อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล (Data Communications)

Show

     หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล (Data Communications) ในการเรียนการทำงานและการดำเนินชีวิตประจำวันของคนเรา ต้องมีการพูดคุย บอกความต้องการ ความรู้สึก และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระระหว่างกัน  เพื่อให้เกิดประสบการณ์และความรอบรู้  ดังนั้น หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างผู้ส่ง ข้อมูลข่าวสาร สื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสารและผู้รับ เพื่อให้ผู้รับ รับรู้ข้อมูลข่าวสารถูกต้องและหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลเกิดความเข้าใจตรงกันกับผู้ส่งนั้นเอง

      เมื่อกล่าวถึง หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล การติดต่อสื่อสาร ในอดีตอาจหมายถึงการพูดคุยกันของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูด หรือผ่านทางตัวอักษร โดยเป็นการสื่อสารในระยะใกล้ ๆ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้า ได้มีการพัฒนาการสื่อสารเข้ากับการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลขึ้นและสะดวกรวดเร็วมากขึ้น เช่น การใช้โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร อีกทั้งตัวอุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารเองก็ได้รับการพัฒนาความสามารถขึ้นมาเป็นลำดับ และเข้ามามีบทบาทในทุกวงการ ดังนั้นในยุคสารสนเทศนี้

     การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล ซึ่งอาจอยู่ในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือวีดิทัศน์ ระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร โดยผ่านทางสื่อกลางในการสื่อสาร ซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายก็ได้  โดยปกติ  องค์ประกอบหลักของระบบสื่อสารข้อมูล มีอยู่ 5 อย่าง ได้แก่ ข่าวสาร (Message) ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver) สื่อกลาง (Media) และโพรโทคอล (Protocol)

    หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง  การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ผ่านสื่อกลางไปยังผู้รับการสื่อสารข้อมูลจึงประกอบไปด้วยส่วนสำคัญ  4  ส่วนดังนี้

 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นสิ่งหน้าที่ส่งข้อมูลข่าวสารออกไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ  ซึ่งอาจเป็นบุคคลหรืออุปกรณ์  เช่น  เครื่องคอมพิวเตอร์  โทรศัพท์  เป็นต้น

2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) เป็นสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปให้ผู้รับที่อยู่ปลายทางซึ่งอาจเป็นเสียง ข้อความหรือภาพ เพื่อสื่อสารให้เกิดความเข้าใจตรงกัน

3.  สื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสาร (Medium)

    3.1 เป็นสิ่งที่ช่วยให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยังผู้รับได้โดยสะดวก ซึ่งมีหมายรูปแบบ  ดังนี้

     – สายสัญญาณชนิดต่างๆ เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิล เส้นใยแก้วนำแสง เป็นต้น

     – คลื่นสัญญาณชนิดต่างๆ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแสง คลื่นอินฟาเรด เป็นต้น

     – อุปกรณ์เสริมชนิดต่างๆ เช่น เสาอากาศวิทยุ เสาอากาศโทรทัศน์ ดาวเทียม เป็นต้น

4.  ผู้รับ (Receiver) เป็นสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ซึ่งผ่านสื่อกลางชนิดต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ วิทยุ เป็นต้น

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

ที่มา http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/234/computer/Page702.htm

5.โพรโทคอล (Protocol) หมายถึง กฎระเบียบที่ใช้กำหนดวิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์คู่หนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารใด ๆ ผ่านระบบเครือข่าย

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

ที่มาhttps://medium.com/@petchtany123/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5-b6a95d6a7eed

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของการสื่อสารข้อมูล

    เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกันโดยอาศัยสื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และใช้ทรัพยากรของระบบ ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ ร่วมกันโดยมีองค์ประกอบดังนี้

     1.คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากรต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์ ข้อมูล เป็นต้น

    2.ช่องทางการสื่อสาร เป็นสื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่านในการรับ-ส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับและผู้ส่งข้อมูล ซึ่งมีหลายประเภท เช่น สายโทรศัพท์ แบบสายบิดคู่ตีเกลียวชนิดมีฉนวนหุ้ม และไม่มีฉนวนหุ้ม สายโคแอ็กเซียล  เส้นใยแก้วนำแสง เป็นต้น

     3.สถานีงาน เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับบริการจากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือเรียกได้ว่าเครื่องลูกข่าย ที่มีทั้งแบบมีหน่วยประมวลผลของตนเอง ซึ่งประกอบด้วยจอภาพ และแผงแป้นอักขระ

     4.อุปกรณ์สื่อสารระหว่างเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์สำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายชนิดเดียวกันและต่างชนิดเข้าด้วยกัน เพื่อทำการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เช่น เครือข่าย โมเด็ม ฮับ เป็นต้น

ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของการสื่อสารข้อมูล

    1.เครือข่ายแลนหรือเครือข่ายท้องถิ่น

    2.เครือข่ายแมนหรือเครือข่ายระดับเมือง

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

    3.เครือข่ายแวนหรือเครือข่ายระดับประเทศ

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

   4.เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

           ที่มา https://cc.srru.ac.th/?p=22

5.เครือข่ายไวร์เลสแลนหรือเครือข่ายแบบไร้สาย  (Wireless LAN : WLAN) หมายถึง เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ โดยผ่านคลื่นความถี่วิทยุเป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลแทนการใช้สายสัญญาณ การรับส่งข้อมูลผ่านอากาศช่วยลดการใช้สายสัญญาณและเวลาในการติดตั้งลดลง ทำให้ระบบเครือข่ายไร้สายได้รับความนิยมมากขึ้น

