แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

Skip to content

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับบริษัท
  • บริการ
    • การบำรุงรักษา
      • การบำรุงรักษาและให้คำปรึกษาระบบอัคคีภัย
    • การออกแบบและติดตั้ง
      • ระบบป้องกันอัคคีภัย (Fire Protection System)
        • ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Systems)
        • ม่านควัน & ไฟ (Smoke & Fire Curtains)
  • ผลิตภัณฑ์
  • ข่าว
  • ร่วมงานกับเรา
  • แหล่งความรู้
  • ติดต่อ
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับบริษัท
  • บริการ
    • การบำรุงรักษา
      • การบำรุงรักษาและให้คำปรึกษาระบบอัคคีภัย
    • การออกแบบและติดตั้ง
      • ระบบป้องกันอัคคีภัย (Fire Protection System)
        • ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Systems)
        • ม่านควัน & ไฟ (Smoke & Fire Curtains)
  • ผลิตภัณฑ์
  • ข่าว
  • ร่วมงานกับเรา
  • แหล่งความรู้
  • ติดต่อ

  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับบริษัท
  • บริการ
    • การบำรุงรักษา
      • การบำรุงรักษาและให้คำปรึกษาระบบอัคคีภัย
    • การออกแบบและติดตั้ง
      • ระบบป้องกันอัคคีภัย (Fire Protection System)
        • ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Systems)
        • ม่านควัน & ไฟ (Smoke & Fire Curtains)
  • ผลิตภัณฑ์
  • ข่าว
  • ร่วมงานกับเรา
  • แหล่งความรู้
  • ติดต่อ

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Systems)ISE2020-03-19T00:32:02+07:00

Title

Integrated Security Engineering

Page load link
Go to Top

ยี่ห้อสินค้า:

CM Fire Alarm System

ปรับปรุงล่าสุด:

04 เมษายน 2014

แผงควบคุมแจ้งเหตุเพลิงไหม้ Notifier ระบบแจ้งเตือนด้วยมือ ไฟอลาม Fire Alarm ระบบแจ้งเตือน ระบบ Fire Alarm ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ไฟฉุกเฉิน ระบบเตือนไฟไหม้ ไฟแจ้งเตือน สัญญาณไฟเตือน อุปกรณ์แจ้งเตือน บริษัท ไอแซค มาร์เก็ตติ้ง จำกัด

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

FSP-851 Addressable Smoke

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

เครื่องตรวจจับความร้อน ที่ผ่านกับรับรอง ISO9001

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

การใช้งานด้วยมือเป็นเพียงการกระทำที่มีความยืดหยุ่นที่จำเป็นที่ไม่สามารถติดตั้งโปรแกรม

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

R-Series Remote Annunciators Model: RLCD, RLCD-C, RLED, RLED-C, RLED24, GCI

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

เครื่องควบคุมการตรวจจับหาไฟ แจ้งเตือนที่หน้าจอเมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ ช่วยลดการสูญเสียได้

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

รองรับด้วยโปรแกรมควบคุม Airflow ด้วยโมเดล 4 Pipe ที่สามารถแบ่ง Single Zone ที่สามารถแยกเป็น 4 Sectors คลอบคุมพื้นที่สูงสุดถึง 2,000 m2

แผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

NBG-12 Manual dual Action

ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System Component)

ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ มี 5 ส่วนใหญ่ๆ ซึ่งทำงานเชื่อมโยงกัน ดังแสดงในแผนภาพ 

1. ชุดจ่ายไฟ (Power Supply)

ชุดจ่ายไฟ เป็นอุปกรณ์แปลงกำลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟมาเป็นกำ ลังไฟฟ้ากระแสตรง ที่ใช้ปฏิบัติงานของระบบและจะต้องมีระบบไฟฟ้าสำ รอง เพื่อให้ระบบทำงานได้ในขณะที่ไฟปกติดับ

2. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel) 

