ลูกจ้างเสียชีวิตจากการ ทํา งาน

รู้หรือไม่การทำงานมีความเสี่ยงต่อชีวิตและร่างกาย โดยเฉพาะบางอาชีพที่ต้องปฏิบัติงานในพื้นที่ห่างไกลและเสี่ยงภัย หากลูกจ้างตายหรือสูญหายระหว่างการทำงาน จะได้รับสิทธิอย่างไร?

Show

สูญหาย หมายความว่า การที่ลูกจ้างสูญหายไปในระหว่างการทำงาน หรือปฏิบัติงานตามคำสั่งของนายจ้าง หรือสูญหายไปในระหว่างการเดินทาง โดยพาหนะทางบก ทางอากาศ หรือทางน้ำ ซึ่งมีเหตุอันควรเชื่อว่าพาหนะนั้นประสบอันตรายและลูกจ้างถึงแก่ความตาย

 

สิทธิเมื่อลูกจ้างตายหรือสูญหาย

 ผู้มีสิทธิจะได้รับค่าทดแทนร้อยละ 70 ของค่าจ้างรายเดือน เป็นระยะเวลา 10 ปี ผู้มีสิทธิ ได้แก่

  • มารดา
  • บิดาตามกฎหมาย
  • สามีหรือภรรยาตามกฎหมาย
  • บุตรอายุไม่ถึง 18 ปี
  • บุตรที่ยังเรียนอยู่ไม่ถึงปริญญาตรี
  • บุตรอายุ 18 ปีขึ้นไป และทุพพลภาพหรือจิตฟั่นเฟือน
  • บุตรที่เกิดภายใน 310 วัน หลังจากลูกจ้างตายหรือสูญหาย

 

 

หากไม่มีบุคคลข้างต้น ให้ผู้อยู่ในอุปการะของลูกจ้างก่อนลูกจ้างถึงแก่ความตายหรือสูญหายเป็นผู้มีสิทธิ แต่อยู่ในอุปการะดังกล่าวจะต้องได้รับความเดือดร้อน เพราะขาดอุปการะจากลูกจ้างที่ตายหรือสูญหาย

 

นอกจากสิทธิประโยชน์ทดแทนที่ทายาทจะได้รับกรณีที่ผู้ประกันตนเสียชีวิตแล้ว ยังมีเงินที่ทายาทสามารถเบิกเพิ่มเติมได้คือ เงินบำเหน็จชราภาพที่เก็บสะสมไว้และเงินสงเคราะห์กรณีตาย ซึ่งสำนักงานประกันสังคมจะจ่ายให้กับผู้มีสิทธิรับผลประโยชน์ตามจำนวนและระยะเวลาการสมทบเงินประกันสังคมดังนี้

รู้หรือไม่การทำงานมีความเสี่ยงต่อชีวิตและร่างกาย โดยเฉพาะบางอาชีพที่ต้องปฏิบัติงานในพื้นที่ห่างไกลและเสี่ยงภัย หากลูกจ้างตายหรือสูญหายระหว่างการทำงาน จะได้รับสิทธิอย่างไร?

สูญหาย หมายความว่า การที่ลูกจ้างสูญหายไปในระหว่างการทำงาน หรือปฏิบัติงานตามคำสั่งของนายจ้าง หรือสูญหายไปในระหว่างการเดินทาง โดยพาหนะทางบก ทางอากาศ หรือทางน้ำ ซึ่งมีเหตุอันควรเชื่อว่าพาหนะนั้นประสบอันตรายและลูกจ้างถึงแก่ความตาย

สิทธิเมื่อลูกจ้างตายหรือสูญหาย

ผู้มีสิทธิจะได้รับค่าทดแทนร้อยละ 70 ของค่าจ้างรายเดือน เป็นระยะเวลา 10 ปี ผู้มีสิทธิ ได้แก่

- มารดา

- บิดาตามกฎหมาย

- สามีหรือภรรยาตามกฎหมาย

- บุตรอายุไม่ถึง 18 ปี

- บุตรที่ยังเรียนอยู่ไม่ถึงปริญญาตรี

- บุตรอายุ 18 ปีขึ้นไป และทุพพลภาพหรือจิตฟั่นเฟือน

- บุตรที่เกิดภายใน 310 วัน หลังจากลูกจ้างตายหรือสูญหาย

หากไม่มีบุคคลข้างต้น ให้ผู้อยู่ในอุปการะของลูกจ้างก่อนลูกจ้างถึงแก่ความตายหรือสูญหายเป็นผู้มีสิทธิ แต่อยู่ในอุปการะดังกล่าวจะต้องได้รับความเดือดร้อน เพราะขาดอุปการะจากลูกจ้างที่ตายหรือสูญหาย

นอกจากสิทธิประโยชน์ทดแทนที่ทายาทจะได้รับกรณีที่ผู้ประกันตนเสียชีวิตแล้ว ยังมีเงินที่ทายาทสามารถเบิกเพิ่มเติมได้คือ เงินบำเหน็จชราภาพที่เก็บสะสมไว้และเงินสงเคราะห์กรณีตาย ซึ่งสำนักงานประกันสังคมจะจ่ายให้กับผู้มีสิทธิรับผลประโยชน์ตามจำนวนและระยะเวลาการสมทบเงินประกันสังคมดังนี้

