ใบ งาน ที่ 3.6 ภูมิปัญญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทัย เฉลย

49

4.2 สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี นของโรงเรยี นมาตรฐานสากล (เฉพาะท่ีเกดิ ในแผนการจดั การเรียนรู้น)้ี
 1) เปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
 2) สอื่ สารได้อย่างนอ้ ย 2 ภาษา
 3) ล้ำหนา้ ทางความคิด
5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (  เฉพาะทเ่ี กดิ ในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี
 5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
 5.2 ซอ่ื สัตยส์ ุจริต (จดุ เนน้ รร.สจุ รติ )
 5.3 มวี ินัย (จุดเนน้ รร.สจุ รติ )
 5.4 ใฝ่เรยี นรู้
 5.5 อย่อู ยา่ งพอเพยี ง (จุดเนน้ รร.สุจริต)
 5.6 มงุ่ ม่ันในการทำงาน
 5.7 รักความเป็นไทย
 5.8 มีจติ สาธารณะ (จุดเนน้ รร.สุจริต)
6. ทักษะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C) (  เฉพาะที่เกิดในหนว่ ยการเรียนร้นู )ี้
 6.1 ทกั ษะการอ่าน (Reading)
 6.2 ทักษะการเขียน (Writing)
 6.3 ทกั ษะการคดิ คำนวณ (Arithmetic)
 6.4 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical and

problem solving)
 6.5 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation)
 6.6 ทกั ษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, teamwork
and leadership)
 6.7 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
 6.8 ทกั ษะด้าน การสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เทา่ ทนั สอื่ (Communication information and
media literacy)
 6.9 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing)
 6.10 ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)
 6.11 มีคณุ ธรรม มเี มตตา กรณุ า มีระเบียบวินยั (compassion)
7. การบูรณาการตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (เฉพาะท่ีเกิดในแผนการจัดการเรยี นรู้นี้)
 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา

 การมที ศั นคติทถี่ กู ต้องตอ่ บ้านเมอื ง (ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ )์
 การมีพื้นฐานชวี ิตท่ีม่ันคง

50

 การมีงาน มอี าชีพ
 การเปน็ พลเมอื งดี มีน้ำใจเอ้อื อาทร มจี ิตสาธารณะ
 บรู ณาการกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 หลกั ความพอประมาณ
 หลักความมีเหตุผล
 หลักการมีภมู คิ ุ้มกนั
 เงื่อนไขความรู้
 เง่ือนไขคุณธรรม
 บูรณาการกับการจัดการศึกษาเพอ่ื อาชีพ
 บรู ณาการกบั หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา
 การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
 ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจริต
 STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจรติ
 พลเมอื งกับความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
 บูรณาการข้ามกลมุ่ สาระการเรียนรู้
(ระบ)ุ …………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………….
 อน่ื ๆ (ระบุ)……………………………………………………………………..................................................

8. ช้นิ งาน/ภาระงาน
หนังสือเลม่ เล็ก เรือ่ ง พฒั นาการของอาณาจักรโบราณกอ่ นสมัยสุโขทัย

9. กจิ กรรมการเรยี นรู้
นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3

ช่วั โมงท่ี 1 เร่ือง เรือ่ งราวสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนไทย
วิธสี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
ขัน้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)

1. ครแู บ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แลว้ ให้แตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั วาดภาพ
เกี่ยวกบั มนษุ ยใ์ นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตามความเข้าใจของนกั เรียน พรอ้ มระบายสีให้สวยงาม (ครู
กำหนดเวลาตามความเหมาะสม)

2. ครูส่มุ นักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานำเสนอผลงานการวาดภาพทีห่ น้าช้ันเรียน พร้อมอธิบายเหตผุ ล
ประกอบ

3. ครเู ปิดวีดิทัศน์เกี่ยวกบั มนุษยใ์ นสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ หน้ กั เรยี นดู แล้วใหน้ ักเรยี นร่วมกันแสดง
ความคิดเหน็ วา่ มีความคลา้ ยคลึงหรือแตกตา่ งจากท่นี ักเรยี นคดิ ไว้หรือไม่ พรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลประกอบ

51

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)
นักเรียนแต่ละคนศึกษาความรู้เร่ือง หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ในประเทศไทย และ

การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภูมิ จากหนังสือเรียน และจากใบความรู้ เร่ือง สมัยก่อนประวัติศาสตร์ใน
ประเทศไทย
ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)

นกั เรียนแต่ละคนนำความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษามาอธิบายให้เพอ่ื นในกลุ่มฟัง ผลัดกนั ซักถามข้อสงสัยและ
อธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกนั
ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)

1. นกั เรยี นแต่ละคนทำใบงานท่ี 3.1 เรือ่ ง สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ในดินแดนไทย เม่อื ทำเสร็จแลว้
ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและเตมิ เต็มคำตอบให้สมบรู ณ์

2. นกั เรยี นแต่ละคนผลัดกันเล่าผลงานในใบงานที่ 3.1 ของตนใหเ้ พอ่ื นในกลุ่มฟงั ผลัดกันซักถามขอ้
สงสยั และหลอมรวมเป็นผลงานของกลมุ่
ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอผลงานในใบงานท่ี 3.1 หน้าชั้นเรียน ครแู ละเพอื่ นกลุม่ อน่ื ร่วมกัน
ตรวจสอบความถกู ต้อง

2. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความร้เู รอ่ื ง หลกั เกณฑใ์ นการแบง่ ยคุ สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ในประเทศไทย
และการขยายตัวของชุมชนในสวุ รรณภมู ิ

ชวั่ โมงที่ 2 เรอ่ื ง พฒั นาการของชมุ ชนโบราณในภาคตา่ ง ๆ ของไทย
วิธสี อนโดยการจัดการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ : เทคนคิ การตอ่ เรอื่ งราว (Jigsaw)
ขั้นท่ี 1 นำเข้าสู่บทเรียน

ครูนำภาพหลักฐานทางโบราณคดสี มัยกอ่ นประวัตศิ าสตรม์ าให้นักเรยี นดู แล้วให้นกั เรยี นตอบ
คำถามใบงานที่ 3.2
ข้ันท่ี 2 สอน

1. นกั เรียนกลุ่มเดิมกำหนดหมายเลขประจำตวั ให้สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ เป็นหมายเลข 1-4 ตามลำดับ
เรียกกลมุ่ นวี้ ่า กลมุ่ บ้าน แลว้ ใหน้ กั เรียนท่มี หี มายเลขเดยี วกันมารวมกนั เป็นกลุ่มใหม่ เรยี กกล่มุ นวี้ า่ กลมุ่
ผเู้ ชยี่ วชาญ

2. สมาชกิ ในกลุ่มผเู้ ชยี่ วชาญร่วมกนั ศกึ ษาความรู้เร่ือง พฒั นาการของชุมชนโบราณในภาคต่างๆ ของ
ไทย จากหนงั สือเรยี น ในหวั ขอ้ ทีก่ ำหนดให้ ดงั นี้

