Mri กับ ct ต่าง กัน อย่างไร

Mri กับ ct ต่าง กัน อย่างไร

MRI ย่อมาจาก Magnetic Resonance Imaging คือ การตรวจร่างกายโดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูงและคลื่นวิทยุความถี่จำเพาะร่วมกับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพอวัยวะ เนื้อเยื่อ กระดูกและภาพเสมือนของส่วนต่างๆ ภายในร่างกายโดยไม่ต้องใช้รังสี จึงไม่ก่อให้เกิดอันตรายจากรังสีตกค้างและไม่สร้างความเจ็บปวดใดๆ ต่อผู้รับการตรวจ MRI เป็นการตรวจวินิจฉัยที่มีความถูกต้องและแม่นยำสูง เนื่องจากให้ความแตกต่างของเนื้อเยื่อได้ดี ทำได้หลายระนาบ สามารถใช้ตรวจได้ทุกระบบของร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของระบบสมองและกระดูกสันหลัง เครื่อง MRI มีลักษณะคล้ายอุโมงค์ขนาดใหญ่ล้อมรอบด้วยสนามแม่เหล็กลึกประมาณ 1-2 เมตร และมีเตียงที่เลื่อนเข้าออกในอุโมงค์ได้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้สร้างภาพเสมือนจะตั้งอยู่นอกห้องตรวจ MRI ควบคุมโดยนักรังสีเทคนิค และรังสีแพทย์

MRI ตรวจอะไรได้บ้าง

Mri กับ ct ต่าง กัน อย่างไร

MRI of Nervous System

ตรวจความผิดปกติของระบบสมอง ไขสันหลัง เส้นประสาทในร่างกาย

  • ภาวะสมองขาดเลือด และความผิดปกติบริเวณก้านสมอง
  • เนื้องอกของสมอง
  • โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เส้นเลือดในสมองตีบ สมองเสื่อม ปวดศีรษะเรื้อรัง
  • การอักเสบติดเชื้อของเนื้อสมองและเยื่อหุ้มสมอง
  • ตรวจหาสาเหตุของโรคลมชัก
  • ตรวจหาสาเหตุของการกดทับไขสันหลัง หรือกดทับเส้นประสาทสันหลัง
  • เนื้องอกไขสันหลัง
  • การติดเชื้อและบาดเจ็บของไขสันหลัง

Mri กับ ct ต่าง กัน อย่างไร

MRI of Musculoskeletal System

ตรวจความผิดปกติของกระดูกสันหลัง ระบบกล้ามเนื้อและข้อต่อ

  • ภาวะสมองขาดเลือด และความผิดปกติบริเวณก้านสมอง
  • เนื้องอกของสมอง
  • โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เส้นเลือดในสมองตีบ สมองเสื่อม ปวดศีรษะเรื้อรัง
  • การอักเสบติดเชื้อของเนื้อสมองและเยื่อหุ้มสมอง
  • ตรวจหาสาเหตุของโรคลมชัก
  • ตรวจหาสาเหตุของการกดทับไขสันหลัง หรือกดทับเส้นประสาทสันหลัง
  • เนื้องอกไขสันหลัง
  • การติดเชื้อและบาดเจ็บของไขสันหลัง

MRI มีข้อดีอย่างไร?

