เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

หน่วยที่ 3 เรื่องที่ 4 ประเภทของสายไฟและการต่อสายไฟฟ้า

    สายไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส่งพลังงานไฟฟ้าจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยกระแสไฟฟ้าจะเป็นตัวนำพลังงานไฟฟ้าผ่านไปตามสายไฟจนถึงเครื่องใช้ไฟฟ้า สายไฟทำด้วยสารที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ เรียกว่าตัวนำไฟฟ้า และตัวนำไฟฟ้าที่ใช้ทำสายไฟเป็นโลหะที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ดี ลวดตัวนำแต่ละชนิดยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ต่างกัน ตัวนำไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้มากเรียกว่ามีความนำไฟฟ้ามากหรือมี ความต้านทานไฟฟ้าน้อย ลวดตัวนำจะมีความต้านทานไฟฟ้าอยู่ด้วย โดยลวดตัวนำที่มีความต้านทานไฟฟ้ามากจะยอม ให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้น้อย 
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า
    2.แรงดันไฟฟ้าที่สายไฟฟ้าทนได้ ส่วนใหญ่โรงงานผู้ผลิตจะจัดพิมพ์ และติดไว้ที่ผิวฉนวนด้านนอกของสายไฟฟ้า เช่น 300V หรือ 750V เป็นต้น
    3.อุณหภูมิแวดล้อมขณะใช้งาน เช่น 60"C หรือ 70"C เป็นต้น
    4.ชนิดของฉนวนที่ใช้หุ้ม เช่น ฉนวนพีวีซี (PVC) หรือเรียกว่าโพลิไวนิลคลอไรด์ ซึ่งเหมาะสำหรับการเดินสายไฟฟ้าในอาคารทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากพลาสติกพีวีซี มีความอ่อนตัว สามารถดัดโค้งงอได้ ทนต่อความร้อน มีความเหนียวและไม่เปื่อยง่าย ฉนวนพลาสติกอีกชนิดหนึ่ง คือ ครอสลิ่งก์ โพลิเอธทิลีน (Cross Linked Polyethylene: XLPE) ซึ่งเป็นสายอลูมิเนียมหุ้มฉนวนหนาพิเศษ จึงสามารถรับแรงกระแทกได้มากยิ่งขึ้น
    5.ลักษณะการนำไปใช้งาน โดยพิจารณาจากลักษณะการติดตั้ง สถานที่ใช้งาน สภาพความแข็งแรงของสายไฟฟ้า ทั้งนี้จะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับสายไฟฟ้าแต่ละชนิดด้วย

ชนิดของสายไฟ
    สายไฟจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ สายสำหรับไฟแรงดันต่ำและสำหรับไฟแรงดันสูง ในเรื่องนี้จะกล่าวถึงสายไฟที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือนซึ่งจัดเป็นสายไฟแรงดันต่ำ สำหรับประเทศไทยสายไฟแรงดันต่ำจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.11-2531 หรือ TIS-11-2531 ตามมาตรฐานแล้วสายไฟแรงดันต่ำจะมีหลายขนาด (พื้นที่หน้าตัด) ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งจะทนแรงดันไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 300 โวลต์ ถึง 750 โวลต์ สายไฟตามมาตรฐาน มอก.11-2531 จะแบ่งเป็นประเภทตามขนาด ความทนแรงดันไฟและการใช้งาน ได้ดังนี้
    1.สายไอวี (IV) สายชนิดนี้เป็นสายเดียวหรือแกนเดี่ยวชนิดทนแรงดันไฟ 300 โวลต์ ใช้เป็นสายเดินเข้าอาคารสำหรับที่พักอาศัยที่ใช้ระบบ 1 เฟส และห้ามใช้กับระบบ 3 เฟสที่มีแรงดัน 380 โวลต์ การใช้งานถ้าเดินสายลอยต้องยึดด้วยวัสดุฉนวน หรือเดินในช่องเดินสายในสถานที่แห้ง แต่ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน
    2.สายวีเอเอฟ (VAF) เป็นสายชนิดทนแรงดัน 300 โวลต์ มีทั้งชนิดเป็นสายเดี่ยวสายคู่และที่มีสายดินอยู่ด้วย ถ้าเป็นสายเดี่ยวจะเป็นสายกลม และถ้าเป็นชนิด 2 แกนหรือ 3 แกนจะเป็นสายแบน ตัวนำนอกจากจะมีฉนวนหุ้มแล้วยังมีเปลือกหุ้มอีกชั้นหนึ่ง สายคู่จะนิยมเดินตามฝาผนังด้วยเข็มขัดรัดสาย (Clip) หรือเดินในช่องเดินสายแต่ห้ามเดินฝังดินโดยตรง การจะเดินสายประเภทนี้ใต้ดินจะต้องเดินในท่อฝังดินที่มีการป้องกันน้ำซึมเข้าท่อ ใช้ในบ้านอยู่อาศัยทั่วไป สายชนิดนี้ห้ามใช้ในวงจร 3 เฟส ที่มีแรงดัน 380 โวลต์ (ในระบบ 3 เฟส แต่แยกไปใช้งานเป็นแบบ 1 เฟส แรงดัน 220 โวลต์ จะใช้ได้)

