จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

          ���Ҩ��֡�����������ͤ��������§ 124 ��÷Ѵ ���è�����ͧ��Ƿ���ش����¤س��ҷҧ�Ԫҡ�������Ң� ���㹴�ҹ�Ե���ʵ�� �Ѱ��ʵ�� ���ɰ�Ԩ�ѧ�� ����ѵ���ʵ�� ������ʵ�� ������ʵ�� ��ó��� ��ʹ� ��Ш��յ���ླ� ��ҹ�Ե���ʵ�� ���Ҩ��֡��ѡ����Ҩ������ �繡������Ѱ�����٭��º��Ѻ�Ѱ�����٭��Ѻ�á�ͧ�ѧ��� �ա�á�˹��Է�������Ҿ�ͧ��ЪҪ� ����ѡ���Է������ª� �����ҡ��ͤ���������Ƕ֧ �ա�ä�����ͧ����֡ �͡�ҡ��� �ѧ�բ�ͤ�������͹�繺��ѭ�ѵ�㹡������ú����к��ѭ�ѵ�㹡��������ѡɳФ�ͺ��������ô� ��ʹ����þԨ�óҤ����������ҭ�

          ���Ҩ��֡����ѡ�ҹ���ҧ˹�觷���þ��������ҳ���ҧ������Ͷ��·ʹ����ͧ������͹ت������ѧ���Һ����ͧ����Դ����ʹյ㹪�ǧ���ҷ���ա�è��֡���ҹ��� �͡�ҡ������Ҩ��֡�ѧ����ѡ�ҹ�Ӥѭ���ҧ˹��㹡���֡���Ԫһ���ѵ���ʵ�������ҳ��� ��èѴ�ӴѺ�����Ӥѭ�ͧ��ѡ�ҹ����͡�����ҧ�ԧ��� ��͡ѹ������Ҩ��֡���͡��â����Ż������ (primary source) ����դس�������ҧ�ԧ��
          ���Ҩ��֡��ҷ���ش��辺㹻������ ��ҷ������ѡ�ҹ�ҧ�ѡ�Ҫ��ҡ�������¤�� ���֡�ҹ��� ������ҹ��� �������ѭ����� �ѧ��Ѵ��Ҩչ���� ���ҧ���㹻վط��ѡ�Ҫ 1180 ���֡��辺�����㹻���������ѡ�õ�ҧ� �ѹ �� �ѡ�û����� �ѡ���ͭ��ҳ �ѡ�â����ҳ
          ���֡��褹�·Ӣ�鹻�ҡ���ѡ�ҹ㹵鹾ط�ȵ���ɷ�� 19 ����ͤ��¡�͵���ҳҨѡ���⢷�¢���ᶺ����������� ��͢ع������˧����Ҫ ��ѵ������ͧ���� 3 ����Ҫǧ����⢷�����д�ɰ��������¢��㹻վط��ѡ�Ҫ 1826 ������������Ҩ��֡��͢ع������˧����Ҫ (���Ҩ��֡��ѡ��� 1) �繨��֡�ѡ���·����ҷ���ش ���������ѡɳТͧ�ٻ�ѡ���·�����㴨������� �����Ҩ��龺���֡�ѡ���¨ӹǹ�ҡ㹷ء�Ҥ�ͧ������� ����ѡ�ҹ��ä鹾���ҡ���� ���֡����ҹ�����������������ҧ�ط�ȵ���ɷ�� 20 ŧ�ҷ����� �ٻ�ѡ����������⢷���������Ẻ�ͧ�ٻ�ѡ���·��������»Ѩ�غѹ
            ���֡�ٻ�ѡ�����¾�͢ع������˧����Ҫ�����Ѳ�ҡ���繨��֡�ٻ��ҧ� ��� 