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

ที่มา http://wise.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=3438

เทคโนโลยีการรับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

       เทคโนโลยีการรับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล(Data Communications) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีการใช้งานมากที่สุด คือ เครือข่ายแลน ซึ่งเครือข่ายแลนนั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์หลายเครื่องรับ-ส่ง ข้อมูลระหว่างกันได้ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ร่วมกันด้วยสาเหตุนี้จึงมีการพัฒนาเทคโนโลยี เช่น วิธีการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ เพื่อลดความยุ่งอยากในการเชื่อมโยงสายสัญญาณด้วยการใช้จำนวนสายสัญญาณน้อย หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล โดยเทคโนโลยีการรับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลนที่น่าสนใจมี ดังนี้

 1.  อินเทอร์เน็ต (Internet)  หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆรวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

ที่มา https://sites.google.com/site/internetorbook/xinthexrnet

2.โทเค็นริง (token ring) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งหมดใช้รูปแบบวงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณ และอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณการเชื่อมต่อ

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

                              ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest1/tech04/20/wired/n04_02.html

3.สวิตชิง (Switching)

อุปกรณ์การสื่อสารในงานอาชีพที่ต้องการความรวดเร็ว เช่น

4.ไฮเบริด (Hybrid) หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) ผสมกัน

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

    1.เกิดการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน โดยในเครือข่ายจะมีเครื่องให้บริการข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ผู้ใช้บริการขอดูข้อมูล และปรับปรุงข้อมูลได้ทันที

    2.เกิดการแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย โดยผู้ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน สามารถใช้อุปกรณ์ เช่น เครื่องพิมพ์ โทรสาร ฮาร์ดดิสก์ โมเด็ม เครื่องกราดตรวจร่วมกันได้ จึงเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์สำนักงานได้อีกทางหนึ่ง

    3.เกิดการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันในเครือข่าย โดยเมื่อผู้ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะสามารถฝากความคิดเห็นหรือคำถาม คำตอบไว้ บนกระดานสนทนาส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ถึงกัน สนทนาผ่านซอฟต์แวร์ต่างๆ ประชุมทางไกล เรียนทางไกล โอนย้ายข้อมูล โอนเงิน ติดต่อธุรกิจ และสั่งซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์ได้

    4.ช่วยลดปริมาณการใช้ขยะในหน่อยงาน โดยเมื่อใช้คอมพิวเตอร์ทำงานเกี่ยวกับเอกสาร และสื่อประสมต่างๆ รวมทั้งรับ-ส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายภายในหน่วยงาน จะช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษและค่าใช้จ่ายในการซิ้อกระดาษ

   5.ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง โดยเมื่อใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตติดต่อสื่อสารถึงกันได้ผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ซอฟต์แวร์สนทนา และ สืบค้นข้อมูลต่างๆ จะช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้มาก

อินเทอร์เน็ต หรือ Internet ย่อมาจากคำว่า Inter Connection Network หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อและเชื่อมโยงสัญญาณกันทั่วโลก ทำให้การสื่อสารจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้โดยไม่จำกัดระยะทาง โดยใช้เครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมต่อเครือข่าย อินเทอร์เน็ตทำให้ทุกคนในโลกทุกชาติทุกภาษาและเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แต่ละประเภท สามารถเชื่อมต่อและสื่อสารถึงกันได้เข้าใจ ภายใต้หลักการและมาตรฐานที่สร้างขึ้นมารองรับ

ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำคัญมากขึ้น หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล(Data Communications)ตั้งแต่ยุค ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหม่จากยุคอุตสาหกรรมเข้าสู่ยุคดิจิตอล ซึ่งยุคนี้ประชากรส่วนใหญ่เรียกว่าเป็นยุคโลกไร้พรมแดนหรือยุคโลกาภิวัฒน์ เนื่องจากมีความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นอย่างมากมีการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายประเภทต่างๆ หลายๆ ระบบเข้าด้วยกัน จึงทำให้การติดต่อสื่อสารทำได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ประชากรสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทุกมุมโลก ทั้งทางภาพ เสียง หรือข้อความ โดยผ่าน หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล(Data Communications) ทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟนแทปเล็ต ฯลฯ ด้วยลักษณะเช่นนี้จึงทำให้องค์กรธุรกิจต่างๆ เล็งเห็นความสำคัญของประสิทธิภาพของอุปกรณ์เหล่านั้น จึงได้นำมาประยุกต์ใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินธุรกิจบนโลกออนไลน์มากที่สุด และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันดีในชื่อของ “อินเทอร์เน็ต” (internet) จัดว่าเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในยุคสังคมข่าวสารดังเช่นในปัจจุบันนี้ ผลจากการพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่ายในรูปแบบ
อื่นๆ ได้ เช่น เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) ซึ่งมีลักษณะการเชื่อมโยงเครือข่ายเช่นเดียวกับระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) แต่ต่างกันตรงที่อินทราเน็ตเป็นระบบปิดที่มีการจำกัดขอบเขตกลุ่มผู้ใช้งาน โดยอนุญาตให้ผู้มีสิทธิ์ใช้งาน คือ สมาชิกหรือพนักงานในองค์กรเท่านั้น และอีกเครือข่ายหนึ่งที่เรียกว่า เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เกิดจากการผนวกรวมเครือข่ายอินทราเน็ตตั้งแต่ 2 วงขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยอาศัยกลไกการทำงานของโปรโตคอล TCP/IP ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการทำงานหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทั้งภายในและภายนอกองค์กรมากขึ้นเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อบนระบบเครือข่ายจะมีหมายเลข IP Address เพื่อบอกใช้บอกปลายทางที่ติดต่อว่าเครื่องต้นทางอยู่ที่ไหน โดยหมายเลข IP จะถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่ง ขนาด 32 บิต ซึ่งแต่ละชุดแบ่งตัวเลขออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตและคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) แต่ละชุดจึงมีค่าตัวเลขตั้งแต่ 0 – 255ตัวอย่างเช่น 172.16.254