หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก

แหล่งมรดกโลก

เมื่อ 25 February 2020 15,057

หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก

แหล่งมรดกโลก (World Heritage Site) คือ พื้นที่หรือจุดหลัก (Landmark) ที่ได้รับคัดเลือกจากยูเนสโก เพราะมีลักษณะสำคัญทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้านอื่น และได้รับความคุ้มครองทางกฎหมายตามสนธิสัญญา สถานที่เหล่านี้ถือว่าสำคัญต่อประโยชน์โดยรวมของมนุษยชาติ

ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2562) มีมรดกโลกทั้งหมด 1,121 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก แบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 869 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 213 แห่ง และอีก 39 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท โดยอิตาลีและจีนเป็นประเทศที่มีจำนวนแหล่งมรดกโลกมากที่สุด คือ 55 แห่ง รองลงมาคือสเปน (48 แห่ง) เยอรมนี (46 แห่ง) และฝรั่งเศส (45 แห่ง) แม้ว่ายูเนสโกจะอ้างอิงถึงมรดกโลกแต่ละแห่งด้วยหมายเลข แต่การขึ้นทะเบียนในหลายครั้งก็จะผนวกเอามรดกโลกที่ได้ขึ้นทะเบียนไปแล้วเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลกที่มีพื้นที่มากขึ้น ดังนั้นจึงมีหมายเลขมรดกโลกเกิน 1,200 แม้ว่าจะมีจำนวนมรดกโลกน้อยกว่าก็ตาม

ในส่วนแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยนั้น มีสถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้วทั้งสิ้น 5 แห่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แห่ง และทางธรรมชาติอีก 2 แห่ง

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม

แหล่ง ที่ตั้ง พื้นที่ (แฮกตาร์) ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) รายละเอียด
นครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา
14°20′52″N 100°33′38″E
289 2534/1991 กรุงศรีอยุธยาเป็นเมืองหลวงแห่งที่สองของชาวสยามต่อจากสุโขทัย ถูกทำลายโดยกองทัพพม่าในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซากปรักหักพังสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ อาทิ ปรางค์ และอารามขนาดใหญ่แสดงถึงความงดงามและความเจริญรุ่งเรืองในอดีต
เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร สุโขทัยและกำแพงเพชร
17°0′26″N 99°47′23″E
11,852 2534/1991 สุโขทัยเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของชาวสยามในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 สิ่งก่อสร้างจำนวนมากแสดงถึงจุดเริ่มต้นของสถาปัตยกรรมไทย ประกอบด้วยอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกำแพงเพชร
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง อุดรธานี
17°32′55″N 103°47′23″E
64 2535/1992 เป็นที่ตั้งถิ่นฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงให้เห็นถึงก้าวสำคัญของวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมสังคมและเทคโนโลยีของมนุษย์ อาทิ การเกษตร การผลิต และการใช้โลหะ

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

แหล่ง ที่ตั้ง พื้นที่ (แฮกตาร์) ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ./ค.ศ.) รายละเอียด
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง กาญจนบุรี ตาก และอุทัยธานี
15°20′N 98°55′E
622,200 2534/1991 ประกอบด้วยผืนป่าเกือบทุกประเภทที่มีในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นบ้านของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ 77% (โดยเฉพาะช้างและเสือ) 50% ของนกขนาดใหญ่ และ 33% ของสัตว์มีกระดูกสันหลังบกที่พบในภูมิภาคนี้
ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ สระบุรี นครราชสีมา นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว และบุรีรัมย์
14°20′N 102°3′E
615,500 2548/2005
เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์กว่า 800 ชนิด ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำนวน 112 สายพันธุ์ (รวมทั้งสัตว์น้ำสองสายพันธุ์) สัตว์ชนิดนก 392 สายพันธุ์ และสัตว์เลื้อยคลานกว่า 200 สายพันธุ์ มีระบบนิเวศป่าเขตร้อนที่สำคัญซึ่งสามารถเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อการอยู่รอดในระยะยาวของสัตว์สายพันธุ์เหล่านี้

สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 60/1 ซอยพิบูลวัฒนา 7 ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 0-2265-6500 โทรสาร 0-2265-6511

หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก

โลโก้ของยูเนสโกในคณะกรรมการมรดกโลก

คณะกรรมการมรดกโลก (อังกฤษ: World Heritage Committee) ถูกก่อตั้งโดยเป็นส่วนหนึ่งของของแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก[1]

คณะกรรมการมรดกโลกจะมีการประชุมร่วมกันหลายครั้งในแต่ละปี เพื่ออภิปรายถึงแผนการจัดการเกี่ยวกับแหล่งมรดกโลกที่ยังคงอยู่ และรับรายชื่อสถานที่ที่ประเทศต่างๆเสนอให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก และจะมีการประชุมครั้งหนึ่งที่เรียกว่า การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ (World Heritage Committee Session) ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่ได้รับการเสนอชื่อแห่งใดที่จะได้รับการขึ้นทะเบียนอย่างเป็นทางการ

การประชุมสมัยสามัญประจำปีจะผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันจัดในเมืองสำคัญต่างๆจากทั่วโลก ซึ่งนอกจากครั้งที่จัดขึ้นที่กรุงปารีส อันเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ขององค์การยูเนสโกแล้ว จะมีเพียงประเทศที่สมาชิกของคณะกรรมการมรดกโลกเท่านั้นที่จะได้รับสิทธิในการจัดการประชุมครั้งต่อไป โดยจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ และรับรองได้ว่าสมาชิกภาพของประเทศนั้นๆจะไม่หมดวาระลงเสียก่อนที่จะได้จัดการประชุม

การประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ[แก้]

ครั้งที่[2]ปี (พ.ศ.) วันที่ สถานที่ ประเทศเจ้าภาพ
1 2520 27 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
2 2521 5 กันยายน - 8 กันยายน วอชิงตัน ดี. ซี.
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
สหรัฐ
3 2522 22 ตุลาคม - 26 ตุลาคม ไคโร และ ลักซอร์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
อียิปต์
4 2523 1 กันยายน - 5 กันยายน ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
5 2524 26 ตุลาคม - 30 ตุลาคม ซิดนีย์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ออสเตรเลีย
6 2525 13 ธันวาคม - 17 ธันวาคม ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
7 2526 5 ธันวาคม - 9 ธันวาคม ฟลอเรนซ์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
อิตาลี
8 2527 29 ตุลาคม - 2 พฤศจิกายน บัวโนสไอเรส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
อาร์เจนตินา
9 2528 2 ธันวาคม - 6 ธันวาคม ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
10 2529 24 พฤศจิกายน - 28 พฤศจิกายน ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
11 2530 7 ธันวาคม - 11 ธันวาคม ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
12 2531 5 ธันวาคม - 9 ธันวาคม บราซิเลีย
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
บราซิล
13 2532 11 ธันวาคม - 15 ธันวาคม ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
14 2533 7 ธันวาคม - 12 ธันวาคม แบนฟ์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
แคนาดา
15 2534 9 ธันวาคม - 13 ธันวาคม คาร์เทจ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ตูนิเซีย
16 2535 7 ธันวาคม - 14 ธันวาคม แซนตาเฟ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
สหรัฐ
17 2536 6 ธันวาคม - 11 ธันวาคม การ์ตาเฮนา
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
โคลอมเบีย
18 2537 12 ธันวาคม - 17 ธันวาคม ภูเก็ต
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ไทย
19 2538 4 ธันวาคม - 9 ธันวาคม เบอร์ลิน
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
เยอรมนี
20 2539 2 ธันวาคม - 7 ธันวาคม เมรีดา
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
เม็กซิโก
21 2540 1 ธันวาคม - 6 ธันวาคม เนเปิลส์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
อิตาลี
22 2541 30 ธันวาคม - 5 ธันวาคม เกียวโต
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ญี่ปุ่น
23 2542 29 พฤศจิกายน - 4 ธันวาคม มาร์ราเกช
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
โมร็อกโก
24 2543 27 ธันวาคม - 2 ธันวาคม แคนส์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ออสเตรเลีย
25 2544 11 ธันวาคม - 16 ธันวาคม เฮลซิงกิ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฟินแลนด์
26 2545 24 มิถุนายน - 29 มิถุนายน บูดาเปสต์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฮังการี
27 2546 30 มิถุนายน - 5 กรกฎาคม ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
28 2547 28 มิถุนายน - 7 กรกฎาคม ซูโจว
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
จีน
29 2548 10 กรกฎาคม - 17 กรกฎาคม เดอร์บัน
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
แอฟริกาใต้
30 2549 8 กรกฎาคม - 16 กรกฎาคม วิลนีอุส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ลิทัวเนีย
31 2550 23 มิถุนายน - 1 กรกฎาคม ไครสต์เชิร์ช
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
นิวซีแลนด์
32 2551 2 กรกฎาคม - 10 กรกฎาคม เมืองควิเบก
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
แคนาดา
33 2552 22 มิถุนายน - 30 มิถุนายน เซบิยา
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
สเปน
34 2553 25 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม บราซิเลีย
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
บราซิล
35 2554 19 มิถุนายน - 29 มิถุนายน ปารีส
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฝรั่งเศส
36 2555 24 มิถุนายน - 6 กรกฎาคม เซนต์ปีเตอร์เบิร์ก
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
รัสเซีย
37 2556 17 มิถุนายน - 27 มิถุนายน พนมเปญ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
กัมพูชา
38 2557 15 มิถุนายน - 25 มิถุนายน โดฮา
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
กาตาร์
39 2558 28 มิถุนายน - 8 กรกฎาคม บอนน์
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
เยอรมนี
40 2559 10 กรกฎาคม - 20 กรกฎาคม อิสตันบูล
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ตุรกี
41 2560 2 กรกฎาคม - 12 กรกฎาคม กรากุฟ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
โปแลนด์
42 2561 24 มิถุนายน - 4 กรกฎาคม มานามา
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
บาห์เรน
43 2562 30 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม บากู
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
อาเซอร์ไบจาน
44 2563–64 29 มิถุนายน - 9 กรกฎาคม
เลื่อนไปในวันที่
16 กรกฎาคม - 31 กรกฎาคม 2564
ฝูโจว
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
จีน
45 2565 19 มิถุนายน - 30 มิถุนายน
เลื่อนไปในวันที่
???
เนื่องด้วยการรุกรานยูเครนของรัสเซีย
TBA TBA