- กลุ่มหมายเลข 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง พัฒนาการของชุมชนโบราณบรเิ วณภาคกลาง
- กลุม่ หมายเลข 2 ศกึ ษาความรเู้ รื่อง พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคเหนอื
- กลุ่มหมายเลข 3 ศกึ ษาความรู้เรื่อง พัฒนาการของชมุ ชนโบราณบรเิ วณภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
- กล่มุ หมายเลข 4 ศกึ ษาความรู้เร่อื ง พัฒนาการของชุมชนโบราณบรเิ วณภาคใต้

52

แล้วร่วมกันสรปุ สาระสำคญั
3. นักเรยี นกลุม่ ผู้เชย่ี วชาญแยกย้ายกันกลบั เขา้ สู่กลมุ่ เดมิ หรอื กลุม่ บ้าน แลว้ นำความรู้ที่ได้จาก
การศึกษา มาเล่าให้เพื่อนในกลุม่ บ้านฟัง เรยี งตามลำดับหมายเลข 1-4 ผลัดกันซกั ถามข้อสงสัยและอธิบายจน
ทุกคน มีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน
4. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ช่วยกนั ทำใบงานท่ี 3.2 เรื่อง พฒั นาการของชุมชนโบราณในภาคต่างๆ ของ
ไทย เสร็จแล้วชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
5. ครูและนกั เรียนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.2
ขน้ั ท่ี 3 สรุป
นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันสรปุ ความรเู้ รือ่ ง พฒั นาการของชมุ ชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย

ชั่วโมงที่ 3 เร่ือง การสร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาของมนษุ ยก์ อ่ นประวัตศิ าสตร์ในดินแดนประเทศไทย
วธิ สี อนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบรว่ มมือ : เทคนคิ ค่คู ดิ สี่สหาย
ข้นั ท่ี 1 นำเขา้ สู่บทเรยี น

1. ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ยกตัวอยา่ งภูมิปญั ญาในทอ้ งถิ่นท่ีนกั เรยี นชืน่ ชอบ พรอ้ มบอกเหตผุ ล
2. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภิปรายเก่ยี วกับปจั จัยสำคัญในการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา ครูคอยกระตนุ้ ให้
นกั เรียนทุกคนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื นำเข้าสูบ่ ทเรียน
ขน้ั ท่ี 2 สอน
1. ครใู ห้นกั เรียนกลุ่มเดิมจับคู่กนั เปน็ 2 คู่ ให้แตล่ ะครู่ ว่ มกนั ศกึ ษาความรูเ้ รือ่ ง การสร้างสรรคภ์ ูมิปญั ญา
ของมนุษย์กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนประเทศไทย จากหนังสอื เรยี น
2. นักเรียนแตล่ ะคู่นำความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการศึกษามาเปน็ พื้นฐานในการทำใบงานที่ 3.3 เร่ือง การ
สร้างสรรคภ์ ูมิปัญญาของมนุษยก์ ่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทย
3. นกั เรียนแต่ละคู่รวมกลุ่มเดิม (4 คน) ผลัดกันนำความร้ทู ่ไี ด้จากการศกึ ษาและการทำใบงานท่ี 3.3 มา
เลา่ ใหเ้ พื่อนอกี คูห่ นึง่ ฟงั ผลดั กันซกั ถามขอ้ สงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกนั
4. ครูอธบิ ายความรูเ้ ก่ยี วกบั การสรา้ งสรรค์ภูมิปัญญาของมนษุ ยก์ อ่ นประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนประเทศ
ไทย ใหน้ ักเรียนฟงั เพิม่ เตมิ เพื่อใหน้ ักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจชัดเจนมากยงิ่ ข้นึ
5. ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั เฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.3

ขน้ั ท่ี 3 สรุป
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ความรู้เรือ่ ง การสร้างสรรค์ภมู ิปญั ญาของมนุษย์กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ใน

ดินแดนประเทศไทย

ชวั่ โมงที่ 4 เร่ือง พฒั นาการจากชุมชนมาสรู่ ฐั โบราณ
วิธสี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)

53

ครูให้นักเรยี นดภู าพตวั อยา่ งหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ แลว้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสนทนาเก่ยี วกับ
ตัวอยา่ งหลกั ฐานดังกล่าว
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจค้นหา (Explore)

นกั เรียนกลุม่ เดิมจบั คกู่ ันเปน็ 2 คู่ ให้แตล่ ะครู่ ่วมกันศกึ ษาความรูเ้ รื่อง พฒั นาการจากชุมชนมาสู่รัฐ
โบราณจากหนังสอื เรียน
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. นักเรยี นแต่ละคูร่ วมกลุ่มเดิม (4 คน) ผลดั กนั นำความร้ทู ่ีได้จากการศึกษามาอธิบายใหเ้ พื่อนอีกคู่หน่ึง
ภายในกลุ่มฟัง ผลดั กนั ซกั ถามข้อสงสัยและอธบิ ายจนทกุ คนมคี วามเข้าใจตรงกัน

2. ครูอธบิ ายความรู้เกย่ี วกบั พฒั นาการของชุมชนโบราณในดา้ นตา่ งๆ ให้นกั เรียนฟังเพ่ิมเติม เพ่ือให้
นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
ขน้ั ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)

นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั ทำใบงานที่ 3.4 เรือ่ ง พัฒนาการจากชุมชนมาสู่รัฐโบราณ เม่อื ทำเสรจ็ แล้ว
ใหช้ ่วยกันตรวจสอบความถูกต้องและเตมิ เตม็ คำตอบให้สมบูรณ์
ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั เฉลยคำตอบในใบงานที่ 3.4
2. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปความรเู้ รอ่ื ง พฒั นาการจากชมุ ชนโบราณมาสู่รฐั โบราณ

ช่วั โมงที่ 5 – 6 เรือ่ ง รัฐโบราณและรัฐไทยในดนิ แดนไทย
วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E)
ข้นั ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage)

1. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมาจับสลากบัตรคำเกยี่ วกบั พฒั นาการของชุมชนมาส่รู ฐั
โบราณในดินแดนไทย

2. สมาชิกในแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันอภปิ รายความรู้เก่ยี วกับบตั รคำที่จบั สลากไดว้ า่ มีลักษณะและมี
ความสำคญั อย่างไร

3. ครสู ุ่มนกั เรียนแต่ละกลุ่มให้บอกลักษณะและความสำคญั ของบตั รคำท่จี ับสลากได้
ขนั้ ที่ 2 สำรวจคน้ หา (Explore)

1. นกั เรียนกลมุ่ เดิมกำหนดหมายเลขประจำตวั ให้สมาชิกแต่ละคนในกลมุ่ เปน็ หมายเลข 1-4 ตามลำดบั
เรียกกลุ่มนวี้ ่า กล่มุ บ้าน แล้วให้นักเรียนทมี่ หี มายเลขเดยี วกันมารวมกันเป็นกลมุ่ ใหม่ เรียกกลมุ่ นี้ว่า กลุม่
ผเู้ ช่ยี วชาญ

