ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูล

สอบกลางภาค (ฐานข้อมูล)

40  |  By Juriporn | Last updated: Mar 22, 2022 | Total Attempts: 6205

ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูล
ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูล
Settings

Feedback

During the Quiz End of Quiz

Difficulty

Sequential Easy First Hard First

ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูล

วิชาการจัดการฐานข้อมูล ม. 4 ภาคเรียนที่ 2


  • 1. 

    ข้อใดคือความหมายของฐานข้อมุล

    • A. 

      การยืม - คืน หนังสือของห้องสมุดโรงเรียนแห่งหนี่ง

    • B. 

      โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียน 1,500 คน

    • C. 

      กนกวรรณมีพี่น้อง 3 คน

    • D. 

      วาสนามีอายุ 18 ปี

  • 2. 

    ข้อใด ไม่ใช่ ความสำคัญของการนำฐานข้อมูลมาใช้

    • A. 

      ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล

    • B. 

      ข้อมูลไม่เป็นอิสระต่อกัน

    • C. 

      ข้อมูลถูกต้องเชื่อถือได้

    • D. 

      ใช้ข้อมุลร่วมกันได้

  • 3. 

    หน่วยข้อมูลที่มีความหมายต่อผู้ใช้

     ที่เล็กที่สุด 

    คือข้อใด

    • A. 

      บิต

    • B. 

      ไบท์

    • C. 

      ฟิลด์

    • D. 

      เรคคอร์ด

  • 4. 

    กลุ่มฟิลด์ที่มีความสัมพันธ์กันเรียกว่าอะไร

    • A. 

      บิต

    • B. 

      ไบท์

    • C. 

      ไฟล์

    • D. 

      เรคคอร์ด

  • 5. 

    ข้อมูลสถิติการใช้บริการห้องสมุดเป็นข้อมูลชนิดใด

    • A. 

      ข้อมูลรูปภาพ

    • B. 

      ข้อมูลชนิดตัวเลข

    • C. 

      ข้อมูลชนิดข้อความ

    • D. 

      ข้อมูลที่เป็นรูปแบบ

  • 6. 

    ข้อใดคือความหมายของระบบกาารจัดการฐานข้อมูล

    • A. 

      ชุดโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในระบบติดต่อระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมุล

    • B. 

      โปรแกรมที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต

    • C. 

      โปรแกรมที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้

    • D. 

      โปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว

  • 7. 

    ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถึง ระบบการจัดการฐานข้อมูล  ไม่ถูกต้อง

    • A. 

      เป็นโปรแกรมที่เป็นตัวกลางติดต่อระหว่างผู้ใช้งานกับฐานข้อมูล

    • B. 

      เป็นโปรแกรมที่ใช้วาดภาพและตกแต่งภาพ

    • C. 

      เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล

    • D. 

      เป็นโปรแกรมที่ทำให้มีความปลอดภัย

  • 8. 

    ข้อใดคือโปรแกรมที่เหมาะสมกับการนำมาใช้จัดการฐานข้อมูล

    • A. 

      Namofreemotion

    • B. 

      Microsoft Word

    • C. 

      Microsoft PowerPoint

    • D. 

      Microsoft Access

  • 9. 

    ข้อใด ไม่ใช่ ข้อดีของการนำฐานข้อมูลมาใช้

    • A. 

      สร้างปัญหาความขัดแย้งของข้อมูล

    • B. 

      ควบคุมความถูกต้องของข้อมูลได้

    • C. 

      สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน

    • D. 

      ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้

  • 10. 

    การออกแบบฐานข้อมูล หลังจากวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้แล้ว ขั้นต่อไป คืออะไร

    • A. 

      วิเคราะห์ปัญหา

    • B. 

      เขียนโปรแกรม

    • C. 

      ออกแบบฐานข้อมูล

    • D. 

      ออกแบบโปรแกรม

  • 11. 

    การศึกษาถึงความต้องการของทั้งผู้บริหารและผู้ปฎิบัติงาน เป็นการออกแบบฐานข้อมูลขั้นตอนใด

    • A. 

      วิเคราะห์ปัญหา

    • B. 

      ออกแบบฐานข้อมูล

    • C. 

      ออกแบบโปรแกรม

    • D. 

      วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้

  • 12. 

    โปรแกรม Microsoft Access เป็นโปรแกรมที่เหมาะกับงานด้านใดมากที่สุด

    • A. 

      วาดภาพ

    • B. 

      คำนวณ

    • C. 

      จัดการฐานข้อมูล

    • D. 

      สร้างภาพเคลื่อนไหว

  • 13. 

    ข้อใด ไม่ใช่ ขั้นตอนการเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Access

    • A. 

      Start> All Programs> Access

    • B. 

      Start> All Programs> Access 2010

    • C. 

      Start> All Programs> Microsoft Access 2010

    • D. 

      Start> All Programs> Microsoft Office> Microsoft Access 2010

  • 14. 

    ตาราง, แบบสอบถาม, ฟอร์ม, ... อยู่ในแถบใด

    • A. 

      แถบเมนู

    • B. 

      แถบชื่อเรื่อง

    • C. 

      แถบออบเจค

    • D. 

      แถบเครื่องมือ

  • 15. 

    คำสั่งใด ไม่อยู่ ในกลุ่ม ปุ่มคำสั่งในวินโดว์ Database

    • A. 

      แบบสอบถาม

    • B. 

      มุมมอง

    • C. 

      ตาราง

    • D. 

      ฟอร์ม

  • 16. 

    การสร้างฐานข้อมูลเปล่า เมื่อคลิกที่ไอคอนสร้าง ขั้นต่อไปคืออะไร

    • A. 