 เนื้อความของศิลาจารึกหลักที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงผนวชได้ทรงอ่านศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงเป็นพระองค์แรก ซึ่งถือว่าเป็นการอ่านจารึกภาษาไทยโบราณ เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ต่อมามีนักปราชญ์ราชบัณฑิตอีกหลายท่านได้ทำการอ่านและแปลความ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง สามารถสรุปเนื้อหาได้ ๓ ตอนดังนี้ ตอนที่ ๑ กล่าวถึงเรื่องราวส่วนพระองค์ของพ่อขุนรามคำแหงตั้งแต่ประสูติจนได้เสวยราชสมบัติ สันนิษฐานว่าตอนที่ ๑ นั้นจารึกขึ้นโดยพระราชดำรัสของพ่อขุนรามคำแหงเอง สังเกตได้จากการใช้ว่า “กู” ในการเล่าเรื่องราว ตอนที่ ๒ เล่าเรื่องราวเหตุการณ์ต่าง ๆ และธรรมเนียมในเมืองสุโขทัย การสร้างพระแท่นมนังคศิลาเมื่อ มหาศักราช ๑๒๑๔ (พ.ศ.๑๘๓๕) การสร้างพระธาตุเมืองศรีสัชนาลัย เมื่อ มหาศักราช ๑๒๐๗ (พ.ศ.๑๘๒๘) และการประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นเมื่อ มหาศักราช ๑๒๐๕ (พ.ศ.๑๘๒๖) ตอนที่ ๓ สันนิษฐานว่าจารึกขึ้นภายหลังหลายปี เพราะตัวหนังสือไม่เหมือนกับตอนที่ ๑ และที่ ๒ คือตัวพยัญชนะลีบกว่าทั้งสระที่ใช้ก็ต่างกันบ้าง เนื้อหาของตอนที่ ๓ นี้ เป็นคำสรรเสริญ และยอพระเกียรติคุณของพ่อขุนรามคำแหง และกล่าวถึงอาณาเขตเมืองสุโขทัย 

  คำที่ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่นและจีน น้อง ๆ ทราบไหมคะว่ามีคำไหนบ้าง ทั้งสองประเทศนี้คือประเทศในแทบเอเชียเหมือนกัน แต่ก็ไม่ได้อยู่ใกล้เรานัก แล้วทำไมถึงมีคำจากภาษาญี่ปุ่นและจีนเข้ามาปะปนอยู่ในชีวิตประจำได้ บทเรียนภาษาไทยเรื่องลักษณะคำที่ยืมมาจากภาษาญี่ปุ่นและจีนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับคำศัพท์ต่าง ๆ ที่ยืมมา จะมีคำไหนบ้าง ไปดูพร้อมกันเลยค่ะ   ที่มาของภาษาญี่ปุ่นและจีนในภาษาไทย     คำที่ยืมมาจากญี่ปุ่นและจีน มีด้วยกันมากมายหลายคำเลยค่ะ บางคำ อาจจะไม่ทันสังเกตด้วยซ้ำว่าเป็นภาษาญี่ปุ่นกับจีน ไม่ใช่คำภาษาไทย เพราะสองประเทศในเอเชียนี้เข้ามามีอิทธิพลกับประเทศมาตั้งแต่โบราณ

ศิลาจารึกหลักที่ 1มีความเป็นมาอย่างไร น้อง ๆ ก็คงจะได้เรียนรู้กันไปแล้ว วันนี้เรื่องที่เราจะมาศึกษากันต่อก็คือเนื้อหาเด่น ๆ ที่น่าสนใจและคุณค่าที่อยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 1 กันค่ะ ไปดูพร้อมๆ กันเลยว่าในศิลาจารึกจะบันทึกเรื่องเล่าอะไรไว้บ้าง และมีคุณค่าด้านใด

 

ศิลาจารึกหลักที่ 1 : ตัวบทที่น่าสนใจ

 

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

 

 

พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูมีพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมยังเล็ก

 