2. นกั เรยี นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญร่วมกนั ศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง รัฐโบราณและรัฐไทยในดนิ แดนไทย จากหนังสือ
เรยี น ในหวั ข้อ ท่ีกำหนดให้ ดงั นี้

- กลมุ่ หมายเลข 1 ศึกษาความรเู้ รือ่ ง พฒั นาการของอาณาจักรโบราณในภาคกลาง
- กลุ่มหมายเลข 2 ศึกษาความรเู้ รื่อง พัฒนาการของอาณาจกั รโบราณในภาคเหนือ
- กลุม่ หมายเลข 3 ศกึ ษาความร้เู รอ่ื ง พัฒนาการของอาณาจักรโบราณในภาคใต้

54

- กลมุ่ หมายเลข 4 ศึกษาความรูเ้ ร่ือง พัฒนาการของอาณาจกั รโบราณในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain)

1. นกั เรียนกลมุ่ ผูเ้ ชีย่ วชาญกลับเขา้ สู่กล่มุ เดมิ หรือกล่มุ บ้าน ผลัดกนั นำความรทู้ ีไ่ ด้จากการศึกษามา
อธบิ ายให้เพ่อื นในกลมุ่ ฟงั เรียงตามลำดับหมายเลข 1-4 ผลัดกันซกั ถามขอ้ สงสยั และอธิบายจนทกุ คนมคี วาม
เขา้ ใจชดั เจนตรงกัน

2. ครูอธบิ ายความรูเ้ กีย่ วกบั พัฒนาการของอาณาจกั รโบราณในดินแดนไทย ให้นกั เรยี นฟงั เพ่ิมเติม
ข้นั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand)

นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นำความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการศึกษามาเปน็ พน้ื ฐานในการทำใบงานที่ 3.5 เรื่อง พฒั นาการ
ของอาณาจกั รโบราณในดนิ แดนไทย เมอ่ื ทำเสรจ็ แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง หากมขี อ้ บกพร่องใหช้ ่วยกัน
แกไ้ ขและเติมเตม็ คำตอบใหส้ มบูรณ์
ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำเสนอผลงานในใบงานท่ี 3.5 หน้าชน้ั เรียน ครแู ละเพื่อนกลมุ่ อน่ื ร่วมกนั
ตรวจสอบความถูกต้องและใหข้ อ้ เสนอแนะ

2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรเู้ รื่อง รัฐโบราณและรัฐไทยในดนิ แดนไทย

ชว่ั โมงท่ี 7 เรื่อง การสรา้ งสรรค์ภูมปิ ญั ญาของอาณาจกั รโบราณกอ่ นสมยั สโุ ขทัย
วธิ สี อนแบบ กระบวนการกลุ่มสมั พันธ์
ขน้ั ที่ 1 นำเขา้ ส่บู ทเรยี น

ครูและนักเรียนรว่ มกันสนทนาเก่ยี วกับภมู ิปญั ญาของคนในอาณาจกั รโบราณกอ่ นสมัยสุโขทัยว่า
มคี วามสำคญั ต่อการศกึ ษาประวัติศาสตร์สโุ ขทัยและประวัตศิ าสตรไ์ ทยอยา่ งไร
ขัน้ ที่ 2 จดั การเรยี นรู้

1. นกั เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรอื่ ง การสรา้ งสรรค์ภูมิปัญญาของอาณาจกั รโบราณก่อนสมัย
สุโขทัย จากหนงั สือเรยี น ในหัวข้อทีก่ ำหนด จากน้ันร่วมกนั สรปุ สาระสำคัญ

2. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ทำใบงานที่ 3.6 เรือ่ ง ภูมิปัญญาของอาณาจกั รโบราณก่อนสมัยสโุ ขทยั
แลว้ ช่วยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งของใบงาน หากมีข้อบกพรอ่ งให้ช่วยกนั แก้ไขและเติมเต็มคำตอบใหส้ มบรู ณ์

3. ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานในใบงานท่ี 3.6 หน้าช้นั เรยี น ครูและเพือ่ นกลุม่ อ่ืน
ร่วมกันตรวจสอบความถูกตอ้ งและให้ขอ้ เสนอแนะ
ข้นั ที่ 3 สรุปและนำหลกั การไปประยกุ ต์ใช้

1. สมาชกิ ในแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันสรุปความรูเ้ รือ่ ง การสร้างสรรคภ์ ูมิปญั ญาของอาณาจกั รโบราณก่อนสมัย
สโุ ขทยั

2. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นำความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการศกึ ษาภมู ิปญั ญาของอาณาจักร
โบราณของประเทศในกลมุ่ อาเซียน แลว้ นำผลการศึกษามาเล่าสกู่ นั ฟงั (นอกเวลาเรยี น)

55

ข้ันท่ี 4 วดั และประเมนิ ผล
ครูวัดและประเมนิ ผลนักเรยี นจากการทำใบงานท่ี 3.6
*ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันทำหนังสือเลม่ เลก็ เรอื่ ง พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณ

กอ่ นสมัยสุโขทัย โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามทีก่ ำหนด
นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3

10. การวัดและประเมนิ ผล
10.1 การประเมนิ กอ่ นเรยี น
1) แบบทดสอบก่อนการเรยี น
10.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
1) ตรวจใบงานที่ 3.1 เรือ่ ง สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนไทย
2) ตรวจใบงานที่ 3.2 เรอ่ื ง พัฒนาการของชุมชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย
3) ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง การสร้างสรรค์ภมู ิปัญญาของมนุษยก์ ่อนประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดน

ประเทศไทย
4) ตรวจใบงานท่ี 3.4 เรอื่ ง พฒั นาการจากชุมชนมาสรู่ ฐั โบราณ
5) ตรวจใบงานท่ี 3.5 เรอื่ ง พฒั นาการของอาณาจกั รโบราณในดนิ แดนไทย
6) ตรวจใบงานที่ 3.6 เรื่อง ภมู ปิ ญั ญาของอาณาจักรโบราณก่อนสมัยสุโขทยั

10.3 การประเมินหลงั เรียน
1) แบบทดสอบหลังการเรยี น

10.4 การประเมนิ ชน้ิ งาน /ภาระงาน (รวบยอด)
1) ใบงาน
2) ตรวจหนังสอื เลม่ เลก็ เร่อื ง พัฒนาการของอาณาจักรโบราณกอ่ นสมัยสโุ ขทัย

11. ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งเรยี นรู้
11.1 สื่อการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียน ประวัติศาสตร์ ม.1
2) ใบความรู้ เร่อื ง สมัยก่อนประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย
3) วีดิทศั น์
4) บตั รคำ บัตรภาพ
5) กระดาษขนาด A4
6) สไี มห้ รอื สเี มจิก
7) ใบงาน
11.2 สื่อการเรียนรู้
1) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
2) ห้องสมุด

56

การประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินรายงานการสืบค้นเหตุการณท์ างประวัตศิ าสตร์ไทยท่สี นใจ

รายการประเมนิ คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ/ ระดับคะแนน

ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)