เป็นส่วนควบคุมและตรวจสอบการทำ งานของอุปกรณ์และส่วนต่างๆในระบบทั้งหมด จะประกอบด้วย วงจรตรวจคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ, วงจรทดสอบการทำ งาน, วงจรป้องกันระบบ, วงจรสัญญาณแจ้งการทำ งานในสภาวะปกติ และภาวะขัดข้อง เช่น สายไฟจากอุปกรณ์ตรวจจับขาด, แบตเตอรี่ต่ำ หรือไฟจ่ายตู้แผงควบคุมโดนตัดขาด เป็นต้น ตู้แผงควบคุม (FCP) จะมีสัญญาณไฟและเสียงแสดงสภาวะต่างๆบนหน้าตู้  เช่น

- Fire Lamp : จะติดเมื่อเกิดเพลิงไหม้

- Main Sound Buzzer : จะมีเสียงดังขณะแจ้งเหตุ

1. ชุดจ่ายไฟ

2. แผงควบคุม

3. อุปกรณ์ประกอบ

4. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ 

5. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ 

- Zone Lamp : จะติดค้างแสดงโซนที่เกิด Alarm

- Trouble Lamp : แจ้งเหตุขัดข้องต่างๆ

 - Control Switch : สำหรับการควบคุม เช่น เปิด / ปิด เสียงที่ตู้และกระดิ่ง, ทดสอบการ

ทำงานตู้, ทดสอบ Battery, Reset ระบบหลังเหตุการณ์เป็นปกติ

3. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices)

เป็นอุปกรณ์ต้นกำ เนิดของสัญญาณเตือนอัคคีภัย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

3.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณจากบุคคล (Manual Station) ได้แก่ สถานีแจ้งสัญญาณเตือนอัคคีภัยแบบใช้มือกด (Manual Push Station)

3.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์อัตโนมัติที่มีปฏิกิริยาไวต่อสภาวะ ตามระยะ

ต่างๆ ของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) อุปกรณ์ตรวจจับ

ความร้อน (Heat Detector) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector) อุปกรณ์ตรวจจับแก๊ส

(Gas Detector)

4. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียงและแสง (Audible & Visual Signalling Alarm Devices)

หลังจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณทำงานโดยส่งสัญญาณมายังตู้ควบคุม (FCP) แล้ว FCP จึงส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์ ได้แก่ กระดิ่ง, ไซเรน, ไฟสัญญาณ เป็นต้น เพื่อให้ผู้อยู่อาศัย, ผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่ดับเพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น

5. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices) 

เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานเชื่อมโยงกับระบบอื่นที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและดับเพลิงโดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหว่างระบบเตือนอัคคีภัยกับระบบอื่น เช่น 

5.1 ส่งสัญญาณกระตุ้นการทำ งานของระบบบังคับลิฟท์ลงชั้นล่าง, การปิดพัดลมในระบบปรับอากาศ, เปิดพัดลมในระบบระบายอากาศ, เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควันไฟ, การควบคุมเปิดประตูทางออก, เปิดประตูหนีไฟ, ปิดประตูกันควันไฟ, ควบคุมระบบกระจายเสียง และการประกาศแจ้งข่าว, เปิดระบบดับเพลิง เป็นต้น

5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุ้นการทำ งานของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย เช่น จากระบบพ่นนํ้าปั๊มดับเพลิง ระบบดับเพลิงด้วยสารเคมีชนิดอัตโนมัติ เป็นต้น

การจัดแบ่งโซน

การที่สามารถค้นหาจุดเกิดเหตุได้เร็วเท่าไร นั่นหมายถึง ความสามารถในการระงับเหตุก็จะมากขึ้นด้วย ดังนั้น การจัดโซนจึงเป็น ความสำคัญใน การออกแบบระบบ Fire Alarm กรณีเกิดเหตุเริ่มต้นจะทำให้กระดิ่งดังเฉพาะโซนนั้นๆ ถ้าคุมสถานการณ์ ไม่ได้จึงจะสั่งให้กระดิ่งโซนอื่นๆ ดังตาม แนวทางการแบ่งโซนมีดังนี้ 

