเล่าหนทางจากอจุตฤษีแล้ว

๘.กัณฑ์กุมาร

เพลงเชิดฉิ่ง-โอด

ประกอบกิริยาที่ชูชกพาชาลีและกัญหาเดินทางไป  ถูกเฆี่ยนตี  ร้องไห้เสียทีหนึ่ง  แล้วเดินทางไปใหม่  สลับกันไป

เพลงประจำกัณฑ์มหาชาติ-- สาธุการ (ทศพร)-- ตวงพระธาตุ (หิมพานต์) --พญาโศก (ทานกัณฑ์)-- พญาดิน (วนประเวศน์)-- เซ่นเหล้า (ชูชก)-- คุกพาทย์ (จุลพล)-- เชิด (มหาพน)-- โอดเชิดฉิ่ง (กุมาร) -- ทยอยโอด (มัทรี)-- เหาะ (ลักบรรพ)-- กราวน์นอก (มหาราช)-- ตระนอน (ฉกษัตริย์ )-- ทะแยกลองโยน (นครกัณฑ์)

  1. ดนตรีไทย
  2. ศิลปินแห่งชาติ
  3. นักดนตรีไทย

LOCATIONCALL#STATUSEducation Library : Audio-Visual CollectionCD 000100LIB USE ONLY