      คลิก สร้าง

    • B. 

      ตั้งชื่อฐานข้อมุล

    • C. 

      คลิกฐานข้อมูลเปล่า

    • D. 

      เลือกโฟล์เดอร์ที่ต้องการ

  • 17. 

    ในหน้าต่างช่วยสร้างตาราง ถ้าคลิกเลือก ป้อนข้อมูลโดยตรงลงในตาราง แล้วคลิกปุ่มเสร็จสิ้น ผลลัพทธ์ที่ได้เป็นอย่างไร

    • A. 

      เปิดตารางในลักษณะฟอร์ม

    • B. 

      เปิดตารางในลักษณะเฟรม

    • C. 

      เปิดตารางในมุมมองแผ่นข้อมูล

    • D. 

      เปิดตารางในลักษณะเขตข้อมูลแนวคอลัมน์

  • 18. 

    การเปลี่ยนชื่อเขตข้อมูล ของการสร้างตารางโดยการป้อนข้อมูล เมื่อคลิกขวาที่เขตข้อมูลแล้วขั้นต่อไปทำอย่างไร

    • A. 

      คลิกเปลี่ยนชื่อคอลัมน์

    • B. 

      คลิกแทรกคอลัมน์

    • C. 

      คลิกลบคอลัมน์

    • D. 

      คลิกตรึงคอลัมน์

  • 19. 

    เมื่อดับเบิ้ลคลิก สร้างตารางในมุมมองออกแบบแล้ว ขั้นต่อไปทำอย่างไร

    • A. 

      เปลี่ยนชื่อคอลัมน์

    • B. 

      พิมพ์ชื่อเขตข้อมุล

    • C. 

      คลิกออกแบบ

    • D. 

      คลิกสร้าง

  • 20. 

    ถ้าต้องการให้เขตข้อมูล Picture เก็บข้อมูลภาพถ่ายของนักเรียน ต้องกำหนดชนิดข้อมูลเป็นแบบใด

    • A. 

      Text

    • B. 

      Number

    • C. 

      Date/Time

    • D. 

      OLE Object

  • 21. 

    ถ้าต้องการกำหนดให้เขตข้อมูล Birthday เก็บข้อมูล วัน เดือน ปีเกิด ของนักเรียน ต้องกำหนดชนิดข้อมูลเป็นแบบใด

    • A. 

      Number

    • B. 

      Date/Time

    • C. 

      OLE Object

    • D. 

      AutoNumter

  • 22. 

    การแก้ไขโครงสร้างของตาราง เมื่อคลิกชื่อตารางแล้วขั้นต่อไปทำอย่างไร

    • A. 

      คลิก เปิด

    • B. 

      คลิก สร้าง

    • C. 

      คลิก แก้ไข

    • D. 

      คลิก ออกแบบ

  • 23. 

    ขั้นตอนแรกของการลบตารางคือข้อใด

    • A. 

      คลิก ชื่อตาราง

    • B. 

      คลิก ไอคอนลบ

    • C. 

      ดับเบิ้ลคลิกชื่อตาราง

    • D. 

      คลิกชื่อตาราง > คลิกแก้ไข

  • 24. 

    การเลื่อนเคอร์เซอร์ไปพิมพ์ในเขตข้อมูลถัดไปทำได้อย่างไร

    • A. 

      กดปุ่ม Alt

    • B. 

      กดปุ่ม Del

    • C. 

      กดปุ่ม Tab

    • D. 

      กดปุ่ม Insert

  • 25. 

    ข้อใดไม่ใช่ความหมายของฟอร์ม

    • A. 

      ส่วนที่ใช้สร้างตาราง

    • B. 

      ส่วนที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้

    • C. 

      ส่วนที่ใช้ติดต่อกับฐานข้อมุล

    • D. 

      ส่วนที่ใช้ติดต่อกับทั้งผู้ใช้และฐานข้อมูล

ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบฐานข้อมูล
Back to top

ข้อใดคือขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล

ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูลจะประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนหลักคือ การออกแบบกรอบความคิด (Conceptual design) , การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical design) , การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical design) และรวมถึงการเลือกใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS selection) การออกแบบจะเริ่มจากการ ออกแบบกรอบความคิดแล้วท าการปรับเปลี่ยนไปเป็นเชิงตรรกะและการ ...

ขั้นตอนของการออกแบบฐานข้อมูล มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

1. การรวบรวมและวิเคราะห์ความต้องการในการใช้ข้อมูล 2. การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล 3. การออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด 4. การนาฐานข้อมูลที่ออกแบบในระดับแนวคิดเข้าสู่ระบบจัดการ ฐานข้อมูล 5. การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ 6. การนาฐานข้อมูลไปใช้และการประเมินผล

ข้อใดหมายถึง Normalization

Normalization คือ กระบวนการปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลของ ฐานข้อมูลที่มีความซํ้าซ้อนให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน คิดค้นโดย Edgar F. Codd การทํา Normalize จะช่วยแยก Attribute ที่ซํ้าซ้อนกัน ออกไป วัตถุประสงค์ของการทํา Normalization.

ข้อใดหมายถึง Functional Dependency

7.2 Functional Dependency เป็นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชั่นที่แอทริบิวต์หนึ่ง หรือกลุ่มของแอททริบิวต์ (X) สามารถระบุค่าของแอททริบิวต์ต่างๆ ของทูเพิลหนึ่ง (Y) ในรีเลชั่นหนึ่ง นั่นคือ X → Y Empno → Empname, Hiredate, Position, Salary Prodno → Prodname, Cost , Balance.