เหตุผลสําคัญที่สุดที่รัฐบาลตราพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 คืออะไร

เหตุผลสําคัญที่สุดที่รัฐบาลตราพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 คืออะไร

  1. ใครเป็นประธานในคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ค. รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข
  • ปลัดกระทรวงยุติธรรม ง. อธิบดีกรมคุมประพฤติ

ตอบ   ข. ปลัดกระทรวงยุติธรรม

  1. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • แต่งตั้งและถอดถอนอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • วางระเบียบกำหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาลงโทษผู้ฝ่าฝืนหรือไม่

ปฏิบัติตามระเบียบ เงื่อนไข

  • เสนอแนะรัฐมนตรีในการประกาศเกี่ยวกับศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา

เสพติดตามมาตรา

  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. ข้อใดคืออำนาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • ติดตามดูแลการควบคุมตัวผู้ต้องหาในระหว่างการตรวจพิสูจน์หรือการ

ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

  • พิจารณาวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์เป็นผู้เสพหรือติดยาเสพติดหรือไม่
  • พิจารณาย้ายตัวผู้เข้ารับการบำบัดการติดยาเสพติดหรือเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจากสถานบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. ข้อใดเป็นอำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • ตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติดของผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ที่ได้รับตัวมาตามมาตรา 19
  • ควบคุมตัวผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดไว้ในระหว่างการตรวจพิสูจน์หรือการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • ดำ เนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามระเบียบที่กำหนด
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ

  1. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นหน่วยงานในสังกรดกรมใด
  • กรมคุมประพฤติกระทรวงสาธารณสุข ค. กรมการปกครองกระทรวงยุติธรรม
  • กรมคุมประพฤติกระทรวงยุติธรรม ง. กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข

ตอบ  ข. กรมคุมประพฤติกระทรวงยุติธรรม

  1. ผู้ใดต้องหาว่ากระทำความผิดฐานเสพยาเสพติดถ้าไม่ปรากฏว่าต้องหาหรืออยู่ในระหว่างถูกดำเนินคดีในความผิดฐานอื่นซึ่งเป็นความผิดที่มีโทษจำคุกหรืออยู่ในระหว่างรับโทษจำคุกตามคำพิพากษาของศาล ให้พนักงานสอบสวนนำตัวผู้ต้องหาไปศาลภายในกี่ชั่วโมง
  • 12 ชั่วโมง                                                                    ค. 48  ชั่วโมง
  • 24 ชั่วโมงสี่สิบแปดชั่วโมง                                     ง.  72  ชั่วโมง

ตอบ   ค. 48  ชั่วโมง

  1. ข้อใด ไม่ใช่ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงการส่งตัวผู้ต้องหาไปตรวจพิสูจน์การเสพหรือการติดยาเสพติด
  • อายุ ค. ฐานะ
  • เพศ                                                                 ง.  ลักษณะเฉพาะบุคคล

ตอบ  ค. ฐานะ

  1. ผู้ใดไม่มีสิทธิได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • สมชาย เสพยาเสพติดก่อนถูกจับกุมเพื่อให้ตนเองได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและไม่ต้องถูกดำเนินคดีในข้อหาฐานเสพและมีไว้ในครอบครอง
  • สมปอง เสพยาเสพติดขณะที่ถูกจับกุมเพื่อให้ตนเองได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและไม่ต้องถูกดำเนินคดีในข้อหาฐานเสพและมีไว้ในครอบครอง
  • สมควร เสพยาเสพติดภายหลังที่ถูกจับกุมเพื่อเพื่อให้ตนเองได้รับการส่งตัวไปฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและไม่ต้องถูกดำเนินคดีในข้อหาฐานเสพและมีไว้ในครอบครอง
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ   ง. ถูกทุกข้อ

  1. การตรวจพิสูจน์ผู้ต้องหาที่เสพหรือติดยาเสพติดให้กระทำให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน
  • 15 วัน                                                                            ค.  30  วัน
  • 7 วัน                                                                                ง.  14  วัน

ตอบ   ก.  15   วัน

  1. กรณีที่มีเหตุจำเป็นคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจสั่งให้ขยายเวลาออกไปได้อีก ไม่เกินกี่วัน
  • ไม่เกิน 15 วัน                                                                            ค. ไม่เกิน  45  วัน
  • ไม่เกิน 30 วัน                                                                             ง. ไม่เกิน  14  วัน

ตอบ   ข. 30  วัน  

  1. การกำหนดวิธีการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องคำนึงข้อใด
  • ในระหว่างการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดอาจกำหนดให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดฝึกอาชีพ ทำงานบริการสังคม
  • ในกรณีที่ไม่จำเป็นต้องควบคุมตัวให้ส่งตัวผู้นั้นเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในสถานที่ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามความเหมาะสม
  • ในกรณีที่ไม่จำเป็นต้องควบคุมตัวอาจกำหนดให้ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องปฏิบัติด้วยวิธีการอื่นใดภายใต้การดูแลของพนักงานคุมประพฤติก็ได้
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้องอยู่รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามแผนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเป็นเวลาเท่าใด
  • 6 เดือน                                                                         ค. 1  ปี
  • ไม่เกิน 6  เดือน                                                          ง. ไม่เกิน  1  ปี

ตอบ  ข. ไม่เกิน  6  เดือน  

  1. การขยายและการลดระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจะกระทำได้กี่ครั้ง
  • 1 ครั้ง                                                                          ค. 3  ครั้ง
  • 2 ครั้ง                                                                            ง. กี่ครั้งก็ได้

ตอบ  ง. กี่ครั้งก็ได้

  1. การขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดครั้งหนึ่งต้องไม่เกินกี่เดือน
  • 2 เดือน                                                                         ค. 6  เดือน
  • 4 เดือน                                                                         ง. 3  เดือน

ตอบ  ค. 6  เดือน

  1. การขยายระยะเวลาการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดรวมกันทั้งหมดแล้วต้องไม่เกินเท่าใด
  • 1 ปี                                                                                                ค. 2  เดือน
  • 6 เดือน                                                                         ง.  3  ปี

ตอบ   ง. 3  ปี        

  1. ในกรณีที่ผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดซึ่งได้รับการปล่อยชั่วคราวไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าฝืนระเบียบ เงื่อนไข หรือข้อบังคับที่กำหนดจะต้องดำเนินการอย่างไร
  • ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จับตัวผู้นั้นกลับเข้าไว้ในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จับตัวผู้นั้นกลับเข้าไว้ในสถานที่เพื่อการตรวจพิสูจน์
  • ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมตัวได้โดยมิต้องมีหมาย
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. ผู้อำนวยการศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดหรือผู้ควบคุมสถานที่มีอำนาจลงโทษสถานหนึ่งหรือหลายสถานตามข้อใด
  • ภาคทัณฑ์
  • ตัดการอนุญาตให้รับการเยี่ยมหรือการติดต่อไม่เกิน 3 เดือน
  • จัดให้อยู่เดี่ยวครั้งละไม่เกิน 10 วัน
  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง. ถูกทุกข้อ

  1. การลงทัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวใช้กับผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

ที่มีอายุเท่าใด

  • ไม่ถึง 13 ปีบริบูรณ์                                                    ค. ไม่ถึง  18 ปีบริบูรณ์
  • ไม่ถึง 15 ปีบริบูรณ์                                                    ง. ไม่ถึง  20 ปีบริบูรณ์

ตอบ  ค. ไม่ถึง  18 ปีบริบูรณ์

  1. ข้อใดคืออำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
  • เข้าไปในเคหสถาน สถานที่ หรือยานพาหนะใดๆ เพื่อตรวจค้นและจับตัวผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
  • มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดที่เกี่ยวข้องกับผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์หรือผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมาให้ถ้อยคำ
  • สอบปากคำผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยา

เสพติด

  • ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.  ถูกทุกข้อ

  1. คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดมีคำวินิจฉัยว่าผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์เสพหรือติดยาเสพติด หรือมีคำสั่งไม่อนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราว หรือมีคำสั่งขยายระยะเวลากาฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดออกไปอีก ผู้นั้นมีสิทธิ์อุธรณ์คำวินิจฉัยดังกล่าวต่อคณะกรรมการภายในกี่วัน
  • 15 วัน                                                                           ค. 40  วัน
  • 30                                                                                  ง.  60 วัน

ตอบ  ค. 40  วัน

สินค้า ใน แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545 (0 ชนิด)

แสดงสินค้าที่ 0-0 จากทั้งหมด 0 ชิ้น

นโยบายการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติดส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมอย่างไร

นโยบายการฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด ตามพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้ ๑. ให้โอกาสผู้ติดสารเสพติดได้กลับตัวกลับใจเป็นคนดี ๒. ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ที่อาจมีศักยภาพช่วยพัฒนาประเทศได้ ๓. ช่วยให้ผู้ติดสารเสพติดไม่ต้องมีประวัติด่างพร้อยไม่ถูกตราหน้าว่าเป็นคนขี้คุก

บุคคลในข้อใดเป็นประธานกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

๒. บุคคลที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (มาตรา ๕-๘, มาตรา ๑๔, ๑๖, ๑๘) (๒) คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ซึ่งมีปลัดกระทรวงยุติธรรมเป็นประธาน และ หัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมการ (มาตรา ๖-๑๒)

พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.2545 ประกาศให้ราชกิจจานุเบกษา เมื่อใด

(30 กรกฎาคม 2557). ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 131 ตอนพิเศษ 143 ง, น. 18 – 19. “พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.. 2545 (30 กันยายน 2545), ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 96 ก, น. 26-42. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.

หลักการบําบัดฟื้นฟูแบบจิราสา คือหลักการใด

จิราสา = จิตสำนึกแห่งการช่วยเหลือผู้อื่นและสังคมโดยสมัครใจ ระบบนี้เน้นที่อาสาสมัคร จึงมีความคล่องตัวและมีเสรีภาพทางความคิดและการปฏิบัติ จะไม่ขึ้นกับระบบราชการ ราชการเป็นเพียงฝ่ายสนับสนุนบางส่วน ผู้ทำงานในระบบนี้ต้องมีความรู้ที่จะช่วยเหลือผู้อื่น มีความเข้าอกเข้าใจในปัญหาและต้องการมีส่วนร่วมในการแก้ไขอย่างแท้จริง