1.การอธบิ าย อธบิ ายพัฒนาการ อธบิ ายพัฒนาการ อธิบายพัฒนาการของ อธิบายพฒั นาการของ
ของชมุ ชนโบราณใน ชุมชนโบราณในภาค ชมุ ชนโบราณในภาคต่างๆ
พฒั นาการของชุมชน ของชุมชนโบราณใน ภาคต่างๆ ของไทย ต่างๆ ของไทยได้ ของไทยได้ถกู ตอ้ ง
โบราณในภาคต่างๆ ภาคตา่ งๆ ของไทย ไดถ้ ูกต้อง ละเอียด ถกู ต้อง ละเอยี ด ละเอยี ด ชดั เจน 1 ภาค
ได้ถกู ต้อง ละเอียด ชดั เจน 3 ภาค ชดั เจน 2 ภาค
ของไทย ชัดเจน ทง้ั 4 ภาค

2. การอธิบายการ อธบิ ายการ อธบิ ายการ อธบิ ายการสรา้ งสรรค์ อธิบายการสรา้ งสรรคภ์ มู ิ

สรา้ งสรรค์ ภมู -ิ สรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญา สร้างสรรคภ์ มู ปิ ญั ญา ภมู ปิ ัญญาของมนษุ ย์ ปัญญาของมนุษยก์ ่อน

ปญั ญาของมนษุ ย์ ของมนุษย์กอ่ น ของมนุษยก์ ่อน ก่อนประวัติศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ ใน

กอ่ นประวัตศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ในดินแดนไทยได้ ดินแดนไทยไดถ้ กู ต้องเปน็

ในดนิ แดนไทย ในดนิ แดนไทยได้ ในดินแดนไทยได้ ถูกต้อง ชดั เจน บางสว่ น แตไ่ มช่ ัดเจน

ถกู ต้อง ละเอียด ถูกตอ้ ง ชดั เจน เป็นบางส่วน

ชดั เจน ทุกประเด็น เป็นส่วนใหญ่

3. การอธิบาย อธิบายพฒั นาการ อธิบายพัฒนาการ อธบิ ายพัฒนาการของ อธิบายพฒั นาการของ

พัฒนาการของ ของอาณาจักร ของอาณาจักร อาณาจักรโบราณ อาณาจักรโบราณก่อน

อาณาจกั รโบราณ โบราณก่อนสมัย โบราณก่อนสมยั ก่อนสมัยสุโขทยั ได้ สมยั สุโขทยั ได้ถูกตอ้ ง

ก่อนสมยั สโุ ขทยั สโุ ขทัยไดถ้ กู ตอ้ ง สโุ ขทยั ได้ถูกต้อง ถูกตอ้ ง ละเอียด ละเอียด ชัดเจน 1-2
ละเอยี ด ชดั เจน 8- ละเอยี ด ชัดเจน 5-7 ชดั เจน 3-4อาณาจักร อาณาจักร
10 อาณาจกั ร อาณาจักร

4. การอธบิ ายการ อธิบายการ อธบิ ายการสรา้ งสรรค์ อธิบายการสร้างสรรค์ อธบิ ายการสร้างสรรคภ์ มู ิ
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรคภ์ มู ิปญั ญา ปญั ญาของอาณาจักร
ภูมปิ ญั ญาของ ของอาณาจกั ร ภูมปิ ญั ญาของ ภมู ิปัญญาของ โบราณ ก่อนสมยั
อาณาจักรโบราณ โบราณ ก่อนสมยั สโุ ขทยั ได้ถกู ตอ้ งเป็น
กอ่ นสมัยสโุ ขทัย สุโขทยั ได้ถูกตอ้ ง อาณาจักรโบราณ อาณาจักรโบราณ บางส่วน แต่ไม่ชดั เจน
ละเอยี ด ชดั เจน
ทกุ ประเดน็ ก่อนสมยั สโุ ขทยั ได้ ก่อนสมยั สโุ ขทัยได้

ถูกต้อง ชัดเจน ถกู ต้อง ชดั เจน

เปน็ ส่วนใหญ่ เป็นบางส่วน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ต่ำกวา่ 8
ระดบั คุณภาพ ดมี าก ปรับปรุง
ดี พอใช้

57

แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3

คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ส่งิ ที่ใช้เปน็ เกณฑใ์ นการแบง่ ยุคสมัยเปน็ ยคุ ก่อน 6. อาณาจักรตามพรลิงค์มีศูนย์กลางอย่ทู ่ีใด

และหลงั ประวตั ศิ าสตร์ คือสงิ่ ใด ก. ปตั ตานี

ก. เครอื่ งมือเคร่อื งใช้ ข. สุราษฎร์ธานี

ข. การประดิษฐต์ วั อักษร ค. นครศรีธรรมราช

ค. อายุของโครงกระดกู ท่พี บ ง. เมอื งปาเล็มบัง ประเทศอนิ โดนเี ซีย

ง. การเร่มิ รับวัฒนธรรมจากอนิ เดีย 7. อาณาจกั รใดที่มีหลักฐานและบนั ทกึ อันแน่นอนท่ี

2. คำว่า “สวุ รรณภูม”ิ หมายถึงดินแดนใด แสดงถงึ การตั้งอาณาจกั รในแผ่นดินไทย

ก. ดินแดนทร่ี ่ำรวย ก. โยนกเชียงแสน ข. ทวารวดี

ข. ดนิ แดนท่ีมคี วามสงบ ค. อศี านปรุ ะ ง. ละโว้

ค. ดนิ แดนทมี่ ีประชากรมาก 8. จากบนั ทกึ ของจีนทเ่ี รียกอาณาจกั รหน่งึ ว่า “โถ-

ง. ดนิ แดนที่มีความอดุ มสมบรู ณ์ โล-โป-ต”ี้ หมายถงึ อาณาจกั รใด

3. เครอื่ งมือหนิ กะเทาะ เปน็ เครอื่ งมอื ของมนษุ ย์ยุค ก. ละโว้ ข. ลังกาสกุ ะ

ใด ค. ทวารวดี ง. โยนกเชยี งแสน

ก. ยคุ หนิ เกา่ ข. ยคุ หนิ กลาง 9. จากจดหมายเหตุจนี “เมอื งหลอหู” คอื อาณาจักร

ค. ยคุ หนิ ใหม่ ง. ยคุ สำริด ใด

4. ชุมชนโบราณของไทยแหง่ ใดที่ได้รบั การประกาศ ก. ละโว้ ข. ทวารวดี

ให้เปน็ “มรดกโลก” ค. โคตรบูรณ์ ง. โยนกเชียงแสน

ก. ถำ้ ผี จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 10. หลกั ฐานสำคญั ท่ีแสดงวา่ อาณาจกั รโบราณใน