1. ต้องจัดโซน อย่างน้อย 1 โซนต่อ 1 ชั้น

2. แบ่งตามความเกี่ยวข้องของพื้นที่ ที่เป็นที่เข้าใจสำหรับคนในอาคารนั้น เช่น โซน Office, โซน Workshop

3. ถ้าเป็นพื้นที่ราบบริเวณกว้าง จะแบ่งประมาณ 600 ตารางเมตร ต่อ 1 โซน เพื่อสามารถมองเห็น หรือค้นพบจุดเกิดเหตุโดยเร็ว

4. คนที่อยู่ในโซนใดๆ ต้องสามารถได้ยินเสียงกระดิ่ง Alarm ในโซนนั้นได้ชัดเจน การออกแบบติดตั้ง Manual Station ระบบ Fire Alarm จะต้องมีสวิทซ์กดฉุกเฉิน (Manual Station) ด้วยอย่างน้อยโซนละ 1 ชุด สำหรับกรณี ที่คนพบเหตุการณ์ก่อนที่ Detector จะทำงานหรือไม่มี Detector ติดตั้งไว้ในบริเวณนั้น Manual Station จะต้องมีลักษณะดังนี้

4.1 เป็นการง่ายต่อการสังเกต โดยใช้สีแดงเข้ม ดูเด่นหรือมีหลอดไฟ (Location Light) ติดแสดงตำแหน่งในที่มืดหรือยามคํ่าคืน

4.2 ตำแหน่งที่ติดตั้ง ต้องอยู่บริเวณทางออก ทางหนีไฟ ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน

4.3 ระดับติดตั้งง่ายกับการกดแจ้งเหตุ (สูงจากพื้น 1.1-1.5 เมตร)

4.4 กรณีระบบมากกว่า 5 โซน ควรมีแจ็คโทรศัพท์เพื่อใช้ติดต่อระหว่างเจ้าหน้าที่บริเวณที่เกิดเหตุกับห้องควบคุมของอาคาร เพื่อรายงานสถานะการณ์และสั่งให้เปิดสวิทซ์ General Alarm ให้กระดิ่งดังทุกโซน การกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์แจ้งสัญญาณ อุปกรณ์แจ้งสัญญาณมีหลายชนิด ได้แก่ กระดิ่ง ไซเรน ไฟสัญญาณกระพริบ โดยทั่วไปเราจะนิยมติด ตั้งกระดิ่งไว้บริเวณใกล้เคียง หรือที่เดียวกับ Manual Station ในระดับหูหรือเหนือศีรษะ เราจะมีกระดิ่งอย่าง น้อย 1 ตัว ต่อโซนหรือเพียงพอ เพื่อให้คนที่อยู่เขตพื้นที่โซนนั้น ได้ยินเสียงชัดเจนทุกคน (รัศมีความดังระดับที่ พอเพียงของกระดิ่งขนาด 6 นิ้วจะไม่เกิน 25 เมตร) ส่วนไซเรนเราจะติดตั้งไวใต้ชายคาด้านนอก เพื่อแจ้งเหตุ ให้บุคคลที่อยู่นอกอาคารได้รับทราบว่า มีเหตุผิดปกติ โดยเราจะกำหนด ให้ไซเรนดังทันทีทุกครั้ง ที่เกิดเหตุก่อน จากนั้นจึงจะรอการตัดสินใจว่าจะให้โซนอื่นๆดังตามหรือไม่ตำแหน่งการติดตั้งตู้ควบคุม (Fire Alarm Control Panel) เราจะติดตั้งตู้ควบคุม (FCP) ไว้บริเวณที่มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย หรือช่างควบคุมระบบอาคาร หรือห้องเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัยเป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ใช้ตระหนักถึงความ ปลอดภัยจะต้องคำนึงถึงและเลือกใช้ให้เหมาะสม