ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร

ใบงานที่ 2.5 ลักษณะเฉพาะของประชากร
ประกอบการสอนในรายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5
ครูจริยา จันทวี และครูพงศธร มารวิชัย
 ID: 2859933
Language: Thai
School subject: ชีววิทยา
Grade/level: Grade 12
Age: 15+
Main content: ลักษณะเฉพาะของประชากร
Other contents: -

ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร
 Add to my workbooks (2)
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร
 Add to Google Classroom
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร
 Add to Microsoft Teams
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร

planttoey


ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร

What do you want to do?

ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร
ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

ความหนาแน่นของประชากรคือจำนวนประชากรต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตรความหนาแน่นของประชากรแบ่งออกเป็น2ประเภทคือความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบ (crude density) และความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological density)

1. ความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบเป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมดของที่อยู่อาศัยเช่น

พื้นที่ป่ามี5ไร่มีตั๊กแตนอยู่500ตัวเพราะฉะนั้น

ความหนาแน่น = 500/5ตัวต่อไร่ = 100ตัวต่อไร่

2. ความหนาแน่นเชิงนิเวศเป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยจริงของสิ่งมีชีวิตนั้นเช่นในพื้นที่

ป่ามี50ไร่แต่มีบริเวณที่ปลูกผักรวมแล้วเพียง10ไร่ประชากรหนอนกระทู้มีอยู่50,000ตัวดังนั้น

ความหนาแน่น = 50,000/10ตัวต่อไร่ = 5,000ตัวต่อไร่

การวัดความหนาแน่นของประชากร (population measurement)

การนับจำนวนสิ่งมีชีวิตเพื่อหาความหนาแน่นของประชากรบางครั้งอาจจะนับได้ทั้งหมดแต่โดยทั่วไปแล้วเราจะไม่สามารถนับได้ทั้งหมดจริงค่าความหนาแน่นที่ได้จะเป็นความหนาแน่นเชิงเปรียบเทียบเท่านั้นการวัดความหนาแน่นของประชากรสามารถแบ่งเป็น2แบบคือความหนาแน่นสมบูรณ์หรือความหนาแน่นที่แท้จริง (absolute density) และความหนาแน่นสัมพัทธ์(relative density)