ข. คลองท่อม จงั หวดั กระบี่ ดนิ แดนภาคใต้ของประเทศไทยนับถือ

ค. บ้านเชียง จงั หวัดอุดรธานี พระพุทธศาสนานิกายมหายาน คือสง่ิ ใด

ง. บ้านเกา่ จงั หวัดกาญจนบรุ ี ก. เสมาหิน

5. เรือ่ งราวของอาณาจกั รหรภิ ุญชยั สว่ นใหญ่ ข. ธรรมจักร

เกีย่ วข้อง กับใคร ค. ปราสาทหิน

ก. ฤๅษวี าสเุ ทพ ข. พระนางจามเทวี ง. พระโพธสิ ัตว์อวโลกิเตศวร

ค. พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 7 ง. พ่อขุนศรอี ินทรา

ทติ ย์

58

แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3

คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. จากบนั ทึกของจีนทีเ่ รยี กอาณาจกั รหน่ึงว่า “โถ- 6. อาณาจกั รใดท่ีมหี ลักฐานและบนั ทึกอนั แนน่ อนที่

โล-โป-ตี”้ หมายถึงอาณาจักรใด แสดงถงึ การตง้ั อาณาจักรในแผน่ ดนิ ไทย

ก. ลงั กาสกุ ะ ข. ละโว้ ก. ละโว้ ข. อีศานปรุ ะ

ค. ทวารวดี ง. โยนกเชยี งแสน ค. ทวารวดี ง. โยนกเชียงแสน

2. อาณาจกั รตามพรลิงค์มีศนู ยก์ ลางอยู่ท่ใี ด 7. ชมุ ชนโบราณของไทยแห่งใดท่ีได้รับการประกาศ

ก. เมืองปาเล็มบงั ประเทศอนิ โดนีเซยี ใหเ้ ปน็ “มรดกโลก”

ข. นครศรธี รรมราช ก. บา้ นเกา่ จงั หวดั กาญจนบุรี

ค. สุราษฎร์ธานี ข. บา้ นเชียง จังหวัดอดุ รธานี

ง. ปตั ตานี ค. ถำ้ ผี จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน

3. เร่ืองราวของอาณาจกั รหรภิ ุญชัยส่วนใหญ่ ง. คลองท่อม จงั หวัดกระบ่ี

เกย่ี วขอ้ งกับใคร 8. สง่ิ ทใี่ ชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการแบ่งยคุ สมยั เปน็ ยคุ ก่อน

ก. พ่อขุนศรอี ินทราทิตย์ และหลังประวัติศาสตร์ คือสิ่งใด

ข. พระเจา้ ชยั วรมนั ท่ี 7 ก. การเรม่ิ รบั วัฒนธรรมจากอินเดีย

ค. พระนางจามเทวี ข. อายขุ องโครงกระดกู ทพี่ บ

ง. ฤๅษีวาสุเทพ ค. การประดิษฐ์ตัวอกั ษร

4. จากจดหมายเหตุจนี “เมอื งหลอหู” คอื อาณาจักร ง. เครอื่ งมือเคร่อื งใช้

ใด 9. เคร่อื งมือหินกะเทาะ เปน็ เคร่ืองมอื ของมนษุ ยย์ คุ

ก. โยนกเชียงแสน ข. ทวารวดี ใด

ค. โคตรบูรณ์ ง. ละโว้ ก. ยุคสำรดิ ข. ยุคหินใหม่

5. หลกั ฐานสำคัญทแี่ สดงวา่ อาณาจกั รโบราณใน ค. ยุคหนิ เก่า ง. ยุคหินกลาง

ดนิ แดนภาคใต้ของประเทศไทยนับถอื 10. คำวา่ “สวุ รรณภมู ิ” หมายถึงดนิ แดนใด

พระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน คือสงิ่ ใด ก. ดินแดนที่มคี วามอุดมสมบรู ณ์

ก. พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกิเตศวร ข. ดนิ แดนทีม่ ปี ระชากรมาก

ข. ปราสาทหนิ ค. ดินแดนท่ีมคี วามสงบ

ค. ธรรมจักร ง. ดนิ แดนท่ีรำ่ รวย

ง. เสมาหิน

59

ใบความรู้

สมยั ก่อนประวัตศิ าสตร์ในประเทศไทย

นักโบราณคดีชาวตะวันตกและชาวไทย ดังเช่น ดร.แวน ฮิกเกอเรน นายแพทย์สุด แสงวิเชียร และ
ศาสตราจารย์ชิน อย่ดู ี ไดแ้ บ่งสมัยประวัตศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทยไว้ 4 ยุค
1. ยคุ หินเก่า

ร่องรอยของมนุษย์หินเก่าในประเทศไทยพบค่อนข้างน้อย โดยหลังสงครามโลกร้ังที่ 2 พบเครื่องมือหิน
ที่สถานีบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี โดยดร. แวน ฮิกเกอเรน นักโบราณคดีชาวฮอลันดาซ่ึงขณะน้ันเป็นเชลย
ศึกของญ่ีปุ่น ถูกเกณฑ์มาสร้างทางรถไฟสายกาญจนบุรี-มะละแหม่ง เมื่อสงครามสงบลงเขาได้ส่งเคร่ืองมือ
หินเหล่าน้ันไปตรวจสอบ ที่พิพิธภัณฑ์พีบอด้ี มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด พบว่าเป็นเครื่องมือกรวดกะเทาะหน้า
เดียว 6 ก้อน และขวานหินขัดสมัยใหม่ 2 ก้อน จึงเป็นหลักฐานยืนยันว่ามีมนุษย์ท่ีใช้เครื่องมือหินเก่าอาศัย
อยูใ่ นดนิ แดนทเี่ ป็นประเทศไทยปัจจุบนั และยังพบเครื่องมือหนิ เกา่ ทีอ่ ำเภอเชียงแสน จงั หวดั เชียงรายด้วย
2. ยุคหนิ กลาง

จากการขุดค้นทางโบราณคดีของคณะสำรวจก่อนประวัติศาสตร์ไทย-เดนมาร์ก ที่ถ้ำพระ ตำบลไทร
โยค อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เม่ือ พ.ศ. 2504 ได้พบร่องรอยของมนุษย์โบราณยุคหินกลางใน
ประเทศไทย ดังพบ โครงกระดูกมนษุ ย์ เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะทำด้วยหินกรวดท่ีมีความประณีต (นอกจาก
ทก่ี าญจนบุรแี ล้ว ยังพบเครื่องมอื หินกะเทาะที่จงั หวัดอื่นๆ อีก เชน่ แมฮ่ ่องสอน เชียงใหม่ สระบุรี) กระดูก
สตั ว์ เปลือกหอยกาบ เศษเครอื่ งปนั้ ดนิ เผา เป็นตน้ สำหรับชีวิตความเปน็ อยขู่ องมนุษยย์ ุคนีม้ กั อาศยั อยูใ่ น
ถำ้ หรือตามเพิงผา ยงั คงลา่ สตั วแ์ ละเกบ็ ผลไมเ้ หมือนกบั มนุษย์ยคุ หนิ เก่า เม่ือพจิ ารณาอายุโดยประมาณของ
ยคุ หนิ กลางในประเทศไทยนา่ จะอยรู่ ะหว่าง 10,000 ถงึ 30,000 ปีก่อน ค.ศ.
3. ยุคหินใหม่

