ชนชาติใดของแถบเอเชียที่รู้จักสร้างผลงานภาพพิมพ์ เป็นชาติแรก

ใบความรทู้ ่ี 1
เรื่อง ความหมายและความเปน็ มาเกีย่ วกบั ภาพพมิ พ์

ความหมายและความเป็นมาเก่ยี วกับภาพพิมพ์

ความเป็นมาของทัศนศิลป์ประเภทภาพพิมพ์ มีหลักฐานการสร้างสรรค์ผลงานมา
ตั้งแต่ครั้งกอ่ นประวัติศาสตร์ มนุษยโ์ ครมนั ยอง (Cro-Magnon)เปน็ มนษุ ย์เผา่ พนั ธุ์แรกท่ีเร่ิมสร้างผลงาน
ศลิ ปะภาพพมิ พ์ มีปรากฏอยทู่ ถี่ ้าลาสโก (Las-caux Cave)ประเทศฝร่ังเศษ และถ้าอัลตามิรา (Altamira
Cave) ประเทศสเปน เปน็ ภาพลายเส้นรูปสตั ว์ นับเปน็ หลักฐานของกระบวนการพิมพ์ของมนุษย์เมื่อคร้ัง
บรรพกาล นอกจากนี้ ยังปรากฏหลักฐานเร่ิมต้นของการพิมพ์ผ่านฉากพิมพ์(Stencil)ด้วยการใช้มือวาง
เป็นลวดลายบนผนังถ้า โดยให้มือเป็นแม่พิมพ์แล้วพ่นหรือเป่าสีลงบนหลังมือ ส่วนที่เป็นมือจะบังสีไว้
สีจะพ่นผ่านช่องว่างของน้ิว ปรากฏเป็นภาพแสดงขอบเขตรูปนอกของฝ่ามืออย่างชัดเจน นับเป็น
กรรมวิธีการพิมพแ์ บบงา่ ย

ภาพพิมพ์มีประวัติความเป็นมาเริ่มต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (200,000 ปีก่อน
คริสตกาล) โดยมนุษย์โครมันยอง ดังพบภาพพิมพ์รูปมือบนผนังถ้าในถ้าลาสโควซ์ ประเทศฝรั่งเศสและ
ถ้าอัลตามิรา ประเทศสเปน ต่อมาชาวอียิปต์และชาวเมโสโปเตเมียรู้จักการพิมพ์ภาพแบบใช้แรงกด
ประทับบนผวิ วสั ดทุ อ่ี อ่ นน่มิ เชน่ ดิน ขผ้ี ้งึ จากน้นั มนษุ ยค์ ดิ คน้ กระดาษขึ้นได้จึงเปลี่ยนวัสดุรองรับท่ีเป็น
ดินหรือขี้ผึ้งมาเป็นกระดาษแทน นับแต่นั้นมาภาพพิมพ์ก็ได้พัฒนามาอย่างต่อเน่ือง ทั้งในด้านรูปแบบ
กลวิธีการพิมพ์ตามวิวัฒนาการของมนุษย์และความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมา
จนถงึ ปัจจบุ นั

ความเจริญกา้ วหนา้ ทางด้านการพิมพ์เป็นสงิ่ ทชี่ ว่ ยส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางด้าน
ศิลปะวิทยาการ เพราะว่ามนุษย์สร้างสรรค์กระบวนการพิมพ์ภาพขึ้นมาก็เพ่ือตอบสนองความต้องการ
ในการเผยแพร่ความคิดและความรู้ของมนุษย์ให้กระจายไปได้อย่างแพร่หลาย ตลอดจนเพ่ือเก็บรักษา
ความรู้ต่าง ๆ ไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาถึงความเป็นมาของความรู้ในเร่ืองต่าง ๆ ดังน้ันเพ่ือให้เห็น
ภาพรวมของพัฒนาการทางด้านการพิมพ์ภาพที่ก่อประโยชน์ให้มนุษย์อย่างมากในปัจจุบัน จึงขอ
กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของภาพพิมพ์ในกลุ่มประเทศตะวันออก กลุ่มประเทศตะวันตกหรือยุโรป
และในประเทศไทย

