ข้อใดคือหน้าที่ของฟลักซ์ในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

         กระบวนการเชื่อมอาร์กลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์  (Shielded  Metal  Arc  Welding  :  SMAW)  เป็นกระบวนการเชื่อมที่ได้รับความร้อนจากการอาร์กระหว่างลวดเชื่อมกับชิ้นงาน  ทำให้ลวดเชื่อมและชิ้นงานบริเวณการอาร์กหลอมเหลวรวมตัวกันเป็นแนวเชื่อม  ส่วนฟลักซ์จะเกิดเป็นแก๊สและสแลกปกคลุมแนวเชื่อมจากบรรยากาศภายนอก  อุปกรณ์ที่ใช้  เครื่องเชื่อมเป็นอุปกรณ์ผลิตกระแสไฟที่เหมาะสมต่อการเชื่อมซึ่งมีทั้งแบบกระแสสลับ  (AC)  และกระแสตรง  (DC)  กระแสไฟจะถูกส่งมาตามสายเชื่อมและสายดิน  ในระหว่างการเชื่อมจะควบคุมการเชื่อมด้วยหัวจับลวดเชื่อม  ส่วนลวดเชื่อมที่ใช้มีหลายชนิดแบ่งออกเป็นประเภทตามชนิดของโลหะเชื่อม  ชนิดของฟลักซ์และมีขนาดความโตลวดต่าง ๆ  กัน

  • Teacher: จีรยุทธ กลีบบัว


อัปเดตเมื่อ 30 ก.ค. 2564

ข้อใดคือหน้าที่ของฟลักซ์ในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

กระบวนการเชื่อมแบบฟลักซ์คอร์ หรือกระบวนการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมไส้ฟลักซ์ (Flux Cored Arc Welding Process) กับกระบวนการเชื่อมแบบ MIG/MAG แตกต่างในเรื่องทฤษฎีในการแบ่งประเภทและข้อกำหนดในการใช้ลวดเชื่อม รวมถึงข้อกำหนดอื่นๆ

เครื่องเชื่อมสำหรับกระบวนการเชื่อมแบบฟลักซ์คอร์ จะใช้เครื่องเชื่อมเดียวกันกับเครื่องเชื่อม MIG/MAG ทั่วไป เว้นแต่กรณีอาจจะจำเป็นต้องทำการเปลี่ยนล้อขับลวดเชื่อม (Roller) และ Contact Tip ซึ่งปกติแล้วเครื่องเชื่อมฟลักซ์คอร์ไวร์ เป็นเครื่องเชื่อมชนิดกระแสตรง แรงดันเชื่อมคงที่ (DC-Constant Voltage) เหมาะกับงานอุตสาหกรรมการเชื่อมขนาดหนัก

ลวดเชื่อมสำหรับกระบวนการเชื่อมแบบฟลักซ์คอร์ ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์ เป็นลวดเชื่อมเปลือยที่มีไส้ฟลักซ์ อยู่ในแกนกลางของลวด เป็นการเอาข้อดีของลวดเชื่อมไฟฟ้ากับลวดเชื่อมมิกมารวมกัน แนวเชื่อมที่ได้จึงสวยงาม เพราะ ฟลักซ์ที่อยู่ในแกนลวด ทำหน้าที่คลุมแนวเชื่อมไว้ (ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์บางชนิดจึงไม่ต้องใช้แก๊สซีโอทูมาปกคลุมแนวเชื่อม) เหมาะกับงานเชื่อมที่ต้องการคุณภาพสูง

ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์จะให้คุณสมบัติแก่เนื้อเชื่อม ดังนี้

  1. ต้านทานต่อการกัดกร่อนของแนวเชื่อม โดยการปรับส่วนผสมทางเคมี

  2. ให้ความสามารถในการเติมเนื้อลวดเชื่อมได้สูง

  3. เพิ่มความสมบูรณ์ของแนวเชื่อมโดยการปกคลุมบ่อหลวมละลายของแนวเชื่อม

  4. ปฎิกิริยาของฟลักซ์กับน้ำโลหะจะช่วยขจัดสิ่งที่เป็นมลทินออกจากบ่อหลวมละลาย

  5. สร้างชั้นสแลกปกคลุมแนวเชื่อมที่กำลังแข็งตัวออกจากอากาศ

  6. สร้างความเสถียรของอาร์ค โดยให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ดี

ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์ ที่นิยมใช้มีอยู่ 2 ประเภทหลัก คือ

1.ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์ สำหรับงานเหล็ก

เหมาะกับงานเชื่อมตามอู่เรือ ชิ้นงานรถยนต์ เครื่องจักรทางเกษตร ชี้สแลกเคาะออกง่าย มีขนาดตั้งแต่ 1.2 และ 1.6 มิลลิเมตร

ข้อใดคือหน้าที่ของฟลักซ์ในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

2.ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์ สำหรับสแตนเลส

ใช้กันอย่างแพร่หลายในการเชื่อมการประกอบเครื่องจักรโรงงานอุตสาหกรรม ถังแรงดันอุตสาหกรรม โดยมีตั้งแต่เกรด 308L,309L,316L มีขนาดตั้งแต่ 1.2 และ 1.6 มิลลิเมตร

ปัจจุบัน ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์ไม่ใช้แก๊ส เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นเนื่องจากสามารถเชื่อมนอกสถานที่ได้ดี ไม่จำเป็นต้องต่อถังแก๊ส ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์แบบไม่ใช้แก๊สถูกออกแบบมาสำหรับการเชื่อมตำแหน่งเหล็กอ่อนในทุกตำแหน่งที่ต้องการ ความแข็งแรงระดับปานกลางและความเหนียวที่ดีมาก มีข้อดีหากเปรียบเทียบกับ ลวด MIG/ MAG ปกติ แต่พอเชื่อมออกมาจะมีสแล็ก และตอนเชื่อมควันจะเยอะ

ข้อใดคือหน้าที่ของฟลักซ์ในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

การเชื่อมแบบ Flux cored เทียบกับ MIG ปกติ

ข้อใดคือหน้าที่ของฟลักซ์ในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

ข้อใดคือหน้าที่ของฟลักซ์ในการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

การปรับตั้งเครื่องเชื่อมสำหรับการเชื่อมแบบฟลักซ์คอร์

เริ่มต้นตั้งแต่การปรับแรงกดล้อขับลวด จะต้องปรับเพียงแค่ให้ลวดสามารถถูกขับออกไปโดยไม่มีการลื่นหรือหมุนฟรีเท่านั้น จะต้องปรับเพียงแค่ให้กดแรงเกินไป เนื่องจากเกิดการติดขัดในสายเชื่อมในที่สุด แรงดันเชื่อมและกระแสเชื่อมให้สัมพันธ์กันการปรับความเร็วลวดจะเป็นการปรับระดับของกระแสเชื่อม

การเชื่อมแบบฟลักซ์คอร์นั้นไม่จำเป็นต้องใช้เทคนิคมากนัก แค่รู้วิธีการเดินแนวเชื่อมแบบเดินหน้า (Forehand Welding) จะให้แนวเชื่อมที่กว้างแต่มีการหลอมลึกน้อยกว่าการเชื่อมแบบเดินถอยหลัง ซึ่งเหมาะสำหรับการเชื่อมโลหะที่มีความหนาน้อย และการเดินแนวเชื่อมแบบถอยหลัง (Backhand Welding) จะให้แนวเชื่อมที่แคบแต่มีการหลอมลึกสูง ซึ่งเหมาะสำหรับการเชื่อมที่มีความหนามาก

หากคุณกำลังหาเครื่องเชื่อม MIG หรือ ลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์แบบใช้แก๊ส และไม่ใช้แก๊ส สามารถติดต่อเราได้ที่ Line @kovet หรือ 02-476-0028

#เครื่องเชื่อม#ลวดเชื่อม #การเชื่อม #การเชื่อมแบบฟลักซ์คอร์