จากการขุดค้นของคณะสำรวจก่อนประวัติศาสตร์ไทย-เดนมาร์กท่ีบ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี ได้พบ
โครงกระดูกมนุษย์ยคุ หนิ ใหม่กวา่ 50 โครง (นอกจากทีก่ าญจนบุรีแลว้ ยังมีการพบโครงกระดกู มนษุ ย์ยุคหิน
ใหม่ท่จี งั หวัดอ่นื ด้วย เช่น ราชบุรี นครสวรรค์ ลพบุรี) เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำดว้ ยหิน ท่ีเรียกวา่ ขวานหินขัด
หรอื ขวานฟา้ ชาวบ้านเชื่อวา่ เป็นขวานศักด์ิสิทธิ์ ท่ีตกลงมาจากฟา้ ขณะทีฟ่ ้าแลบหรือฟา้ ผา่ มีอายุประมาณ
4,000 ปี นอกจากนี้ยังพบเคร่อื งมือ ทท่ี ำด้วยกระดูก เปลอื กหอย

นักโบราณคดีสันนิษฐานว่ามนุษย์ยุคหินใหม่ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก รู้จักทำเครื่องประดับจาก
เปลอื กหอย ลกู ปัด กำไลหิน-กระดกู มีการฝงั ศพผตู้ ายในทา่ นอนหงาย แขนแนบลำตัว วางเครื่องปั้นดินเผา
ไว้เหนือศรี ษะ ปลายเทา้ และบริเวณเขา่ นอกจากนัน้ ยังใส่สิง่ ของเครือ่ งใช้ และเคร่ืองประดบั ในหลมุ ฝัง
ศพด้วย

60

4. ยุคโลหะ
นกั โบราณคดขี ุดพบโครงกระดกู มนษุ ยแ์ ละเครื่องมอื ที่ทำด้วยสำริดทบ่ี า้ นนาดี ตำบลโนนนกทา อำเภอ

ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น มีอายุประมาณ 4,475 – 4,075 ปีมาแล้ว เก่ากว่ายุคสำริดท่ีพบที่ดองซอน
ประเทศเวยี ดนาม

แหล่งท่ีพบเครื่องมือสำริดอีกแห่งหน่ึง คือ ท่ีตำบลบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี นัก
โบราณคดี พบทั้งเคร่อื งมือสำรดิ เครื่องมอื เหลก็ เครื่องประดับสำริด เคร่ืองป้ันดินเผารูปทรงแปลกตา และ
มีลายเขียนด้วยสีแดงเปน็ ลายต่างๆ เครอ่ื งประดบั ทำด้วยแกว้ สีเขียว นกั โบราณคดีสนั นิษฐานว่า วัฒนธรรม
บ้านเชยี งมีอายปุ ระมาณ 5,000 - 7,000 ปมี าแล้ว

นอกจากน้ีนักวิชาการยังได้แบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตามลักษณะเศรษฐกิจและสังคมโดยแบ่ง
ออกเปน็ 3 กลุม่ คอื

1. สงั คมนายพราน เปน็ ยุคที่มนษุ ยด์ ำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ จบั สัตวน์ ำ้ เกบ็ อาหารที่ไดจ้ ากธรรมชาติ
ยงั ไม่ได้ตั้งบา้ นเรือนทีอ่ ยู่อาศัยถาวร มักอพยพตามฝูงสตั ว์

2. สังคมเกษตรกรรม เป็นยุคทมี่ นษุ ย์รู้จักการเพราะปลูกและเล้ียงสัตว์ ยังคงมีการล่าสัตว์ จับสัตว์น้ำ
และเก็บอาหารที่ได้จากธรรมชาติ มักจะตั้งบ้านเรือนถาวรบนพื้นท่ีท่ีเหมาะสมแก่การเกษตรกรรม มีการ
รวมกลุม่ เปน็ หมู่บา้ น เป็นเมอื ง มกี ารแลกเปลย่ี นผลผลิต และมรี ะบบการปกครองในสังคม

3. สงั คมเมอื ง เป็นสงั คมที่มผี ้คู นอาศยั อยูร่ วมกันเป็นจำนวนมาก มีการสร้างระเบียบกฎเกณฑ์รว่ มกัน
มกี ารจดั ระเบยี บการปกครอง ประชากรมีการแบง่ งานกันทำตามอาชีพ ตามความสามารถและความถนัด

61

ใบงานที่ 3.1
สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ในดนิ แดนไทย

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามท่ีกำหนดให้ถูกต้อง

1. หลักฐานใดท่แี สดงว่า ดนิ แดนประเทศไทยในปจั จุบันมมี นุษย์อาศยั อยูม่ านาน
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. นกั โบราณคดีใชห้ ลักเกณฑ์ใดในการแบง่ ยคุ สมัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนไทย
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. การดำรงชีวิตของมนษุ ย์สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นดินแดนไทยมีลักษณะอย่างไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ปจั จัยใดทท่ี ำให้เกิดชุมชนในสวุ รรณภูมิ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

5. เพราะเหตใุ ด เราจึงตอ้ งศกึ ษาพฒั นาการของชมุ ชนโบราณก่อนประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนไทย
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

62

บตั รภาพ

ภาพภาชนะดนิ เผาสามขา พบทบ่ี ้านเก่า ภาพโครงกระดกู มนุษย์ พบท่บี า้ นโคกพนมดี
จ. กาญจนบุรี จ. ชลบุรี

ภาพกำไลสำริด พบทบี่ า้ นยางทองใต้ ภาพเครือ่ งป้นั ดินเผาเขยี นสแี ดง
จ. เชยี งใหม่ พบที่บา้ นเชียง จ. อดุ รธานี

ภาพขวานสำริด พบท่ีบา้ นเชียง จ. อุดรธานี ภาพกลองมโหระทึก
พบท่ีวัดตลง่ิ พงั (ครี ีวงการาม) จ. สุราษฎร์ธานี

ทีม่ า : ณรงค์ พ่วงพิศ และวุฒิชยั มูลศลิ ป์. 2552. หนังสือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ประวัติศาสตร์ ม.1. พิมพ์คร้ังท่ี 9.
กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น์.

63

ใบงานท่ี 3.2
พัฒนาการของชมุ ชนโบราณในภาคต่างๆ ของไทย

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนยกตวั อย่างหลกั ฐานทางโบราณคดีทแ่ี สดงให้เห็นพัฒนาการของชุมชนโบราณในภาค
ต่างๆ ของไทย พร้อมระบแุ หลง่ ที่พบ

หลักฐานทางโบราณคดที ่ีแสดงใหเ้ ห็นพฒั นาการของชมุ ชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย

ชมุ ชนยคุ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคใต้
ยุคหนิ เก่า
ยุคหินกลาง เครือ่ งมือหนิ ขุด สบั ตดั เครื่องมอื หินกะเทาะ เครื่องมือหินกะเทาะ เครอ่ื งขดุ
ยคุ หินใหม่ ขวานหิน พบที่ พบทีถ่ ้าผแี มน เครอ่ื งขดุ สบั ตัด เครอ่ื งมอื สบั ตัด และ
ยุคสำรดิ ขวานหิน พบท่ี จ.แม่ฮ่องสอน พบท่ี อ.เชียงคาน จ.เลย ที่พำนักอาศยั ของมนษุ ย์
ยคุ เหลก็ ถ้ำเขาทะลุ ถำ้ เมน่ อ.ดอนตาล จ.มกุ ดาหาร พบท่ถี ้ำหลงั โรงเรยี น