ครเู ด่ียว จรัญ ปญั ญาดบิ วงศ์

วิวัฒนาการด้านการพิมพ์ในกลุ่มประเทศตะวันออก คือ จีน ญ่ีปุ่นน้ัน แสดงให้เห็นว่า
จีนเป็นชนชาตแิ รกทคี่ ดิ ค้นการท้าภาพพิมพข์ น้ึ โดยการแกะสลกั ลงบนหิน หยก งาช้าง กระดูกสัตว์ และ
เขาสัตว์ เพ่ือท้าเป็นแม่พิมพ์แล้วกดแม่พิมพ์ลงบนดินเหนียว ครั่ง ข้ีผ้ึงหรือกระดาษให้เกิดลักษณะเป็น
รอย ความรู้การพิมพ์น้ีได้เผยแพร่ไปยังประเทศตะวันตกและประเทศเพื่อนบ้านที่ส้าคัญได้แก่ ประเทศ
ญ่ีปุ่น เกาหลี ซ่ึงประเทศเกาหลีได้พัฒนาความรู้เร่ืองการพิมพ์นี้จนสามารถท้าตัวเรียงพิมพ์เป็นโลหะ
สา้ เร็จ ในสว่ นของประเทศญี่ปุ่นก็ได้พัฒนาการพิมพ์ข้ึนจนเป็นที่ยอมรับ ในด้านของภาพพิมพ์ที่มีคุณค่า
ซึ่งมีสกุลช่างภาพพิมพ์แกะไม้ท่ีมีชื่อเสียง คือ สกุลช่างอูกิโยเอะที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์
ได้อย่างงดงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ดังจะเห็นได้จากประเทศญ่ีปุ่นได้ให้อิทธิพลแก่ศิลปะของ
ประเทศทางตะวันตกหรือยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19ส่วนภาพพิมพ์ในกลุ่มประเทศตะวันตกมี
พัฒนาการมาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง นับตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ท่ีรู้จักกระบวนการพิมพ์โดย
การวางมือทาบบนผนังถ้าแล้วเป่าสี หรือทาสีบนฝ่ามือ จากนั้นกดประทับเป็นรูปมือไว้บนผนังถ้า ต่อมา
อารยธรรมอียปิ ตไ์ ดร้ ้จู กั นา้ ภาพแกะสลักเล็ก ๆ กดลงบนดนิ ใหเ้ กดิ เป็นรอยข้ึน ส่วนในดินแดนเมโสโปเต
เมียค้นพบการใช้ ดนิ เหนียวแกะเป็นตราสัญลักษณแ์ ละน้าไปตากแดดใหแ้ หง้ หรอื น้าไปเผาไฟ เพ่ือให้เกิด
เป็นแม่พิมพ์กดประทับ ต่อมาในปี ค.ศ. 1450 โจฮัน กูเต็นเบิร์ก ได้คิดประดิษฐ์แท่นพิมพ์อย่างง่ายข้ึน
จากนัน้ ในช่วง ค.ศ. 15 อัลเบรชท์ ดือเรอร์ ได้คิดค้นกลวิธีภาพพิมพ์ร่องลึก พอถึง ค.ศ. 16 ทอมัส บิวิค
ได้คดิ คน้ กลวิธภี าพพิมพ์ลายแกะไม้ได้สา้ เรจ็