  • แยกความแตกต่างระหว่างเนื้อเยื่อต่างๆ ได้ชัดเจน ให้ผลที่มีความแม่นยำและถูกต้องสูง เป็นประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรค วางแผนการรักษา และติดตามผลการรักษา
  • สามารถทำการตรวจได้ทุกๆ ระนาบ โดยไม่ต้องขยับเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนท่าผู้รับการตรวจ
  • ใช้ได้ดีกับส่วนที่ไม่ใช่กระดูก หรือก็คือเนื้อเยื่อส่วนต่างๆ เช่น สมอง ไขสันหลัง เส้นประสาท กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เป็นต้น
  • สามารถตรวจหาสิ่งผิดปกติในร่างกายได้ตั้งแต่ระยะแรกๆ
  • สามารถตรวจเส้นเลือดได้โดยไม่ต้องฉีดสารทึบรังสี ผู้ป่วยโรคไตวายจึงสามารถทำการตรวจได้ มีความปลอดภัยสูง รวมถึงมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างต่ำ
  • สะดวกสบาย ไม่จำเป็นต้องเตรียมตัว หลังตรวจสามารถกลับบ้านได้ทันที
  • ไม่ก่อให้เกิดอันตรายจากรังสีตกค้าง ทำให้สามารถตรวจในผู้ที่ตั้งครรภ์ช่วง 6 – 9 เดือนได้หากมีข้อบ่งชี้การตรวจที่เหมาะสม
  • ไม่สร้างความเจ็บปวดใดๆ ต่อผู้รับการตรวจ
  • ให้รายละเอียดได้ชัดเจนกว่าการตรวจด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan)
  • ใช้เวลาในการตรวจไม่นาน และได้ผลการตรวจที่ถูกต้องแม่นยำอย่างรวดเร็ว

MRI กับ CT Scan ต่างกันอย่างไร?

MRI

การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

Magnetic Resonance Imaging

ไม่ใช้รังสี X-ray ใช้วิธีการสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ารอบตัว ปัจจุบันยังไม่พบว่ามีผลกระทบกับสุขภาพ

เหมาะกับการตรวจเนื้อเยื่อ

ใช้เวลาตรวจนานกว่า

สารเพิ่มความชัดของภาพไม่มีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบ ไม่เป็นพิษต่อไต มีโอกาสแพ้น้อยกว่า

ผู้ที่มีส่วนประกอบของโลหะฝังอยู่ในร่างกายควรหลีกเลี่ยงการตรวจ

CT SCAN

การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์

Computerized Tomography

ใช้รังสี X-ray ปล่อยผ่านตัวผู้รับการตรวจ อาจส่งผลกระทบหากมีรังสีตกค้าง

เหมาะกับการตรวจกระดูก

ใช้เวลาตรวจสั้นมาก

ใช้สารทึบแสงที่มีส่วนประกอบของไอโอดีน มีโอกาสทำให้เกิดพิษต่อไต

ตรวจผู้ที่มีโลหะในร่างกายได้ แต่ภาพอาจไม่คมชัด

THAIRATH MEMBERSHIP

Live ชมรายการสด

ข่าว

ข่าว

  • ข่าวล่าสุด
  • พระราชสำนัก
  • ทั่วไทย
  • ในกระแส
  • การเมือง
  • เศรษฐกิจ
  • ต่างประเทศ
  • อาชญากรรม
  • ยานยนต์
  • เทคโนโลยี
  • ราคาทองคำ
  • รายงานพิเศษ

กีฬา

  • ฟุตบอลต่างประเทศ
  • ฟุตบอลไทย
  • Sport insider
  • ไฟต์สปอร์ต
  • กีฬาโลก
  • วิดีโอ
  • แกลเลอรี่
  • ซีเกมส์ 2021

ไทยรัฐทีวี

  • ดูย้อนหลัง
  • วาไรตี้บันเทิง
  • กีฬา
  • ผังรายการ
  • Live

โปรโมชั่น

โปรโมชั่น

  • ซื้อ-ขาย
  • ส่วนลด
  • เช็คราคา

Thairath Talk

หนังสือพิมพ์

คอลัมน์

บันเทิง

ดวง

หวย

นิยาย

วิดีโอ

Podcast

ไลฟ์สไตล์

กิจกรรม

Thairath Plus

Thairath Plus

  • Speak
  • Money
  • Everyday Life
  • Nature Matter
  • Subculture
  • Futurism
  • Spark

Mirror

Mirror

100 ปี ชาตกาล กำพล วัชรพล

  • ร่วมงานกับเรา
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • ติดต่อโฆษณา

facebookfacebook twittertwitter instagraminstagram youtubeyoutube