อ.บ้านเกา่ จ.กาญจนบุรี เครอ่ื งมอื หินกะเทาะ เครอ่ื งขดุ
เครอ่ื งมอื หนิ ขดุ สับ ตัด เครื่องมือหินกะเทาะ

ขวานหิน พบที่ พบทถ่ี ้าผแี มน เครื่องขดุ สบั ตดั เคร่ืองมือสบั ตดั และ
ขวานหิน พบที่ จ.แมฮ่ อ่ งสอน
ถ้ำเขาทะลุ ถ้ำเมน่ พบที่ อ.เชียงคาน จ.เลย ที่พำนักอาศยั ของมนษุ ย์
อ.บา้ นเกา่ จ.กาญจนบุรี
อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบทถ่ี ำ้ หลังโรงเรยี น

เครื่องมือหินขุด สับ ตัด เครื่องมอื หินกะเทาะ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ เครอ่ื งขดุ
ขวานหิน พบท่ี พบทถ่ี า้ ผีแมน เครอ่ื งขดุ สับ ตัด เคร่ืองมอื สบั ตัด และ
ขวานหิน พบที่ จ.แมฮ่ ่องสอน พบที่ อ.เชยี งคาน จ.เลย ทีพ่ ำนกั อาศัยของมนุษย์
ถ้ำเขาทะลุ ถำ้ เม่น อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบที่ถ้ำหลังโรงเรียน
อ.บา้ นเกา่ จ.กาญจนบุรี

เครอ่ื งมือหินขุด สบั ตดั เคร่ืองมอื หินกะเทาะ เครอื่ งมือหนิ กะเทาะ เคร่อื งขุด
ขวานหิน พบที่ พบท่ีถ้าผีแมน เครอื่ งขุด สบั ตดั เครื่องมอื สบั ตดั และ
ขวานหิน พบที่ จ.แม่ฮ่องสอน พบที่ อ.เชียงคาน จ.เลย ท่ีพำนักอาศยั ของมนุษย์
ถำ้ เขาทะลุ ถ้ำเม่น อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบที่ถ้ำหลังโรงเรียน
อ.บา้ นเก่า จ.กาญจนบุรี

เครอ่ื งมอื หนิ ขดุ สับ ตัด เครอ่ื งมือหินกะเทาะ เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ เครอ่ื งขดุ
ขวานหิน พบท่ี พบที่ถ้าผีแมน เครื่องขุด สบั ตัด เครือ่ งมอื สับ ตัด และ
ขวานหิน พบที่ จ.แม่ฮ่องสอน พบที่ อ.เชยี งคาน จ.เลย ทีพ่ ำนักอาศยั ของมนษุ ย์
ถำ้ เขาทะลุ ถ้ำเมน่ อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบทถี่ ้ำหลงั โรงเรยี น

อ.บา้ นเก่า จ.กาญจนบุรี

64

ใบงานท่ี 3.3
การสร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทย

คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

1. ปัจจยั ใดบา้ งท่ีมีอิทธิพลตอ่ การสรา้ งสรรค์ภูมิปัญญาของมนษุ ย์ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนประเทศ
ไทย
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ภูมิปัญญาของมนุษยก์ อ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทยมกั เกยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งใด
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. ภูมปิ ัญญาของมนุษยก์ ่อนประวัติศาสตรใ์ นดินแดนประเทศไทย สามารถเรียงลำดับไดอ้ ย่างไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ตัวอย่างพัฒนาการภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทยในด้านตา่ งๆ ได้แก่
อะไรบ้าง

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

5.ตวั อย่างภูมปิ ัญญาของมนษุ ยก์ อ่ นประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทยท่ยี งั คงมีอยู่ในปัจจบุ ัน ได้แก่ส่ิงใดบ้าง

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

65

บตั รภาพ

ภาพลกู ปัดหินคาร์นเี ลยี น พบท่ี อ. อูท่ อง จ. ภาพตราประทบั ดนิ เผา พบท่ี อ. ตาคลี
สุพรรณบรุ ี จ. นครสวรรค์

ภาพปนู ปัน้ รปู หนา้ คนต่างชาติ พบท่เี มอื งคูบวั จ. ภาพเหรยี ญเงนิ พบทว่ั ไปตามเมอื งทา่ ชายฝ่งั ทะเล
ราชบุรี

ภาพโครงกระดกู มนษุ ย์ พบที่บา้ นโนนวัด ภาพปรางคแ์ ขก อ. เมอื ง จ. ลพบรุ ี
จ. นครราชสมี า

ทม่ี า : ณรงค์ พว่ งพศิ และวฒุ ชิ ยั มลู ศิลป์. 2552. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพื้นฐาน ประวตั ศิ าสตร์ ม.1. พมิ พค์ ร้งั ที่ 9.
กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจริญทศั น.์

66

ใบงานท่ี 3.4
พฒั นาการจากชมุ ชนมาสู่รัฐโบราณ

คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

1. ปัจจยั ใดที่ทำให้ชุมชนสามารถพัฒนามาเปน็ บา้ นเมอื งได้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ปัจจัยใดทท่ี ำให้บ้านเมืองสามารถพัฒนาเปน็ แคว้นหรือรัฐได้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. สภาพสงั คมของแควน้ ประกอบดว้ ยชนชนั้ ใดบ้าง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ปัจจัยใดบา้ งท่ีส่งผลใหก้ ารพัฒนาจากแควน้ หรอื รฐั ข้ึนเป็นอาณาจักรในแต่ละแหง่ มคี วามแตกตา่ งกนั
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

5. รัฐโบราณมีความสำคัญตอ่ รฐั ไทยในเวลาต่อมาอย่างไรบ้าง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

67

บตั รคำ 

ชุมชน

บา้ นเมอื ง
แควน้
อาณาจกั ร

68

ใบงานที่ 3.5
พัฒนาการของอาณาจักรโบราณในดินแดนไทย

ตอนท่ี 1
คำชแี้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปน้ี

1. ในแตล่ ะภมู ิภาคของไทยมีรอ่ งรอยของอาณาจักรโบราณอาณาจกั รใดบา้ ง

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
2. หลกั ฐานใดบ้างทีแ่ สดงถึงความเปน็ อาณาจกั รโบราณของอาณาจักรต่างๆ ในดนิ แดนไทย

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. นักเรยี นคดิ วา่ ความเจริญในท้องถิ่นทน่ี ักเรียนอาศยั อยมู่ ีความเกี่ยวข้องกบั อาณาจักรโบราณอาณาจกั ร
ใดมาก่อน อธิบายเหตุผลพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจน

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 2
คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนสรุปความเจรญิ ของอาณาจกั รโบราณในดนิ แดนไทย ตามประเดน็ ท่ีกำหนด

1. อาณาจกั รทวารวดี
1) หลักฐานทป่ี รากฏเรอ่ื งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตจุ นี เรยี กละโวว้ า่ “หลอหู”่ จารึก

......................................................................................................................................................................
2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร สันนิษฐ.......านวา่ เป็นชาวมอญ ตั้งอาณาจักรอยูบ่ ริเวณ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เชน่ พระปรางค์สามยอด ปรางคแ์ ขก จังหวัดลพบุรี เป็น
......................................................................................................................................................................