- ผู้ประกันตนเสียชีวิตก่อนอายุครบ 55 ปี และจ่ายเงินสมทบน้อยกว่า 12 เดือน ผู้รับประโยชน์จะได้ประโยชน์ทดแทนแบบบำเหน็จชราภาพ เป็นจำนวนเงินเท่ากับเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายไว้

- ผู้ประกันตนเสียชีวิตก่อนอายุครบ 55 ปี และจ่ายเงินสมทบมากกว่า 12 เดือน ผู้รับประโยชน์จะได้ประโยชน์ทดแทนแบบบำเหน็จชราภาพ เป็นจำนวนเงินเท่ากับเงินสมทบที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายไว้

- ผู้ประกันตนเสียชีวิตภายในระยะเวลา 5 ปี หลังรับสิทธิบำนาญชราภาพ ผู้รับประโยชน์จะได้ประโยชน์ทดแทนเป็นเงิน 10 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน

ทั้งนี้ หากมีข้อสงสัยสามารถตรวจสอบ หรือติดตามข่าวสารสำนักงานประกันสังคมผ่านทางช่องทางต่าง ๆ ได้ที่

- WEBSITE :  www.sso.go.th

-  Facebook: สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

- Instagram: sso_1506

- Twitter: @sso1506

-  YouTube : สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน

- Hotline: 1506 (ตลอด 24 ชั่วโมง)

- LINE : @SSOTHAI

- TikTok : @SSONEWS1506

ลูกจ้างเสียชีวิตจากการ ทํา งาน

 

ลูกจ้างเสียชีวิตจากการ ทํา งาน

Tagsทายาทลูกจ้างเสียชีวิตสำนักงานประกันสังคม

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

รมว.สุชาติ มอบ ผู้ช่วยรัฐมนตรีฯ เป็นประธาน MOU สปส.จับมือ รพ. 10 แห่ง ร่วมเพิ่มประสิทธิภาพผู้ประกันตนเข้าถึงการรักษาด้วยการผ่าตัดหรือทำหัตถการนำร่องในกลุ่ม 5 โรค

วันที่ 26 ธันวาคม 2565 เวลา 09.30 น. นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มอบหมายให้ นายสุรชัย ชัยตระกูลทอง ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงแรงงาน เป็นประธานและร่วมเป็นสักขีพยานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงการให้บริการทางการแพทย์

“โฆษกประกันสังคม” แจง การให้บริการทันตกรรมในระบบประกันสังคม ไม่ด้อยกว่าสิทธิกองทุนอื่น

เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2565 นางนิยดา เสนีย์มโนมัย โฆษกสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน เปิดเผยถึงกรณีที่สื่อเสนอข่าวพาดพิงสิทธิทันตกรรมของสำนักงานประกันสังคมว่าด้อยกว่าสิทธิประโยชน์อื่น โฆษก สปส. แจง

วันเดียวเต็ม! ผู้ประกันตนแห่กดรับรหัสขอสินเชื่อที่อยู่อาศัย วงเงิน 3 หมื่นล้าน เล็งเปิดเฟส 2

นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิดเผยว่า ตามที่กระทรวงแรงงาน โดยสำนักงานประกันสังคม ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับธนาคารอาคารสงเคราะห์(ธอส.) ดำเนินโครงการสินเชื่อที่อยู่อาศัยเพื่อผู้ประกันตนภายในวงเงินจำนวนไม่เกิน 30,000 ล้านบาทนั้น

ธอส. เผยสินเชื่อบ้านสมาชิกประกันสังคมคึกคัก 3 ชั่วโมงทะลุ 1.3 หมื่นล้าน

แค่ 3 ชั่วโมงแรก ยอดรับรหัสทะลุ 13,000 ล้านบาท!!ผู้ประกันตนมาตรา 33 แห่เข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย เพื่อผู้ประกันตน

รมว.เฮ้ง ห่วงใย ส่ง โฆษก นำทีมประกันสังคมรุดช่วยหนุ่ม รปภ.ป่วยย่านสายไหม

วันที่ 19 ธันวาคม 2565 นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มอบหมายให้ นางเธียรรัตน์ นะวะมะวัฒน์ โฆษกกระทรวงแรงงาน (ฝ่ายการเมือง) ลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือนายณัฐกมล อ่วมคุ้ม รปภ.วัย 41 ปี

ผู้ประกันตน ม.33-ม.39 ห้ามลืม 16 ธ.ค.65.-31 มี.ค.66 ใช้สิทธิเปลี่ยนสถานพยาบาลได้

ประกันสังคมเตือน! ผู้ประกันตน ม.33 - ม.39 ประสงค์เปลี่ยนสถานพยาบาลปี 2566 ดำเนินการผ่าน 4 ช่องทางได้ตั้งแต่ 16 ธ.ค.65-31 มี.ค.66 ย้ำอย่าลืมใช้สิทธิทำฟันประจำปีวงเงิน 900 บาทก่อนสิ้น ธ.ค.