ถอดความ พ่อขุนรามคำแหงได้บอกเล่าเรื่องราวของตัวเองว่ามีพ่อชื่อศรีอินทราทิตย์ มีแม่ชื่อนางเสือก มีพี่ชื่อบานเมือง มีพี่น้องร่วมสายเลือดอยู่ 5 คน ผู้ชายสามคน และผู้หญิง 2 คน พี่คนโตเสียชีวิตไปตั้งแต่ยังเล็ก

 

เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่เมืองตาก พ่อกูไปรบขุนสามชนหัวซ้าย ขุนสามชนขับมาหัวขวา ขุนสามชนเกลื่อนเข้า ไพร่ฟ้าหน้าใสพ่อกู หนีญญ่ายพายจะแจ้น กูบ่หนี กูขี่ช้างเบกพล กูขับเข้าก่อนพ่อกู กูต่อช้างด้วยขุนสามชน

 

ถอดความ เมื่ออายุได้ 19 ปี ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดยกทัพมาตีเมืองตาก พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ไปรบด้านซ้าย แต่ขุนสามชนมาด้านขวา เมื่อเคลื่อนทัพเข้ามาก็ทำให้ไพร่พลที่หวาดกลัววิ่งหนีกันกระเจิง แต่พ่อขุนรามคำแหงไม่หนีอีกทั้งยังขี่ช้างเข้าไปสู้กับขุนสามชน

 

ตนกูพุ่งช้าง ขุนสามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ้ ขุนสามชนพ่ายหนี พ่อกูจึ่งขึ้นชื่อกูชื่อพระรามคำแหง เพื่อกูพุ่งช้างขุนสามชน

 

ถอดความ  พ่อขุนรามคำแหงทำการชนช้างสู้กับช้างของขุนสามชนที่มาสเมืองแล้วชนะ ทำให้ขุนสามชนแพ้ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จึงตั้งชื่อให้ว่าพระรามคำแหง เพราะรบชนะขุนสามคน

 

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

 

 

เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดอันกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้
กูเอามาแก่พ่อกู

 

ถอดความ ในตอนนี้จะพูดถึงความกตัญญูของพ่อขุนรามคำแหงที่มีต่อพ่อแม่ คอยดูแล ได้เนื้อ ผลไม้ดี ๆ ก็เอามาให้พ่อแม่ ไปคล้องช้างได้ช้างดี ๆ ก็เอามาให้พ่อ

 

กูไปท่บ้านท่เมือง ได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นางได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่พ่อกู พ่อกูตายยังพี่กู กูพร่ำบำเรอแก่พี่กู ดั่งบำเรอแก่พ่อกู พี่กูตาย จึงได้เมืองแก่กูทั้งกลม

 

ถอดความ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงไปตีกับเมืองอื่น ได้ช้าง งวง เชลย ผู้หญิง เงิน ทอง ก็เอามาให้พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เมื่อพระราชบิดาสิ้นพระชนม์แล้วพ่อขุนบานเมืองขึ้นครองราชย์ต่อ พ่อขุนรามคำแหงก็ยังคงความกตัญญูต่อพี่ชายเหมือนที่ทำให้พระราชบิดา จนเมื่อพ่อขุนบานเมืองสิ้นพระชนม์ เมืองทั้งหมดจึงตกมาเป็นของพ่อขุนรามคำแหง

 

ตัวบทศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่ยกมา เป็นเรื่องราวตั้งแต่ก่อนที่พ่อขุนรามคำแหงจะได้ขึ้นครองราชย์จนกระทั่งได้เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ น้อง ๆ สามารถดูต้นฉบับเทียบกับคำแปลเพิ่มเติมของจารึกหลักที่ 1 ได้ที่ ฐานข้อมูลจารึกในประเทศ

คุณค่าที่อยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 1

 

ด้านเนื้อหา 

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

 