69

2. อาณาจกั รละโว้
1) หลักฐานท่ปี รากฏเรอ่ื งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตจุ ีนเรยี กละโวว้ า่ “หลอห”ู่ จารึก
......................................................................................................................................................................
2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจักร สันนิษฐ.......านวา่ เปน็ ชาวมอญ ตั้งอาณาจกั รอยบู่ ริเวณ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจกั ร เช่น พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก จังหวดั ลพบรุ ี เป็น
......................................................................................................................................................................
3. อาณาจักรโยนกเชียงแสน
1) หลักฐานที่ปรากฏเรื่องราวของอาณาจักร เชน่ จดหมายเหตุจีนเรียกละโวว้ ่า “หลอหู”่ จารกึ
......................................................................................................................................................................
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจกั ร สนั นิษฐ.......านว่าเป็นชาวมอญ ตัง้ อาณาจักรอยู่บริเวณ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจกั ร เช่น พระปรางค์สามยอด ปรางคแ์ ขก จังหวัดลพบรุ ี เปน็
......................................................................................................................................................................
4. อาณาจกั รหริภญุ ชัย
1) หลักฐานท่ีปรากฏเร่ืองราวของอาณาจกั ร เช่น ตำนานจามเทววี งศ์ หรอื ตำนานเมอื งหริภญุ ชยั
2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจกั ร สนั นิษฐานว่าเปน็ ชาวมอญท่อี พยพมาจากละโว้ จนเม่อื พระเจ้า

อาทิตยราชได้เข้ามาปกครอง ได้ทรงสร้างความเจรญิ รงุ่ เรอื ง โดยเฉพาะการทำนบุ ำรงุ
พระพทุ ธศาสนา ต่อมาภายหลังได้ตกเป็นสว่ นหนง่ึ ของอาณาจักรลา้ นนา
3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เชน่ พระธาตหุ รภิ ญุ ชัย จงั หวัดลำพนู เปน็ ตน้
5. อาณาจกั รล้านนา
1) หลกั ฐานท่ีปรากฏเรือ่ งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตจุ นี เรียกละโวว้ า่ “หลอห่”ู จารกึ
......................................................................................................................................................................
2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร สันนษิ ฐ.......านวา่ เป็นชาวมอญ ต้งั อาณาจกั รอยบู่ ริเวณ
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจักร เช่น พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก จังหวดั ลพบุรี เป็น
......................................................................................................................................................................

70

6. อาณาจกั รลงั กาสุกะ
1) หลกั ฐานที่ปรากฏเร่อื งราวของอาณาจกั ร เช่น จดหมายเหตุจนี เรยี กละโว้วา่ “หลอห”ู่ จารึก

......................................................................................................................................................................
2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร สันนิษฐ.......านวา่ เป็นชาวมอญ ต้งั อาณาจักรอยูบ่ รเิ วณ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เชน่ พระปรางค์สามยอด ปรางคแ์ ขก จังหวดั ลพบรุ ี เป็น
......................................................................................................................................................................

7. อาณาจกั รตามพรลงิ ค์
1) หลักฐานทป่ี รากฏเรือ่ งราวของอาณาจักร เช่น จดหมายเหตจุ นี เรียกละโว้ว่า “หลอหู่” จารกึ

......................................................................................................................................................................
2) พฒั นาการความเจริญของอาณาจักร สนั นิษฐ.......านว่าเปน็ ชาวมอญ ตง้ั อาณาจกั รอยู่บรเิ วณ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจักร เชน่ พระปรางคส์ ามยอด ปรางคแ์ ขก จังหวัดลพบุรี เปน็
......................................................................................................................................................................

8. อาณาจักรศรวี ชิ ัย
1) หลกั ฐานที่ปรากฏเรอ่ื งราวของอาณาจกั ร เช่น จดหมายเหตุจนี เรียกละโวว้ ่า “หลอหู่” จารกึ

......................................................................................................................................................................
2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจักร สันนษิ ฐ.......านวา่ เปน็ ชาวมอญ ต้ังอาณาจกั รอยู่บรเิ วณ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระปรางค์สามยอด ปรางคแ์ ขก จังหวัดลพบุรี เป็น
......................................................................................................................................................................

9. อาณาจกั รโคตรบรู ณ์
1) หลกั ฐานทป่ี รากฏเรือ่ งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตุจนี เรยี กละโวว้ ่า “หลอห”ู่ จารึก

......................................................................................................................................................................
2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจักร สันนษิ ฐ.......านวา่ เป็นชาวมอญ ตง้ั อาณาจักรอยู่บรเิ วณ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เช่น พระปรางคส์ ามยอด ปรางค์แขก จังหวดั ลพบุรี เป็น
......................................................................................................................................................................

71

10. อาณาจกั รอศิ านปุระ
1) หลกั ฐานทป่ี รากฏเร่อื งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตจุ ีนเรียกละโวว้ า่ “หลอหู่” จารกึ

......................................................................................................................................................................
2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจักร สนั นษิ ฐ.......านว่าเปน็ ชาวมอญ ต้ังอาณาจกั รอยบู่ รเิ วณ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจกั ร เชน่ พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก จังหวดั ลพบรุ ี เป็น
......................................................................................................................................................................

72

ใบงานท่ี 3.6
ภมู ปิ ญั ญาของอาณาจักรโบราณกอ่ นสมัยสโุ ขทยั

คำช้แี จง ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

1. ปจั จยั ใดทเ่ี ป็นตัวกำหนดให้มนษุ ย์สร้างสรรค์ภมู ปิ ัญญาต่างๆ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ลกั ษณะทางวฒั นธรรมใดทค่ี นในอาณาจกั รโบราณมีเหมอื นกนั
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

3. ปจั จยั ภายนอกปัจจยั ใดมีผลต่อภูมปิ ญั ญาของคนในอาณาจักรโบราณ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

4. ภูมปิ ญั ญาของคนในอาณาจกั รโบราณมีความเก่ียวข้องกบั เรือ่ งใดบา้ ง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

5. ภูมิปัญญาดา้ นใดของคนในอาณาจกั รโบราณทน่ี ักเรียนชื่นชอบหรือสนใจ อธบิ ายเหตุผล
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

73

บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้
ผลการจัดการเรยี นรู้
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ……………………………………
(นางสาวชุติมา ภกั ดีเจรญิ )
ครูผู้สอน

ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………………………………
(นายฉตั รภูมิ ประภาสุทธกิ ุล)

ความคิดเหน็ ของรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ …............…………………………………
(นางสาวอญั ชลนิ ทร์ ใจเทยี่ ง)

ความคดิ เหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี น
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………………………………
(นายอภิชาติ ใจกล้า)

74