หลังจากน้ันวิลเลียม เบลก ได้พยายามปรับปรุงภาพพิมพ์ผิวนูน ด้วยวิธีการสร้างภาพ
ผลงาน ลงบนแผ่นโลหะโดยใหก้ รดท้าปฏิกิริยากับแผ่นโลหะจนได้แม่พิมพ์ผิวนูนและในประเทศเยอร์มัน
ได้มกี ารคดิ คน้ กลวธิ ภี าพพมิ พ์มชั ฌมิ รงค์ ในปี ค.ศ. 1660 เฮอร์คิวลิส ซีเกอร์ ได้คิดกลวิธีภาพพิมพ์อย่าง
สีน้า พอถึงค.ศ. 1793 อะลัวส์ เซเนเฟลเดอร์ ไดค้ ้นพบกลวิธีภาพพิมพ์หิน และในระหว่างปี ค.ศ. 1864-
1901 อองรี เดอ ตูลูส โลเตรก ไดน้ ้ากลวธิ ภี าพพิมพ์หินมาพัฒนาให้เข้ากับระบบธุรกิจ โดยท้า โปสเตอร์
หลายๆ สีออกสสู่ าธารณชน ค.ศ. 1907 ซามูเอล ไซมอน ได้พัฒนาและปรับปรุงกลวิธีภาพพิมพ์ผ่านฉาก
โดยใช้เส้นไหมมาท้าเป็นแม่พิมพ์จนส้าเร็จ เรียกอีกอย่างว่า “กลวิธีภาพพิมพ์ตะแกรงไหม” ซ่ึงกลวิธีน้ี
เป็นที่นยิ มอย่างมากของศลิ ปนิ ใน ค.ศ. 20 เช่น รอเบริ ต์ เราเชนเบริ ์ก แอนดี วอรโ์ ฮล เป็นต้น

ครเู ดีย่ ว จรัญ ปญั ญาดิบวงศ์

สา้ หรบั ภาพพิมพใ์ นประเทศไทยนั้น ระยะเริ่มแรกท้าข้ึนเพื่อประโยชน์ใช้สอยเชิงพาณิชย์ศิลป์ โดยพิมพ์
เป็นภาพประกอบหนังสือและหนังสือเป็นส่วนใหญ่ หลังจากนั้นได้รับการพัฒนาจนกลายเป็นงานภาพ
พิมพ์ระยะตอ่ มาในระบบการศึกษา โดยมีคณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นผู้
บุกเบิกการเรียนการสอนทางด้านภาพพิมพ์เป็นแห่งแรก และก็มีสถาบันอ่ืน ๆ เปิดตามมา จนกระท่ัง
ปัจจบุ ันภาพพิมพข์ องศลิ ปนิ ไทยเป็นท่ยี อมรบั ในระดบั นานาชาติ

การพิมพ์ภาพเป็นงานท่ีพัฒนาต่อเน่ืองมาจากการวาดภาพ ซึ่งการวาดภาพไม่สารถ
สร้างผลงาน๒ชิ้น ท่ีมีลักษณะเหมือนกันทุกประการได้ จึงมีการพัฒนาภาพพิมพ์ข้ึนมา โดยจีนถือว่าเป็น
ชาติแรกที่น้าเอาวิธีการพิมพ์มาใช้อย่างแพร่หลายมานานนับพันปี จากน้ันจึงได้แพร่หลายออกไปใน
ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกส่วนชาติตะวันตกถือเป็นผู้พัฒนาการพิมพ์ภาพแบบสมัยใหม่ มีการน้าเอา
เคร่ืองจกั รกลต่าง ๆ เขา้ มาชว่ ยในการพมิ พ์ ท้าใหก้ ารพมิ พ์มกี ารพัฒนาไปอย่างรวดเร็วในปจั จบุ นั