คุณค่าด้านเนื้อหาที่อยู่ในศิลาจารึก ทำให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านเรื่องราวอันน่าภาคภูมิใจของพ่อขุนรามคำแหง ทั้งการรบ การขึ้นครองราชย์ และที่มาของชื่อ นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้ถึงพระจริยวัตรอันงดงามในการปฏิบัติตนด้วยความกตัญญูต่อบิดามารดาและพี่ชาย

 

ด้านแนวคิด

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

 

คุณค่าด้านแนวคิดที่เห็นอย่างเด่นชัดที่สุดคือความกล้าหาญของพ่อขุนรามคำแหง ความต้องการที่ปกป้องบ้านเมืองทำให้พระองค์กล้าออกไปชนช้างกับศัตรูอย่างเด็ดเดี่ยว และเรื่องของความกตัญญูที่พ่อขุนรามคำแหงให้อธิบายไว้อย่างละเอียดว่าตนดูแลทั้งพระบิดาและมารดาอย่างดี รวมไปถึงพี่ชายอย่างพ่อขุนบานเมืองด้วย

 

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

 

ประโยคที่ปรากฏมักเป็นประโยคความเดียว เช่น กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู ทั้งหมดนี้เป็นประโยคความเดียว นอกจากนี้ยังมีการใช้คำไทยแท้ หรือภาษาคำโดด ซึ่งภาษาคำโดด หมายถึง ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น เป็นคำพยางค์เดียว

 

คุณค่าด้านสังคม

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

 

ในศิลาจารึกหลักที่ 1 พ่อขุนรามคำแหงได้บันทึกบอกเล่าความอุดมสมบูณ์ของบ้านเมืองอย่างเช่น ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว สะท้อนให้เป็นถึงความเป็นอยู่ที่ไม่ขาดแคลนหรืออดอยาก และการทำศึกเพื่อปกป้องดินแดน ในอดีต  ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะทำให้คนรุ่นหลังได้ตระหนักถึงความเสียสละของบรรพบุรุษที่พยายามรักษาประเทศชาติ นอกจากนี้ยังพูดถึงการสืบราชสันติวงศ์ หรือการสืบทอดราชสมบัติ เป็นครองราชสมบัติสืบต่อจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนซึ่งอยู่ในราชวงศ์เดียวกัน

 

เป็นอย่างไรบ้างคะน้อง ๆ หลังจากที่ได้ศึกษาและถอดความเนื้อหาในศิลาจารึกกันไปอย่างคร่าว ๆ แล้วยังได้เรียนรู้ถึงคุณค่าของศิลาจารึกอีกด้วย ศิลาจารึกหรือจารึกวรรณคดีนี้มีความสำคัญมาก ๆ เลยนะคะ เพราะทำให้คนรุ่นหลังอย่างเรา ๆ ได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์และยังได้ข้อคิดมากมายอีกด้วย สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่อยากฟังคำอธิบายเพิ่ม ก็ไปดูคลิปการย้อนหลังของครูอุ้มได้เลยค่ะ ในคลิปครูอุ้มจะสอนเรื่องการถอดความและอธิบายเรื่องคำศัพท์อย่างละเอียด ไปดูกันเลยค่ะ

 

 

ติดตามบทความภาษาไทยใหม่ ๆ ได้ที่ nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พร้อมศึกษาคุณค่าในเรื่อง

  ในบทเรียนก่อนหน้าเราได้เรียนรู้ประวัติความเป็นมา ลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่อกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้าไปแล้ว บทเรียนภาษาไทยในวันนี้จะต่อเนื่องกับครั้งก่อนโดยการพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้เรื่องตัวบทเด่น ๆ ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พร้อมทั้งศึกษาคุณค่าที่แฝงอยู่ในเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เนื้อหา หรือด้านวรรณศิลป์ ถ้าน้อง ๆ พร้อมจะเรียนวรรณคดีเรื่องนี้ต่อไปแล้ว ก็ไปลุยพร้อมกันเลยค่ะ     ถอดคำประพันธ์ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า   สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชักจูงจิตชูศักดิ์ศรี อำนาจนำความสง่าอ่าอินทรีย์

