รายงานการปฏิบัติงานมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

บทท่ี การเขียนรายงานเพ่ือ 5 การปฏิบัติงานเชิงวชิ าชพี

สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของการเขียนรายงาน 2. ความสําคัญของรายงาน 3. ประเภทของรายงาน

1. ความหมายของการเขยี นรายงาน “การเขยี นรายงาน” หมายถึ ง ก าร เขี ยนข้ อมูล ข่ าวส าร เรื่องราวท่ีผ่านการรวบรวมผลวิเคราะห์ ประเมินผล เพื่อนํามาเสนอเป็นข้อมูลท่ี น่าเชื่อถือ ผ่านรูปแบบการเขียนท่ีมีระบบ ระเบยี บวิธีทางการเขียนรายงาน

2. ความสาํ คัญของรายงาน “การเขียนรายงาน” รายงานเป็นเคร่ืองมือสําคั ญที่ทําให้องค์ กร หน่วยงานเกิดความรู้ความเข้าใจร่วมกัน เป็นการ ส ร้า ง อ ง ค์ ค ว า ม รู ้ใ ห ม่ ที่ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ป รับ ป รุ ง เปลี่ยนแปลง สรา้ งสรรค์ และพฒั นาการปฏิบัติงานให้ มีประสทิ ธภิ าพ ทนั เหตกุ ารณ์ นอกจากน้ีผลการรายงานยังสามารถใช้เป็ น หลักฐานเอกสารอ้างอิง ดังนั้น รายงานที่ดีจะต้อง ละเอียด ทันสมัย มีหลักฐานและข้อเท็จจรงิ ท่ีแม่นยํา ชัดเจน เช่ือถือได้

3. ประเภทของรายงาน 3.1 รายงานเหตุการณ์ รายงาน รายงานเหตุการณ์เป็นการเขียนรายงานเพื่อ บรรยายเห ตุการณ์ ให้ ผู้ บังคั บบัญ ชาทราบถึ ง รายละเอียดของเหตุการณ์ ตลอดจนวิเคราะห์ สรุปผล และให้ข้อเสนอแนะอย่างครบถ้วนลงใน รายงาน การรายงานเหตุการณ์ประกอบด้วย 4 ส่วน สาํ คัญ ได้แก่ 1. ขน้ั สว่ นนํา 2. ขั้นเน้ือหา 3. ข้ันสรุปผล 4. ข้ันการให้ขอ้ เสนอแนะ

3. ประเภทของรายงาน 3.2 รายงานผลการปฏิบัติงาน รายงาน รายงานผลการปฏิบัติงานเป็นงานเขียนที่ไม่กําหนด รูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม ต้องเขียนให้มีรูปแบบสวยงาม คือ 1. รูปแบบการเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ควร ลําดับความสําคัญ เร่ิมท่ีรูปแบบตามที่หน่วยงานน้ัน ๆ กําหนด, เขียนในรูปของจดหมายหรอื บันทกึ ติดต่อ และเขียน ในรูปของรายงานขนาดส้ัน 2. วิธเี ขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน ไพรถ เลิศพิรยิ ก มล (2543 : 128) ได้เสนอแนวทางการเขียนไว้ 2 ลักษณะ คือ เขียนอย่างละเอียดทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน และ เขียนแบบสรุปความ

3. ประเภทของรายงาน 3.3 รายงานการประชุม รายงาน ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม จั ด เป็ น ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร ประเภทหนึ่ง เลขานุการในแต่ละหน่วยงานเป็นผู้มี หน้าท่ีในการจดการประชุม และนําเสนอในรูปแบบ รายงานการประชุม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2554 : 999) ให้ความหมายของ การประชุม ไว้ว่า น. รายละเอียด หรอื สาระของการประชุมท่ีจดไว้ เปน็ ทางการ

3. ประเภทของรายงาน 3.3 รายงานการประชุม รายงาน ใน ก า ร ป ร ะ ชุ ม ผู้ เข้ า ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม จํ า เป็ น ต้ อ ง เข้าใจคําศัพทเ์ ฉพาะทใ่ี ช้ในการประชมุ เพ่ือช่วยให้ สามารถสอ่ื สารได้เข้าใจและตรงประเด็น ดังน้ี - การประชุมสมัยสามัญ - การประชมุ สมัยวสิ ามัญ - องค์ประชุม - ครบองค์ประชมุ - ญตั ติ - ระเบียบวาระการประชมุ - จดหมายเชญิ ประชุม

3. ประเภทของรายงาน 3.3 รายงานการประชุม รูปแบบรายงานการประชุม รายงาน

3. ประเภทของรายงาน 3.4 รายงานทางวิชาการ รายงาน หมายถึง การนําเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ซ่ึง ร ว บ ร ว ม แ ล ะ ร้อ ย เรีย ง ข้ อ มู ล อ ย่ า ง มี แบ บ แ ผ น เกี่ยวกับวิชาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซ่ึงช่วยให้ ผู้รับรายงานทราบผลของการศึกษา ค้นคว้า ข้อมูลอย่างเป็นระบบขั้นตอนของผู้จัดทํารายงาน สามารถนํามาใช้ในการอ้างอิงได้ อีกทั้งยังแสดง ถึงความรูค้ วามสามารถของผู้จัดทํารายงาน อัน จะนําไปสูก่ ารประเมินผลการปฏิบตั ิงานได้

สว่ นประกอบของรายงาน 1. สว่ นต้น 1. ปกนอก เปน็ หน้าบอกรายละเอียดเก่ียวกับชื่อรายงาน ชื่อผ้จู ัดทาํ รายงาน ชือ่ หน่วยงาน 2. ปกใน เปน็ หน้าซง่ึ มีรายละเอียดเชน่ เดียวกับปกนอกแต่ เปน็ กระดาษปอนด์ 3. คํานํา หน้าคํานําจะกล่าวถึงจดุ ประสงค์ ขอบเขต และ อาจกล่าวถึงวิธดี ําเนินการรวบรวมข้อมูลด้วยก็ได้ 4. สารบัญ เปน็ หน้าบอกรายการ หัวขอ้ เรอ่ื งตามลําดับที่ ปรากฏในรายงาน พรอ้ มทง้ั ระบุลําดับหน้าไว้

ส่วนประกอบของรายงาน 2. ส่วนกลาง 1. เน้ือหาส่วนต้น มักกล่าวเกรนิ่ ถึงความเปน็ มาของปัญหา สภาพการณ์ ทวั่ ๆ ไปทป่ี รากฏในด้านต่าง ๆ 2. เน้ือหาส่วนกลาง สาระสาํ คัญของรายงาน ในสว่ นน้ีควรมีการอ้างอิง ขอ้ มูลหลักฐานทไี่ ด้จากการค้นควา้ และสํารวจ 3. เนื้อหาสว่ นทา้ ย บทสรุปและข้อเสนอแนะทผี่ ูจ้ ัดทาํ รายงานมงุ่ เน้นให้ผมู้ ี อํานาจสั่งการและเกี่ยวขอ้ งได้พจิ ารณาเปน็ พิเศษ

ส่วนประกอบของรายงาน 3. สว่ นท้าย 1. บรรณานุกรม เปน็ รายช่ือเอกสาร หนังสอื ต่าง ๆ ทใี่ ช้ประกอบหรอื อ้างอิงในการจัดทาํ รายงาน 2. ภาคผนวก เปน็ ข้อมูลต่าง ๆ ทเี่ พมิ่ เติมนอกเหนือจากสาระสาํ คัญ ของรายงาน 3. ดรรชนี คือ บญั ชคี ําต่าง ๆ ทปี่ รากฏในรายงาน ระบุวา่ คําใดอยู่ หน้าใดบ้าง เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผู้อ่านในการ ค้นหาคําสาํ คัญ ๆ ในรายงานนั้น

สรุปทา้ ยบท การเขียนรายงานถือเป็นส่วนสําคัญส่วนหน่ึงใน ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ทุ ก อ ง ค์ ก ร ผู้ เ ขี ย น ร า ย ง า น จําเป็นต้องมีทักษะทางการสื่อความ จากนั้นกําหนด รูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะของรายงาน แล้วจึง ลงมือเขียนโดยเลือกใช้ภาษาที่ส่ือความอย่างตรง ประเด็นและชัดเจน การเขียนรายงานท่ีดี ย่อมจะ ชว่ ยแสดงผลของการปฏิบัติงานให้เปน็ ทปี่ ระจักษ์ได้

การเขียนรายงานการปฏิบตั ิงาน เป็ นการเขียนเพื่อนาเสนอส่ิงท่ีได้
ปฏิบตั ิหรือพบเห็นต่อผู้บงั คบั บญั ชา หรือหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ เรื่องท่ี
นามาเขียนรายงานอาจเป็ นเรื่องท่ีได้รบั มอบหมายให้ไปทาหรืออาจเป็ น

เร่ืองเกี่ยวกบั ความก้าวหน้าหรือความสาเรจ็ ของงาน
ในหน้ าท่ี ท่ี ตนรับผิ ดชอบ การเขียนรายงานผล
การปฏิ บัติ งานอาจมีผลต่อการทางานในองค์กร
ทงั้ ภาครฐั รฐั วิสาหกิจ เอกชน รวมถึงต่อผ้บู ริหาร หรือ
ผเู้ ก่ียวข้องอย่างใดอย่างหน่ึง

๗๐

รายงานผลการปฏิบตั ิ หมายถึง การเขียนเพื่อให้ทราบถึงภารกิจ
ที่ได้รับมอบหมาย หลังจากปฏิ บัติ งานเสร็จสิ้ นแล้ว และเสนอต่อ
ผ้บู งั คบั บญั ชาหรือผ้ทู ี่เกี่ยวข้องต่อไปการเขียนรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
จึงต้องเขียนอย่างมีหลกั เกณฑ์ โดยมีสาระสาคญั ของการเขียนรายงานผล

การปฏิบตั ิงาน การนาเสนอรายงานการปฏิบตั ิงานอาจทา
เป็ นประจาเสมอตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ เช่น รายงาน
ประจาเดือน รายงานประจาปี หรือรายงานของแผนกต่างๆ
บางครงั้ การนาเสนอรายงานการปฏิบตั ิงานอาจทาเป็ นครงั้
คราวตามความต้องการและความจาเป็ น เรียกว่า “รายงาน
พิเศษ” ซึ่งมกั เป็ นการวิเคราะห์หรือวางแผนงานในอนาคต

เพื่อกาหนดแนวทางการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน

๗๑

1 ใช้รปู แบบตามที่หน่วยงานนัน้ ๆ กาหนด
2 เขียนในรปู ของจดหมายหรอื บนั ทึกติดต่อ
3 เขียนในรปู ของรายงานขนาดสนั้

วิธีเขียนรายงานการปฏิบตั ิงาน

มีแนวทางการเขียนรายงานการปฏิบตั ิงานไว้ ๒ ลกั ษณะ คือ

๑ เขียนอย่างละเอียดทกุ ขนั้ ตอนของการปฏิบตั ิงาน

๒ เขียนแบบสรปุ ความ ๗๒

การนาเสนอรายงานการปฏิบตั ิงาน

ม๑ี ๒ ลกั ษณะ ได้แก่
การเสนอรายงานปากเปล่า
๒ การเสนอรายงานเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

๑ เพื่อช่วยในการตดั สินใจหรือค้นหาสาเหตคุ วามต้องการ
๒ เพ่ือช่วยสาหรบั การตดั สินใจว่า ควรจะดาเนินงานต่อไป

๓ เพื่อช่วยในการตดั สินใจปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลงงาน

๔ เพ่ือเผยแพร่ความก้าวหน้าของงาน
๕ เพ่ือช่วยส่งเสริมความเข้าใจ
และความร้พู ืน้ ฐาน
๗๓

การเขียนรายงานมีหลายรปู แบบขึน้ อย่กู บั วตั ถปุ ระสงค์ เนื้อหา

๑ท่ีม่งุ ศึกษาและระยะเวลาที่ทาในท่ีนี้จะแบง่ เป็น ๓ ประเภท ได้แก่
รายงานขนาดสนั้ แบบไม่เป็นทางการ
๒ รายงานขนาดยาวแบบเป็นทางการ
๓ รายงานท่ีอย่ใู นรปู ของการกรอกข้อความ
ลงในแบบฟอรม์

๗๔

๑. รายงานขนาดสนั้ แบบไม่เป็นทางการ

 มีความยาวไม่เกิน ๑๐ หน้า

บางครงั้ อาจมีแค่ประโยคเดียว

เช่น การให้ข้อมลู บางอย่าง รายงาน
ขนาดสนั้
องคป์ ระกอบ ใช้ในโอกาสเร่งด่วนกบั เรอ่ื งราว
ท่ีไมเ่ ป็นทางการนัก
 มีรปู แบบวิธีเขียนหลายแบบ แบง่ เป็น ๓ ส่วน คือ

