ใครมีหน้าที่ในการดูแลรักษาโปรแกรมในระบบสารสนเทศ

1

ประทับเวลา ชื่อ-นามสกุล เลขที่ นักเรียนชั้น ม. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในปัจจุบัน 1. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในปัจจุบัน 2. ข้อใดกล่าวถึงสารสนเทศไม่ถูกต้อง 3. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบสารสนเทศ 4. ใครควรเลือกใช้ระบบสารสนเทศสำนักงานมากที่สุด 5. การปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ กันทุกวัน (Routine) เป็นลักษณะของระบบใด 6. ผลลัพธ์ของระบบ MRS มุ่งเน้นการบริหารงานในเรื่องใดต่อไปนี้ 7. ข้อใดเป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) 8. ระบบ DSS เหมาะสำหรับการแก้ปัญหาแบบใดมากที่สุด 9. การเบิกเงินจากตู้ ATM จัดเป็นการ ประมวลผลในรูปแบบใด 10. คุณสมบัติของข้อมูลที่ดีเป็นอย่างไร 11. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศคือข้อใด 12. ถ้าต้องการทราบข้อมูลเปรียบเทียบการขยายตัวของพื้นที่เขตเมืองในจังหวัดลำปาง ระหว่างปี 2518-2548 ควรเลือกใช้ระบบใด 13. ระบบสารสนเทศประเภทใดมีลักษณะการทำงานเหมือนมนุษย์มากที่สุด 14. ข้อใดคือฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่ในหน่วยรับข้อมูลของระบบสารสนเทศ 15. เครื่องพิมพ์ทำหน้าที่อะไรในระบบสารสนเทศ 16. SDLC หมายถึงอะไร 17. ข้อใดกล่าวถึงซอฟต์แวร์ได้ถูกต้อง 18. ใครมีหน้าที่ในการดูแลรักษาโปรแกรมในระบบสารสนเทศ 19. การจัดทำคู่มือการฝึกอบรมอยู่ในขั้นตอนใดของวงจรการพัฒนาระบบ 20. ข้อใดคือหน้าที่ของโปรแกรมอรรถประโยชน์ ข้อ1 ข้อ2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 รวม20 คะแนน

2

2/2/2555, 10:49:30 ดำรงค์ นวลสีใส 1 5/1/2012 Manual มีลักษณะเหมือนกับข้อมูลดิบ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในองค์กร โอ๋ศึกษากราฟยอดขายประจำปี TPS การประมวลผลข้อมูลเพื่อจัดทำเอกสารรายงานประกอบการตัดสินใจ ถูกทุกข้อ แบบกึ่งโครงสร้างและ แบบมีโครงสร้าง Online Processing ถูกต้อง ทันเวลา สอดคล้องกับงาน People ware Software Hardware Data GIS ปัญญาประดิษฐ์ สแกนเนอร์ แสดงผลข้อมูล วงจรการพัฒนาระบบ มองเห็นได้เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น โปรแกรมเมอร์ การติดตั้งระบบ ถูกทุกข้อ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ (PEOPLEWARE)

        บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่น อาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบ โครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์

1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน

2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม

3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ

บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์

1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)

2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)

5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entry Operator)

บทบาทและหน้าที่ของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เนื่องมาจากการทำงานของคคอมพิวเตอร์จำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องมีบุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์เป็นผผู้ออกแบบและพัฒนาระบบ รวมทั้งการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการบุคลากรทีมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ มีบทบาทและหน้าที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่รับผิดชอบ ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้

1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (operator) เป็นผู้รับผิดชอบดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามปกติ หากเกิดปัญหาขัดขื้องเกีทื่ยวกับระบบจะต้องแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ทราบ เพื่อทำการแก้ไข นอกจากนี้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการยังทำหน้าที่บำรุงรักษาอุปกรณ์ที่มีอยู่ให้สามารถพร้อมที่จะนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการยังรวมถึงเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ (date - entry operator) ที่ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ ตลอดจนจัดทำรายงาน และรวบรวมเอกสารคอมพิวเตอร์ให้เป็นระเบียบ

2. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (system) และโปรแกรม (program)บุคลากรคอมพิวเตอร์ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย

    2.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (systems analyst and designer) ทำหน้าที่ศึกษาและรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ระบบ เพื่อนำมาวิเคราะห์และออกแบบระบบงานใหม่ และทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนักเขียนโปรแกรม (programmer)

    2.2 ผู้บริหารฐานข้อมูล (database administrator ) ทำหน้าที่ออกแบบและดูแลระบบฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตลอดจนบำรุงรักษาและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ขององค์การ

    2.3 นักพัฒนาโปรแกรมระบบ (system programmer) เป็นผู้เขียนโรแกรมควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ ให้คำปรึกษาและแก้ไขระบบเมื่อเกิดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์

    2.4 นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (application programmer) เป็นผู้เขียนและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ โดยการนำผลที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้นักเขียนโปรแกรมประยุกต์ จะต้องทำการทดสอบ แก้ไขโปรแกรม ติดตั้งและบำรุงรักษาโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น

3. ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (electronic data processing manager) ผู้จัดการศูนย์คอมพิวเตอร์ หรือ EDP manager เป็นบุคลากรระดับบริหารที่ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและแผนการดำเนินงาน ของศูนย์คอมพิวเตอร์ การวางแผนเรื่องงบประมาณและการจัดหาทรัพยากรคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานให้มีความรู้ความสามารถ ทันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่

4. ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) เป็นผู้ให้ข้อมูลความต้องการในการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานในหน่วยงาน ตลอดจนเป็นผู้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนาขึ้น หรือใช้โปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ

         พีเพิลแวร์ คือ ผู้ปฏิบัติงานตามกระบวนวิธีการในกิจกรรมต่างๆ อันได้แก่ การสร้างหรือเก็บรวบรวมข้อมูล บางกลุ่มอาจทำหน้าที่ในการพัฒนาซอฟท์แวร์ขึ้นมาใหม่ๆ ตามความต้องการและในการประมาลผล และอาจเปลี่ยนแปลงโปรแกรมที่มีอยู่แล้วให้สอดคล้องตามความต้องการที่เปลี่ยนแปลงในโอกาสต่างๆ จะเห็นว่าบุคลากรทางคอมพิวเตอร์บางกลุ่มทำหน้าที่สร้างกระบวนการวิธีการให้แก่บุคลากรทางคอมพิวเตอร์กลุ่มอื่นๆ ได้เพื่อให้การทำงานหรือใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็มีหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันไปดังนี้ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) หมายถึงผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป สามารถทำงานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้นๆ เช่น การพิมพ์งาน การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ด้านเทคนิคต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ก็ได้

    -ผู้ดูแลและซ่อมบำรุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter) หมายถึงผู้ดูแลและคอยตรวจสอบสภาพเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีสภาพความพร้อมที่จะทำงานได้ตลอดเวลา กลุ่มนี้จะเรียนรู้เทคนิคการรักษา ดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดการต่อเชื่อม ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมต่างๆ ค่อนข้างดี

    -ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer) หมายถึงผู้เขียนโปรแกรมตามผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์เป็นผู้กำหนด เพื่อให้ได้โปรแกรมที่ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งานในองค์กร กลุ่มนี้จะศึกษามาทางด้านภาษาคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สามารถเขียนคำสั่งคอมพิวเตอร์โดยภาษาต่างๆ ได้ และเป็นนักพัฒนาโปรแกรมให้คนอื่นเอาไปใช้งาน

    -ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) เป็นผู้ที่มีหน้าที่พิจารณาว่าองค์กรควรจะใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดและได้คุณภาพดี เป็นผู้ออกแบบโปรแกรมก่อนส่งงานไปให้โปรแกรมเมอร์ทำงานในส่วนต่อไป

    -ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager) เป็นผู้มีหน้าที่บริหารทรัพยากรทุกชนิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร

บุคคลใดต่อไปนี้มีหน้าที่ในการดูแลรักษาโปรแกรมในระบบสารสนเทศ

เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมระบบ (System Programmer) เป็นผู้ศึกษา จัดหา และดูแลการใช้โปรแกรมระบบ (System Program) ให้เหมาะสมกับเครื่องคอมพิวเตอร์และระบบงานของหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ผู้ทำหน้าที่นี้จะต้องเข้าใจระบบการทำงานของโปรแกรมและเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี เพราะเมื่อใด ...

ข้อใดคือกระบวนการทำงานของระบบสารสนเทศ

กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย - การรวบรวมข้อมูล - การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล - การประมวลผลเพื่อให้ได้สารสนเทศ และความรู้ที่นำมาใช้ในการตัดสินใจ - การเผยแพร่สารสนเทศ

ผู้ทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลคือข้อใด

ผู้บริหารข้อมูล (Data Administrator: DA) ผู้บริหารฐานข้อมูลทำหน้าที่ ในการบริหารจัดการ/ควบคุม/กำหนดนโยบาย มาตรการ และมาตรฐาน ของระบบฐานข้อมูลทั้งหมดภายในองค์กร เช่น กำหนดรายละเอียดและ วิธีการจัดเก็บข้อมูล กำหนดควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล กำหนดระบบ รักษาความปลอดภัยของข้อมูล กำหนดระบบสำรองข้อมูล กำหนดระบบ

บุคลากรใดต่อไปนี้มีหน้าที่เขียนโปรแกรม

โปรแกรมเมอร์ ( Programmer ) คือบุคคลที่ทำหน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ(Software )หรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้