ประโยคและวิธีการใช้ Would like กับ Wh-questions

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่รักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปดูตัวอย่างประโยคและวิธีการใช้ Would like กับ Wh-questions กันค่ะ ไปลุยกันเลย ตารางเปรียบเทียบประโยคก่อนเข้าสู่บทเรียน: คำถาม Wh-questions VS Yes-no Questions ประโยคคำถามแบบ Wh-question “what” ประโยคคำถามที่ใช้ would + Subject +like…

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

ศึกษาตัวบทและคุณค่าที่อยู่ใน บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก

บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดเรื่องแรกของไทยที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นผู้ประพันธ์ โดยมุ่งหวังให้ละครเป็นตัวช่วยกล่อมเกลาจิตใจประชาชน แต่นอกจากตัวบทจะมีความโดดเด่นจนได้รับความนิยมอย่างมากแล้ว ยังแฝงแนวคิดมากมายไว้ในเรื่อง จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น ไปเรียนรู้เรื่องพร้อม ๆ กันเลยค่ะ   ตัวบทเด่น ๆ ใน บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก     ตัวบทที่ 1    พระยาภักดี : ใครวะ อ้ายคำ : อ้างว่าเป็นเกลอเก่าของใต้เท้า

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

สัดส่วน

บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง สัดส่วน รวมทั้งโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาและเขียนอธิบายไว้อย่างชัดเจน รวมถึงมีคลิปวิดีโอการสอน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับน้องๆ สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา แต่ก่อนจะเรียนรู้เรื่องสัดส่วนนั้น น้องๆจำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่อง อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่  ⇒⇒ อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน ⇐⇐ สัดส่วน สัดส่วน คือ ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน อัตราส่วนทั้งสองมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันหรือในทิศทางตรงกันข้ามก็ได้ ชนิดของสัดส่วน สัดส่วนมี 2 ชนิด คือ สัดส่วนตรง และ สัดส่วนผกผัน  

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

ศึกษา นิทานเวตาล เรื่องที่10 และคุณค่าที่ซ่อนอยู่ในเรื่อง

​ นิทานเวตาล เป็นนิทานเรื่องเล่าที่แฝงไปด้วยคุณค่าและคติธรรมมากมาย หากแต่เต็มไปด้วยคุณค่า สำหรับฉบับแปลไทยของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์มีด้วยกัน 10 เรื่อง เรื่องที่อยู่ในแบบเรียนภาษาไทย คือเรื่องสุดท้าย ดังนั้นบทเรียนในวันนี้จะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักกับตัวบทเด่น ๆ ที่น่าสนใจในนิทานเรื่องนี้เพื่อถอดความหมายและศึกษาคุณค่าทั้งด้านวรรณศิลป์ ด้านเนื้อหา และข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ถ้าพร้อมแล้วไปเรียนรู้เรื่องนี้ด้วยเลยค่ะ   ตัวบทเด่นใน นิทานเวตาล เรื่องที่10   บทที่ 1  

จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร
จุดประสงค์ในการแต่งศิลาจารึกหลักที่ 1 คืออะไร

สมบัติการบวกจำนวนจริง

สมบัติการบวกจำนวนจริง สมบัติการบวกจำนวนจริง เป็นสมบัติที่น้องๆต้องรู้ เพราะเป็นรากฐานของวิชาคณิตศาสตร์และน้องๆจะต้องใช้สมบัติพวกนี้ในการเรียนคณิตศาสตร์ในระดับที่สูงขึ้น สมบัติการบวกของจำนวนจริง มีทั้งหมด 5 ข้อ ดังนี้   1.) สมบัติปิดการบวก  สมบัติปิดการบวก คือ การที่เรานำจำนวนจริง 2 ตัวมาบวกกัน เราก็ยังได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงเหมือนเดิม เช่น 1 + 2 = 3 จะเห็นว่า