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน
เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้0

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน
เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน
เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้1
การต่อสายไฟฟ้า
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้2
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้3
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้41.การต่อสายแบบรับแรงดึง
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้5
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้6
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้7
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้8
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้9

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

แสดงการต่อสายไฟเดี่ยว

2. การต่อสายแบบไม่รับแรงดึงหรือบิดตีเกลียวแบบหางหมู
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า0
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า1
   สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าไปติดตั้งใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้นดังต่อไปนี้7
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า3

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

การต่อสายแบบหางเปีย

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

3. การต่อสายแบบแยก
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า4
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า5
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า6
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า7
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า8
    1.ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุดโดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (Insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูป โดยที่ข้อกำหนดการใช้งานสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวนี้ เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า9
    2.แรงดันไฟฟ้าที่สายไฟฟ้าทนได้ ส่วนใหญ่โรงงานผู้ผลิตจะจัดพิมพ์ และติดไว้ที่ผิวฉนวนด้านนอกของสายไฟฟ้า เช่น 300V หรือ 750V เป็นต้น0

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

แสดงการต่อแยก 3 ทาง

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

แสดงการต่อแยก 4 ทาง

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

การต่อแยกแบบหลายเส้น

4. การต่อสายแข็งกับสายอ่อน
    2.แรงดันไฟฟ้าที่สายไฟฟ้าทนได้ ส่วนใหญ่โรงงานผู้ผลิตจะจัดพิมพ์ และติดไว้ที่ผิวฉนวนด้านนอกของสายไฟฟ้า เช่น 300V หรือ 750V เป็นต้น1

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

การพันสายด้วยผ้าเทปพันสาย
    2.แรงดันไฟฟ้าที่สายไฟฟ้าทนได้ ส่วนใหญ่โรงงานผู้ผลิตจะจัดพิมพ์ และติดไว้ที่ผิวฉนวนด้านนอกของสายไฟฟ้า เช่น 300V หรือ 750V เป็นต้น2

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

อุปกรณ์ต่อสายไฟ
วายนัท

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

แผงต่อสาย พลาสติก

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

แผงต่อสาย โลหะ 6ช่อง 25A

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

หางปลากลม หางปลาแฉก

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

ลูกเต๋าต่อสายไฟหรือแผงต่อสาย PVC

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

PUSH IN WIRE CONNECTOR

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

เฉลย แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 สายไฟฟ้าและการใช้งาน

อ่านเพิ่มเติม

http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric16.htm
http://elearning.nsru.ac.th/web_elearning/anuson/b4.htm
https://th.wikipedia.org/wiki/สายไฟฟ้า

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...