ในช่วงสมยั กอ่ นประวัติศาสตร์ ได้พบหลักฐานเป็นจ้านวนมากเก่ียวกับวิธีการแกะสลัก
อันเป็นพ้ืนฐานของการสร้างภาพพิมพ์ เช่นการน้าภาพแกะสลักขนาดเล็กไปกดลงบนดินให้เกิดให้เกิด
เป็นรอยในแถบลุ่มแม่น้าไทกรีส-ยูเฟรทีสหรือดินแดนเมโสโปเตเมีย และได้พัฒนาจนเกิดอักษรรูปล่ิม
(cuneiforms) ขน้ึ มาทางแถบเอเชีย จีนเป็นชนชาติแรกที่รู้จักสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์มาอย่างยาวนาน
ต้ังแต่ต้นพุทธกาล เช่น การรู้จักแกะสลักตราประทับบนวัตถุต่าง ๆ ตั้งแต่เม่ือประมาณ ๑,๘๐๐ ปีล่วง
มาแลว้

นอกจากนี้ ชาวจีนยังรู้จักภาพพิมพ์นูน คือ การพิมพ์ภาพที่ต้องใช้แม่พิมพ์ท่ีมีผิวนูน
โดยน้ากระดาษวางทาบลงบนแม่พิมพ์และใช้ผ้าแตะลงบนกระดาษ ส่วนนูนของแม่พิมพ์จะทับกระดาษ
ให้ติดสซี ึง่ จะไดภ้ าพงานศลิ ปะทต่ี ้องการ

ศิลปะการพิมพ์ภาพที่เกิดข้ึนต้ังแต่สมัยโบราณ ไม่จ้ากัดว่าจะเป็นภาพหรืออักษรเพียง
อย่างเดียว แต่มีการใช้ภาพและอักษรผสมกันด้วย ในประเทศจีนมีการแกะแม่พิมพ์ไม้เป็นตัวอักษรและ
ภาพประกอบส้าหรบั พระพทุ ธศาสนามาต้งั แต่พุทธศตวรรษที่ ๕-๖

สา้ หรบั การพิมพ์ภาพในประเทศไทย มีมานานแล้ว ดังปรากฏการพิมพ์ภาพบนผนังถ้า
เชงิ ผาในจังหวัดอดุ รธานแี ละกาญจนบุรี มีการค้นพบภาชนะดินเผาท่ีมีรอยพิมพ์จากลูกกล้ิง และลูกกลิ้ง
ดนิ เผาทนี่ ้ามาพิมพเ์ ป็นภาพต่อเน่ืองได้อย่างสวยงาม นอกจากน้ี ยังมีการใช้เชือกพิมพ์บนภาชนะดินเผา
อีกดว้ ย ในด้านของสิ่งทีน่ ้ามาใชส้ ีจากยางไม้ เปลือกไม้ แร่ ดิน

ครเู ด่ยี ว จรญั ปญั ญาดิบวงศ์

การพมิ พภ์ าพบนผนังถ้า เชิงผาในจังหวัดอดุ รธานแี ละกาญจนบุรี
การพมิ พภ์ าพบนผนังถ้า เชิงผาในจังหวัดอุดรธานแี ละกาญจนบุรี

ครูเดี่ยว จรญั ปญั ญาดบิ วงศ์

ภาชนะดินเผาทม่ี รี อยพิมพ์จากลกู กลิง
การใช้เชอื กพิมพ์บนภาชนะดนิ เผา

ครูเด่ยี ว จรญั ปญั ญาดิบวงศ์

ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง ศิลปะภาพพมิ พ์ในชีวติ ประจ้าวัน

ค้าชีแจง ใหน้ กั เรยี นเขียนแผนผงั ความคิด สรุปศลิ ปะภาพพิมพท์ ่ีพบในชวี ิตประจ้าวัน

เครือ่ งแต่งกาย ของตกแตง่ บ้าน

ศิลปะภาพพมิ พ์ในชีวิตประจ้าวนั

สิ่งพิมพ์ เครื่องใช้

ชือ่ ...........................................................................ชนั ม.6/.................เลขท่ี....................

ครเู ดยี่ ว จรญั ปญั ญาดบิ วงศ์

ขอบคุณ...ครบั

ครเู ดี่ยว จรญั ปญั ญาดบิ วงศ์