ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

เคมี - การจัดเรียงอิเล็กตรอน

ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

จำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในแต่ละระดับพลังงาน  = 2n2 
เมื่อ n แทนลำดับพลังงาน (มีค่า = 1, 2, 3, …..ตามลำดับ)

ระดับพลังงาน  n = 1   มีจำนวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 2 ตัว

ระดับพลังงาน  n = 2   มีจำนวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 8 ตัว

ระดับพลังงาน  n = 3   มีจำนวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 18 ตัว

ระดับพลังงาน  n = 4   มีจำนวนอิเล็กตรอนได้มากที่สุด = 32 ตัว

     แต่สูตรการหาจำนวนอิเล็กตรอนดังกล่าวใช้ใด้กับระดับพลังงาน n = 1 ถึง  4 เท่านั้น เพราะในระดับพลังงานต่อ ๆ ไปจะมีอิเล็กตรอนไม่เกิน 32 นอกจากนั้นการศึกษาค่าพลังงานไอออไนเซชัน โดยเรียก อิเล็กตรอนวงนอกสุดว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน

การจัดเรียงอิเล็กตรอน แบบใช้หลัก  2  8  18  32  (สำหรับธาตุหมู่ 1A ถึงหมู่ 8A)

  1. ให้จัดอิเล็กตรอนทั้งหมด โดยเรียงจำนวนตามขั้นบันไดขึ้นด้านบน
  2. เมื่อไม่สามารถจัดอิเล็กตรอนขั้นถัดไป ให้จัดอิเล็กตรอนในบันไดขั้นเดิมได้ 1 ครั้งหรือขั้นที่ลดลงมา   โดยอิเล็กตรอนหลักสุดท้ายจะต้องมีจำนวนอิเล็กตรอนไม่เกิน 8 ตัว เสมอ

ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

  • เลขหมู่ จะตรงกับเลขหลักสุดท้ายของการจัดเรียงอิเล็กตรอน ดังนั้น ธาตุที่อยู่หมู่เดียวกันจะมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน
  • จำนวนหลักของระดับพลังงาน จะตรงกับเลขของคาบ ดังนั้น ธาตุในคาบเดียวกันจะมีจำนวนระดับพลังงานเท่ากัน

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานย่อยต้องอาศัยหลักการต่าง ๆ ดังนี้

1. หลักกีดกันของเพาลี ในการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทัลซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ … ส่วนอิเล็กตรอนจะใช้ลูกศร เช่น ↑ สำหรับสปินขึ้น และ ↓ สำหรับสปินลง ถ้าออร์บิทัลมีอิเล็กตรอนอยู่เต็มจะเขียนแทนด้วยรูปภาพ ↥⤓ เรียกอิเล็กตรอนทั้งสองว่า อิเล็กตรอนคู่ ถ้ามีอิเล็กตรอนเพียงครึ่งหนึ่ง นิยมเขียนเป็นสปินขึ้น ↥ และเรียกว่า อิเล็กตรอนเดี่ยว

2. กฎของฮุนด์กล่าวว่าลักษณะที่ทำให้มีอิเล็กตรอนเดี่ยวมากที่สุดเท่าที่จะมากได้” ถ้าทุกๆ ออร์บิทัลในระดับพลังงานเดียวกันนั้น มีอิเล็กตรอนอยู่เต็ม (2 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล) เรียกว่าเป็น การบรรจุเต็ม (full-filled configuration) แต่ถ้ามีอิเล็กตรอนอยู่เพียงครึ่งเดียว (1 อิเล็กตรอนต่อ 1 ออร์บิทัล) เหมือนกันหมด เราเรียกว่าเป็น การบรรจุครึ่ง (half-filled configuration)

3. หลักอาฟบาว กล่าวว่า การบรรจุอิเล็กตรอนลงในแต่ละออร์บิทัลจะต้องบรรจุลงในออร์บิทัลที่มีพลังงานต่ำสุดก่อน แล้วจึงบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลถัดไปที่มีพลังงานสูงขึ้นตามระดับพลังงานต่ำไปสูง ซึ่งไปตามแผนผังดังนี้

ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

มีบทต่อไป ->

ธาตุ ที่ มี การ จัด เรียง อิเล็กตรอน ตาม ข้อ ใด มี เว เลนซ์ อิเล็กตรอน มาก ที่สุด

ปริญญาตรี โท เอก คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ
บัณฑิตศึกษาปริญญาโทที่มีผลการเรียนดีเด่น (รางวัล ดร.แถบ นีละนิธิ)
อาจารย์พิเศษ วิชาเคมี ห้องเรียนพิเศษ gifted โรงเรียนมัธยม
วิทยากรรับเชิญ เตรียมสอบ O-NET วิชาวิทยาศาสตร์ ม.ต้น ม.ปลาย
วิทยากรรับเชิญเตรียมสอบ PAT2 และ วิชาสามัญ (เคมี)

TAG:
TCAS, เรียนออนไลน์, เรียนTCAS, เรียนพิเศษTCAS, ติวสอบแพทย์, ติวเข้าแพทย์, ติวสอบหมอ, ติวเข้าหมอ, ติวโอเน็ต, ติวสอบonet, ติว9วิชาสามัญ, คอร์สติวpat2, คอร์สpat2, เรียนพิเศษเคมี, เรียนพิเศษเคมีออนไลน์, เรียนเคมี, ติวเคมีออนไลน์

SHARE: