โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร

Jet Stream ( กระแสลมกรด )

     คือ แถบกระแสลมแรงที่เคลื่อนที่ในเขตโทรโพพอส (แนวแบ่งเขตระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์กับชั้นสตราโตสเฟียร์)
โดยพัดจากด้านตะวันตกไปตะวันออกตามแนวการหมุนของโลก และพัดโค้งไปมาคล้ายแม่น้ำจากละติจูดสูงไปละติจูดต่ำ
หรือจากละติจูดต่ำไปละติจูดสูง กระแสลมนี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมีความยาวหลายพันกิโลเมตร มีความกว้าง
2-3 ร้อยกิโลเมตร แต่มีความหนาเพียง 2-3 กิโลเมตรเท่านั้น โดยทั่วไปกระแสลมกรดจะพบที่ระดับความสูง 10-15 กิโลเมตร
(6-9ไมล์) เหนือพื้นโลก

     กระแสลมกรดมีความเร็วประมาณ 50-300ไมล์ต่อชั่วโมง ตรงแกนกลางของลมเป็นบริเวณแคบๆแต่มีลมพัดแรงที่สุด
โดยความเร็วลมเฉลี่ย 80 นอต หรือ 92ไมล์ต่อชั่วโมงและอาจเพิ่มถึง 300ไมล์ต่อชั่วโมงในหน้าหนาว บริเวณกระแสลม
อากาศจะมีความแปรปรวนปั่นป่วนมาก เนื่องจากความแตกต่างของความแรงของกระแสลมกรดกับอากาศที่อยู่บริเวณใกล้เคียง
กระแสลมกรดยังมีอิทธิพลเป็นอย่างมากต่อการก่อตัวของเมฆฝนฟ้าคะนอง โดยส่งผลให้มีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นอย่างรุนแรงได้

โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร

โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร

     กระแสลมกรดเป็นกระแสลมที่เกิดในบรรยากาศ ซึ่งพัดจากด้านตะวันตกไปตะวันออก กระแสลมกรดจะไหลอยู่บริเวณ
ขอบระหว่างอากาศร้อนกับอากาศเย็น จะมีความแตกต่างกันมากในฤดูหนาวเกิดได้ทั้งซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ ความเร็ว และตำแหน่งของกระแสลมกรดจะเปลี่ยนไปวันต่อวัน กระแสลมกรดในบริเวณละติจูดสูงมีความแรงมากกว่ากระแสลมกรด
ในบริเวณศูนย์สูตร กระแสลมกรดในฤดูหนาวมีความแรงมากกว่าในฤดูร้อน และฤดูหนาวจะพบกระแสลมกรดใน
ละติจูดกลางและละติจูดต่ำได้ นอกจากนี้ตำแหน่งการเกิดของกระแสลมกรดยังสัมพันธ์กับระบบอากาศผิวพื้่น
โดยเฉพาะหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงและแนวปะทะอากาศ และยังพบว่าในช่วงฤดูหนาว กระแสลมกรดในซีกโลกเหนือ
ที่มีทิศทางมาทางใต้และวกกลับขึ้นไปทางเหนือ จะวิเคราะห์ได้เป็น Trough ในระดับสูง เนื่องจากด้านตะวันตกประกอบด้วย
อากาศแห้งและเย็น และอากาศยกตัวขึ้นทางด้านตะวันออกของ Trough และจะเกิดฝนฟ้าคะนองที่รุนแรงได้

กระแสลมกรดแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ๆคือ

1. กระแสลมกรดกึ่งโซนร้อน ( Subtropical Jet ) เกิดขึ้นในละติจูด 25 ถึง 40 องศาเหนือและใต้ ซึ่งเป็นเขตความกดอากาศสูง
กึ่งโซนร้อน มักเกิดที่ระดับความสูงประมาณ13 กิโลเมตร มีความเร็วลม 80-150 นอต บางครั้งมากว่า 400 นอต พบได้บ่อยบริเวณ
เอเชียตะวันออก และแปซิฟิก

2. กระแสลมกรดบริเวณขั้วโลก (Polar Jet ) เกิดในละติจูด45 ถึง60 องศาเหนือและใต้ มักเกิดที่ระดับความสูง8 ถึง10 กิโลเมตร
พบได้ใกล้แนวปะทะอากาศขั้วโลกซึ่งเกิดจากอากาศหนาวจากขั้วโลกเคลื่อนที่มาพบกับอากาศอุ่นจากเขตร้อนและอยู่เหนือแนว
ปะทะอากาศขั้วโลก

โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร

โพลาร์เซลล์ อยู่ระหว่างละติจูดเท่าไร

ผลกระทบ

1.ผลกระทบต่อบรรยายกาศ กระแสลมกรดเป็นกระแสลมที่มีความแรงมากสามารถมีผลกระทบกับระบบของอากาศโดยรอบ
และปรากฎการณ์ที่มักเกิดร่วมกับกระแสลมกรดเรียกว่า บริเวณความปั่นป่วนในอากาศแจ่มใส (Clear air turbulence: CAT )

2.ผลกระทบต่อการบิน อันตรายของกระแสลมกรดต่อเครื่องบินที่กำลังทำการบิน โดยเฉพาะเครื่องบินขนาดใหญ่ที่ทำการบิน
ในระดับสูงๆ เมื่อเครื่องบินเข้าสัมผัสกับกระแสลมกรดจะประสบกับความปั่นป่วนของอากาศอย่างรุนแรงอันเกิดจากวินเชียร์
ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน และอันตรายจากความเร็วลมซึ่งทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของเครื่องบินอย่างรุนแรง
ก่อให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องบินและผู้โดยสารอาจได้รับบาดเจ็บได้

** หมายเหตุ ดังนั้นก่อนทำการบินทุกครั้งนักบินต้องศึกษาตำแหน่งและความรุนแรงของลมในแนวของกระแสลมกรด
ให้ละเอียดจากเอกสารประกอบการบิน(Flight Folder) และข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาอื่นๆเพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดอันตราย
จากกระแสลมกรดให้น้อยลง

กขารอหงมอนุากเวายศี น

คาํ นํา

หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK)
เรืองการหมุนเวียนของอากาศเล่มนีเปน
ส่ วนหนึงของรายวิชาโลก ดาราศาสตร์
และอวกาศ(ว30104) กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ จัดทําขึนเพือเปนสื อ
ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ พื อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ด้
เข้าใจในเรืองการหมุนเวียนของอากาศ
มากขึนโดยจัดทําเปนหนังสื อเรียนในรูป
แบบหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK)
เพือเพิมความน่าสนใจให้แก่นักเรียน และ
เปนการนําเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิด
ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า

คณะผู้จัดทําหวังเปนอย่างยิงว่าหนังสื อ
อิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) เล่มนีจะเปน
ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ผู้ ที ม า ศึ ก ษ า
หากมีข้อแนะนําหรือข้อผิดพลาดประการ
ใดคณะผู้จัดทําขอน้อมรับไว้และขออภัย
มา ณ ทีนีด้วย

คณะผู้จัดทาํ
วันที 3 สิ งหาคม พ.ศ.2563

สารบัญ

ความแตกต่างของความกดอากาศกับการ 1-3
หมุนเวียนของอากาศ

การหมุนรอบตัวเองของโลกกับการหมุนเวียน 4-9
ของอากาศ

แฮดเลเซล์(HADLEY CELL) 7
เฟอรเรเซลล์(FERRELCELL) 8
โพลารเซลล์ (POLAR CELL) 9

กัสปาร์-กุสตาฟว์ เดอ คอริออลิส 10
(GASPARD-GUSTAVE DE CORIOLIS)

จอร์จ ฮั ดลีย์ 11
(GEORGE HADLEY)

ใ น ธ ร ร ม ช า ติ บ ริ เ ว ณ พื น ผิ ว โ ล ก ที มี
อุณหภูมิสู งส่ งผลให้บริเวณนันมี
ความกดอากาศตาํ กว่าบริเวณโดย
ร อ บ ใ น ท า ง ก ลั บ กั น บ ริ เ ว ณ พื น ผิ ว
โลกทีมีอุณหภูมิตํามีความกดอากาศ
สู งกว่าบริเวณโดยรอบเมือความ
กดอากาศระหว่างสองบริเวณแตก
ต่างกันจะเกิดแรงทีทําให้อากาศ
เคลือนทีเรียกแรงนีว่า“แรงทีเกิด
จากความแตกต่างของความกด
อากาศ(PRESSURE GRADIENT
FORCE) โดยอากาศจะเคลือนที
จากบริเวณทีมีความกดอากาศสู ง
กว่าไปยังบริเวณทีมีความกดดัน
อากาศตาํ กว่าและอากาศจะ
เคลือนทีหมุนเวียนต่อเนืองกัน

การหมุนเวียนของอากาศทังใน
แนวราบและแนวดิงจะส่ งผลให้
เกิดลมฟาอากาศแตกต่างกันไป
ทังนีขึนอยู่กับปจจัยหลายอย่าง
เ ช่ น อุ ณ ห ภู มิ ค ว า ม ชื น ลั ก ษ ณ ะ พื น
ดิ น แ ล ะ พื น นํา ห า ก พิ จ า ร ณ า บ ริ เ ว ณ
ทีมีการเคลือนทีของอากาศในแนว
ดิงอากาศในบริเวณความกด
อากาศตาํ ยกตัวขึนทําให้มีโอกาส
เกิดเมฆมากส่ วนอากาศในบริเวณ
ความกดอากาศสู งจมตัวลงทําให้มี
เมฆน้อยท้องฟาเหนือบริเวณดัง
กล่าวค่อนข้างปลอดโปร่ง

สําหรับการเคลือนทีของอากาศใน
แนวราบทาํ ให้เกิดลมรูปแบบต่างๆ
ซึงมีผลต่อลมฟาอากาศเช่นในช่วง
เ ดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น ถึ ง กุ ม ภ า พั น ธ์ เ กิ ด
มรสุ มตะวันออกเฉียงเหนืออากาศ
เคลือนทีในแนวราบจากบริเวณ
ความกดอากาศสู งจากประเทศจีน
มายังประเทศไทย
ซึงมีความกดอากาศตํากว่า
ซึงการเคลือนทีของอากาศดังกล่าว
จะนําอากาศอุณหภูมิตาํ และความชืน
ตําเข้ามาปกคลุมประเทศไทยส่ งผล
ให้เกือบทุกภาคของประเทศมี
อุ ณ ห ภู มิ ล ด ล ง จ น บ า ง พื น ที มี
อากาศหนาวเย็น

การหมุนรอบตวั เองของโลก
การหมุนรอบตัวเองของโลก ขณะ
ทีโลกหมุนรอบตัวเอง1รอบ โลก
จะเคลือนทีรอบดวงอาทิตย์ไป
ด้วย ทําให้โลกซีกหนึงทีได้รับแสง
อาทิตย์เกิดเวลากลางวัน ซึงกิน
เวลา 12 ชัวโมง ส่ วนโลกอีกซีก
หนึงทีไม่ได้รับแสงอาทิตย์จะมืด
เกิดเวลากลางคืน ซึงกินเวลา
12 ชัวโมง ดังนันการหมุนรอบตัว
เองของโลก 1 รอบ กินเวลา 24
ชัวโมง หรือ 1 วัน ทาํ ให้เกิดกลาง
วันและกลางคืน

การหมนุ เวียนอากาศ

โลกมีสั ณฐานเปนทรงกลม โคจรรอบดวง
อาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลา 1 ปหากโลกไม่หมุน
รอบตัวเอง บริเวณเส้ นศูนย์สู ตรของโลก
จะเปนแถบความกดอากาศตํา(L)มีอุณภูมิ
สู ง เนืองจากแสงอาทิตย์ตกกระทบเปน
มุมฉาก ส่ วนบริเวณขัวโลกทังสองจะเปน
แถบความกดอากาศสู ง(H)มีอุณหภูมฺิตํา
เนืองจากแสงอาทิตย์ตกกระทบเปนมุม
ล า ด ข น า น กั บ พื น   อ า ก า ศ ร้ อ น บ ริ เ ว ณ
ศูนย์สู ตรยกตัวขึนทาํ ให้อากาศเย็นบริเวณ
ขัวโลกเคลือนตัวเข้าแทนที
เซลล์การหมุนเวียนของบรรยากาศ
จึงแบ่งออกเปน 3 เซลล์ ได้แก่
แฮดเลย์ เซลล์ (HADLEYCELL) เฟอร์
เรลเซลล์ (FERREL CELL)
โพลาร์เซลล์ (POLAR CELL)

1.แฮดเลเซล์(HADLEY CELL)
การหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้อน
เปนการหมุนเวียนอากาศระหว่าง
เส้ นศูนย์สู ตรถึงละติจูดที 30 ทัง
เหนือและใต้ โดยทีบริเวณศูนย์สู ตร
มีความเข้มรังสี ดวงอาทิตย์มากจึง
ทําให้อุณหภูมิเฉลียของอากาศสู ง
กว่าบริเวณอืน ก่อตัวเปนแนวของ
บริเวณตํา เรียกว่า''แนวความกด
อากาศตาํ บริเวณ
ศูนย์สู ตร''(EQUATORIAL LOE
PRESSURE BELT) อากาศมีการ
ยกตัวขึนและกระจายตัวทีโทรโพพอ
สไปตามละติจูดทีสู งขึน อากาศจึงมี
อุณภูมิลดตาํ ลง ทาํ ให้ความหนาแน่น
เพิมมากขึน ความกดอากาศสู งขึน
และจมตัวลงทีละติจูดที 30 องศา
เรียกว่า''แนวความกดอากาศสู งกึง
เขตร้อน''(SUBTROPICAL HIGH
PRESSURE ZONE)

2.เฟอรเรลเซลล์(FERREL CELL)
การหมุนเวียนอากาศแถบละติจูด
กลาง เปนบริเวณทีมีการหมุนเวียน
อากาศระหว่างละติจูดที 30 ถึง 60
องศาเหนือและใต้ เปนการ
หมุนเวียนอากาศทีเปนผลจากแฮ
ดลีย์เซลล์และโพลาร์เซลล์ โดยการ
เคลือนทีของอากาศจะได้รับอิทธิพล
จากแรงงคอริออลิสทาํ ให้อากาศ
เคลือนทีเปนแนวโค้งจากทางทิศ
ตะวันตกไปทางตะวันออก เรียกว่า
''ลมตะวันตก'' (WESTERLY
WIND)

3.โพลารเซลล์ (POLAR CELL)
การหมุนเวียนอากาศแถบขัวโลก
เปนการหมุนเวียนอากาศระหว่างขัว
โลกถึงละติจูดที 60 องศา เหนือ
และใต้ โดยทีบริเวณขัวโลกมีความ
เข้มรังสี ดวงอาทิตย์น้อยจึงมี
อุณหภูมิตําและมีความกดอากาศสู ง
เรียกว่า ''แนวความกดอากาศสู งขัว
โลก''(POLAR HIGH PRESSURE
ZONE) อากาศบริเวณดังกล่าวจะ
เคลือนทีไปยังละติจูดทีตาํ กว่า
เนืองจากแรงทีแตกต่างของความ
กดอากาศ เนืองจากแรงคอริออลิส
เมืออากาศเย็นจากขัวโลกมาปะทะ
กับอากาศอุ่นกว่าทีละติจูดที60องศา
เรียกว่า ''แนวความกดอากาศตํากึง
ขัวโลก'' (SUBPOLAR LOW
PRESSURE BEELT)

เปนนักคณิตศาสตร์
นักฟสิ กส์ และวิศวกร
ช า ว ฝ รั ง เ ศ ส ศึ ก ษ า
พลังงานจลน์จนในป
ค.ศ.1835ค้นพบ”แรง
คอริออลิส”ซึงเปนแรง

เสมือนเกิดจากการที
โลกหมุนรอบตัวเอง
แรงคอริออลิสไม่มี

อิทธิพลต่อกระแสลมทีบริเวณ
เส้ นศูนย์สู ตร แต่จะมีอิทธิพลมากขึนใน
ละติจูดสู งเข้าใกล้ขัวโลกแรงคอริออลิส
ทําให้ลมในซีกโลกเหนือเบียเบนไปทางขวา
ไซโคลนหมุนตัวทวนเข็มนา ิกาเข้าสู่
ศูนย์กลาง และทําให้ลมในซีกโลกใต้เบียง
เบนไปทางซ้ายไซโคลนหมุนตัวตามเข็ม
นา ิกาสําหรับประเทศไทยอยู่เหนือ
เส้ นศูนย์สู ตรจึงทําให้ไซโคลนหมุนทวนเข็ม
นา ิกา

เปนทนายความ
ภาษาอังกฤษ
นักอุตุนิยมวิทยา
และนักฟสิ กส์ ผู้
เสนอแบบจาํ ลอง
การหมุนเวียนของ
อากาศแบบเซลล์
เดียว
SINGLE-CELL
MODEL)
โดยสมมติให้ดวงอาทิตย์อยู่เหนือ
เส้ นศูนย์สู ตรทําให้บริเวณเส้ นศูนย์สู ตร
เปนบริเวณทีมีรังสี จากดวงอาทิตย์ส่ อง
ม า ยั ง พื น โ ล ก ต ล อ ด เ ว ล า บ ริ เ ว ณ นี จึ ง มี
อุณหภูมิสู ง(อากาศร้อน) กว่าบริเวณ
อืนๆอากาศทีมีอุณหภูมิตํา(อากาศเย็น)
จากขัวโลกเข้ามาแทนที ทาํ ให้อากาศร้อน
ทีมีอยู่ลอยตัวสู งขึนและการเคลือนทีจาก
บริเวณเส้ นศูนย์สู ตรไปยังบริเวณขัวโลก
ส่ งผลให้มีกระแสลมเกิดขึน
การหมุนเวียนดังกล่าวนีเรียกว่า แฮดลีย์
เซลล์(HADLEY CELL)

รายชชือสมาชิก

1.น.ส.นนั ทนชั พมิ วานนั ธ์ เลขที 23
2.น.ส.มารสิ า เคกเกเลเนน เลขท2ี 8
3.น.ส.เมธาวี พยฆั ศริ ิ เลขที29
4.น.ส.ลลติ ตา ราชชาลี เลขที31
5.น.ส.สุธาสนิ ี มิ ากดี เลขท3ี 2
6.น.ส.อรยา โหราจันทร์ เลขท3ี 5

ม.6/9

THE
END


โพลาร์เซลล์เป็นการหมุนเวียนอากาศแถบใด

การหมุนเวียนอากาศแถบขั้วโลกหรือโพลาร์เซลล์ (polar cell)

แนวความกดอากาศต่ำกึ่งขั้วโลกอยู่บริเวณละติจูดใด

แถบความกดอากาศต่ำกึ่งขั้วโลก (Subpolar low) ที่บริเวณละติจูดที่ 60° เป็นเขตอากาศยกตัว เนื่องจากอากาศแถบความกดอากาศสูงกึ่งศูนย์สูตร (H) เคลื่อนตัวไปทางขั้วโลก ถูกแรงโคริออริสเบี่ยงเบนให้เกิดลมพัดมาจากทิศตะวันตก เรียกว่า “ลมเวสเทอลีส์” (Westerlies) ปะทะกับ “ลมโพลาร์อีสเทอลีส์” (Polar easteries) ซึ่งพัดมาจากทิศตะวันออก ...

การหมุนเวียนอากาศระหว่างเส้นศูนย์สูตรถึงละติจูดที่ 30 องศา เหนือและใต้ คือข้อใด *

ลมค้า (อังกฤษ: trade wind หรือ อังกฤษ: easterlies) เป็นลมประจำปีที่พัดจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เป็นลมที่พัดอยู่ทั่วไปในบริเวณศูนย์สูตรของโลก (ระหว่างละติจูด 30° เหนือ ถึง 30° ใต้) ลมค้าจะพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในซีกโลกเหนือ และพัดจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ในซีกโลกใต้ พัดแรงขึ้นในระหว่างฤดูหนาวและเมื่อความผันแปรของ ...

เพราะเหตุใดอากาศจึงจมตัวลงบริเวณละติจูดที่ 30 องศาและบริเวณขั้วโลก

อากาศเย็นที่บริเวณเส้นละติจูด 30° เหนือและใต้ ที่จมตัวลงพื้นผิวโลกเนื่องจากความกดอากาศสูงจะถูกกดและผลักให้ไหลไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำบริเวณเส้นศูนย์สูตร จนถึงบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรและหมดกำลังทำให้เกิดเขตลมสงบ หรือลมอ่อน (doldrums)