สมาชิก[แก้]

รัฐสมาชิก[3]อาณัติ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ออสเตรเลีย
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
บาห์เรน
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
บราซิล
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
จีน
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
อียิปต์
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
เอธิโอเปีย
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
กัวเตมาลา
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ฮังการี
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
คีร์กีซสถาน
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
มาลี
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ไนจีเรีย
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
นอร์เวย์
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
โอมาน
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
รัสเซีย
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
เซนต์คิตส์และเนวิส
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ซาอุดีอาระเบีย
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
แอฟริกาใต้
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
สเปน
2017–2021
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ไทย
2019–2023
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก
 
ยูกันดา
2017–2021
รวม 21

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการมรดกโลก
  2. "Sessions". UNESCO World Heritage Site.
  3. Centre, UNESCO World Heritage. "UNESCO World Heritage Centre - 40th session of the Committee". whc.unesco.org. สืบค้นเมื่อ 27 March 2018.

ดูเพิ่ม[แก้]

  • แหล่งมรดกโลก

รายชื่อแหล่งมรดกโลก

ยุโรป

ตะวันตก • ตะวันออก • ใต้ • เหนือ

หน่วยงานที่ดูแลเรื่องมรดกโลก

อเมริกา

เหนือ • กลาง • แคริบเบียน • ใต้

เอเชีย

ตะวันตก • ตะวันออก • ตะวันออกเฉียงใต้ • ใต้ • เหนือและกลาง

อาหรับ

รัฐอาหรับ

แอฟริกา

แอฟริกา

โอเชียเนีย

โอเชียเนีย

แหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย • อดีตแหล่งมรดกโลก • คณะกรรมการมรดกโลก

แหล่งมรดกโลก • มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม • ความทรงจำแห่งโลก • ภูมิทัศน์วัฒนธรรม

องค์กรใดที่รับรองการขึ้นทะเบียนมรดกโลก

คณะกรรมการมรดกโลก เป็น ๑ ใน ๓ กลไกหลักภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage หรือ UNESCO Convention 1972 หรือ “อนุสัญญามรดกโลก”) ประกอบด้วยผู้แทนรัฐภาคีอนุสัญญาฯ ๒๑ ประเทศจากภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกที่ได้รับเลือกตั้งโดย ...

หน่วยงานใดขององค์การสหประชาชาติที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนมรดกโลกทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรม *

องค์การเพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (อังกฤษ: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (อังกฤษ: UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 และต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489 ...

องค์กรใดที่มีหน้าที่แต่งตั้ง ถอดถอน และดูแลมรดกโลก

คณะกรรมการมรดกโลกประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการมรดกโลก (Bureau of the World Heritage Committee) ซึ่งมีการประชุมทุกๆ ปีที่ส านักงานใหญ่องค์การยูเนสโก กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดยจะท า หน้าที่กลั่นกรองงานต่างๆ เสนอต่อคณะกรรมการมรดกโลก ซึ่งจะมีการประชุมทุกๆ กลางปีตามประเทศภาคีต่างๆ ที่มี ความพร้อมสามารถรับเป็น ...

หน่วยงานใดเกี่ยวข้องกับการประกาศยกย่องสถานที่สำคัญให้เป็นมรดกโลก

องค์การยูเนสโกจึงได้ร่างอนุสัญญาว่าด้วยเรื่องมรดกโลกขึ้น เพื่อสร้างความร่วมมือในประเทศภาคีในการกำหนดมาตรการที่เหมาะสมทั้งด้านนโยบายการบริหารเทคนิค และการเงินเพื่อสงวน คุ้มครอง และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อมวลมนุษย์ชาติให้คงอยู่ต่อไป โดยได้เริ่มประกาศขึ้นทะเบียนสถานที่ที่เป็นมรดกโลกมาตั้งแต่ปี พ ...