นิยมเขียน ในรปู บนั ทึก ซึ่งมกั ใช้

เป็นการภายใน หรอื อยใู่ นรปู ๑. ตอนต้นหรอื ส่วนหน้า

จดหมายซึ่งนิ ยมใช้ภายนอกที่ ๒. เนื้อหา
เป็ นทางการมากกว่า ๓. ตอนท้ายหรือสรปุ

๗๕

๒. รายงานขนาดยาวแบบเป็นทางการ

 มีความยาวตงั้ แต่ ๑๐ หน้าขึน้ ไป องคป์ ระกอบ รายงาน
มีขอบเขตของเรื่อง
แบง่ เป็น ๔ ส่วน คือ ขนาดยาว
 มีข้อมลู รายละเอียดที่กวา้ งขวาง
ต้องอาศยั การวิเคราะหอ์ ย่าง ๑. หนังสือนาส่งรายงาน
ละเอียด มีความชดั เจนแม่นยา ๒. ส่วนต้นของรายงาน
๓. ส่วนเนื้อหา
 ใช้เป็นหลกั ฐานอ้างอิงได้ ๔. ส่วนท้าย

 นิยมจดั ทาเป็นรปู เล่ม

 มีการใส่สถิติ ตาราง รปู ถา่ ย และ
เอกสารอ้างอิงตามระเบียบแบบ
แผนที่กาหนดไว้

๗๖

๓. รายงานที่อย่ใู นรปู
ของการกรอกข้อความ
ลงในแบบฟอรม์

เป็ นการเขียนรายงานในแบบฟอรม์ ท่ีเตรียมไว้
แล้ว มกั ใช้กบั การรายงานผลที่รีบด่วน หรือรายงานท่ี
ทาเป็ นประจา เช่น การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ประจาวนั การบนั ทึกผลการขายสินค้าประจาวนั

๗๗

การเขียนรายงานการปฏิบตั ิงานเป็ นการเขียนเพ่ือนาเสนอส่ิงท่ี
ได้รบั มอบหมายต่อผ้บู งั คบั บญั ชา หรือหน่วยงานที่รบั ผิดชอบ ต้องใช้ภาษา
ท่ีสุภาพ ใช้รปู แบบการเขียนรายงานการปฏิบตั ิงานท่ีถกู ต้อง เขียนในส่ิงที่
สร้างสรรคแ์ ละคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นสาคญั

๗๘

การรายงานการปฏิบัติงานหมายถึงอะไร

การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน เป็นการเขียนเพื่อนาเสนอสิ่งที่ได้ปฏิบัติหรือพบ เห็นต่อ ผู้บังคับบัญชา หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน อาจมีผลต่อการท างานในองค์กรทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน รวมถึงต่อผู้บริหาร หรือ ผู้เกี่ยวข้องอย่างใดอย่างหนึ่ง

การทำรายงานมีอะไรบ้าง

ส่วนประกอบรายงาน 1. ปกนอก 2. ปกรอง (กระดาษเปล่าสีขาว) 3. ปกใน (เหมือนปกนอกทุกประการแต่ใช้กระดาษขาว) 4. คานา 5. สารบัญ 6. สารบัญตาราง 7. สารบัญภาพ 8. เนื้อหา 9. บรรณานุกรม หรือแหล่งอ้างอิง 10. ประวัติผู้จัดทา 11. ปกรองหลัง (กระดาษเปล่าสีขาว) 12. ปกหลัง การจัดระยะขอบ หรือจัดกั้นหน้า - กั้นหลัง

องค์ประกอบของรายงานการปฏิบัติงานมีกี่ส่วนอะไรบ้าง

การประเมินผล ส่วนประกอบของรายงานการค้นคว้าทั่วไปแบ่งได้ 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วน ประกอบตอนท้าย ดังนี้ ส่วนประกอบตอนต้น เป็นส่วนประกอบที่อยู่ตอนต้นเล่มของรายงานก่อนถึงเนื้อเรื่องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้

การเขียนรายงานการปฏิบัติงานต้องใช้ภาษาอะไร

ภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงาน.
ใช้คำและข้อความที่สุภาพ ศัพท์บัญญัติ ศัพท์ทางราชการ.
ใช้คำเต็มไม่ใช้คำย่อ สำหรับตำแหน่ง ยศ คำนำหน้าหรือคำย่ออื่นๆ.
ใช้ภาษาระดับเดียวกัน ไม่ใช้ภาษาแสลงหรือภาษาถิ่น.
เขียนเป็นรูปประโยคสมบูรณ์ ไม่ตัดทอน.
ข้อเขียนเป็นทางการ เป็นกลาง เคร่งขรึม.
ไม่ใช้คำแสดงอารมณ์ โต้แย้ง เล่นสำนวนโวหาร.