การคลอดก่อนกําหนด เกิดจากอะไร

�س�������ѧ��駤����������� �դ����ѧ�������ͧ���Ф�ʹ��͹��˹� ������Ҩ����ѹ���µ�ͷ�á㹤���� ���й���Դ��������ҧ�� ��ͧ�ѹ��������� ���Ҥӵͺ�ѹ

��ä�ʹ��͹��˹��ҧ��ǹ �Դ�ҡ�������繷��е�ͧ�صԡ�õ�駤�����͹��˹�  ���ͧ�ҡ�س����Դ�ҡ���á��͹�ҧ��С�� �� ���Ф�����繾�� ��á㹤�����ա����ԭ�Ժ⵷��Դ���� ���ä�ʹ��͹��˹���ǹ�˭��� �����辺���˵ط��Ѵਹ ���պ�ҧ㹺ҧ����Ҩ�Դ�ҡ��õԴ����   �Դ�ҡ�����Դ���Ԣͧ���١���ͻҡ���١ �����Դ�ҡ�����Դ���Ԣͧ��á㹤����

�ѭ�ҳ��͹����Ӥѭ���͡��Ҩ��Դ��ä�ʹ��͹��˹���� ��� ��÷�辺��������з�����١�ա��˴�Ѵ��Ǩӹǹ���駷����¡��һ��� �� �ء � 10 �ҷ� �����Ѻ�س������ҡ���纷�ͧ �������١���ʹ�͡�ҧ��ͧ��ʹ���� ��Ҿ��ҡ������ҹ�����仾��س��͡�͹�Ѵ

�š�з�����Դ�ҡ��ä�ʹ��͹��˹�  ��觼š�з�����Դ��鹵�ͧ���� 2 ��ǹ  ��� �š�з���ͷ�á�ͧ ��мš�з���ͤ�ͺ���Ƿ���ͧ����§�ٷ�á����ʹ��͹��˹�

�š�з��á ��� �š�з���͵�Ƿ�á ��á����ʹ��͹��˹���鹨��Դ�����á��͹���������ҧ���ͧ�ҡ�����е�ҧ � ����ѧ�����������Ѻ��÷ӧҹ ��辺���� ��� ���������Ӻҡ���ͧ�ҡ�ʹ�ͧ��á����ѧ�������ó�  �͡�ҡ����Ҩ�о��������ʹ�͡���ͧ �������ҵ�¨ҡ��âҴ���ʹ ��С�õԴ���ͷ���ع�ç�� 㹷�á����ʹ��͹��˹�������ؤ��������ҡ � �����á��͹����ҹ���Ҩ���ع�ç���֧��鹷�����á���ª��Ե��

�š�з�����ͧ ��� �š�з���ͤ�ͺ���Ƿ���ͧ����§�ٷ�á����ʹ��͹��˹�  ����Ѻ��ͺ���Ƿ���ͧ���ŷ�á����ʹ��͹��˹���л��ʺ�ѭ���������ҧ�����ǡѹ  ���ͧ�ҡ��á���������ͧ���Ѻ��ô����繾���ɨе�ͧ���ç��Һ�����¤��� �������µ�ҧ � ����ҡ��鹵�������á��͹����ҡ���
 

�Ѩ�غѹ�������ö��ͧ�ѹ��ä�ʹ��͹��˹���� 2 �ó�

�ó��á ��Ҥس������ջ���ѵ�����¤�ʹ��͹��˹�㹤���������� ��õ�駤������駹�� �س��ͨзӡ�éմ���������ҡ���������ѻ������ 1 ���駵���� 16 �ѻ���� ���������öŴ�ѵ�ҡ�ä�ʹ��͹��˹����ŧ�� 35 � 40 %

�óշ���ͧ ��ҷ���ŵ�ҫ�Ǵ��Ѵ������ǻҡ���١ ��о���һҡ���١��鹡��� 2.5 ��. ��Ҩ������������˹纷ҧ��ͧ��ʹ�ѹ�� 1 ���� ���������öŴ�ѵ�ҡ�ä�ʹ��͹��˹�ŧ����ͺ 40% �����ǡѹ

หากมีเลือดออกทางช่องคลอด ไม่ว่าปริมาณมากหรือน้อย ควรรีบปรึกษาแพทย์ที่ดูแล เพราะอาจเกิดจากสาเหตุที่ไม่รุนแรง เช่น ช่องคลอดอักเสบ ปากมดลูกอับเสบ หรือ สาเหตุที่รุนแรงมากขึ้น เช่น รกเกาะต่ำ หรือรกลอกก่อนกำหนด ซึ่งอาจทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด หรือทารกในครรภ์เสียชีวิตได้

  • น้ำเดิน

    รู้สึกว่ามีน้ำใสๆ ไหลจากช่องคลอด ปริมาณมากกว่าตกขาวปกติ อย่าได้นิ่งนอนใจ รีบปรึกษาแพทย์โดยด่วน เพราะอาจส่งผลเสียต่อทารก เกิดการติดเชื้อ ถุงน้ำคร่ำอักเสบตามมา หรืออาจเกิดการคลอดก่อนกำหนดได้

  • รู้สึกว่าลูกดิ้นน้อยกว่าปกติ

    ความรู้สึกว่าลูกดิ้น เป็นเครื่องช่วยประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ คุณแม่ควรสังเกตุทุกวัน ตั้งแต่ 28 สัปดาห์ จึงถึงกำหนดคลอด หากรู้สึกว่าลูกดิ้นน้อยกว่าเดิม ให้รีบปรึกษาสูติแพทย์ที่ดูแลเพื่อตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
    (โดยทั่วไปมีวิธีนับที่ง่ายและนิยมคือ count to ten นับตั้งแต่เช้า – เย็น 12 ชั่วโมง ควรรู้สึกว่าลูกดิ้นอย่างน้อย 10 ครั้ง)

  • อาการเจ็บครรภ์เป็นพักๆ

    ท้องแข็งบ่อยๆ ควรลดกิจกรรมลง นอนพักดูอาการสักระยะ หากยังรู้สึกว่ามดลูกบีบตัวบ่อย ควรรีบปรึกษาสูติแพทย์

  • อาการต่างๆ ที่กล่าวมานี้สามารถเกิดได้กับคุณแม่ตั้งครรภ์ทุกคน โดยเฉพาะคุณแม่ที่ครรภ์ใกล้ครบกำหนดคลอด ซึ่งอาการเหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนให้เราไม่นิ่งนอนใจจนเกินไป ซึ่งอย่างไรก็ดีถ้าเราต้องการที่จะลดความเสี่ยงการคลอดก่อนกำหนด เราควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจครรภ์ เพื่อความมั่นใจ และคำแนะนำที่ถูกต้องจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ รับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะ พักผ่อนให้เพียงพอ เพียงเท่านี้คุณแม่ก็สามารถลดความเสี่ยงจากการคลอดก่อนกำหนดได้แล้ว

    อันดับแรก คือ “เสียชีวิต” เด็กคลอดก่อนกำหนดมีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก รวมถึงยังมีโอกาสที่จะพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ได้แก่

    • ปอดทำงานไม่ดี
    • มีภาวะเลือดออกในสมอง
    • มีภาวะเลือดออกในลำไส้

    เด็กที่คลอดก่อนกำหนดนั้น อวัยวะต่างๆ เช่น ปอด หรือเส้นเลือดที่จะไปหล่อเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ยังไม่พร้อม ยกตัวอย่าง เด็กที่เกิดช่วงอายุครรภ์ 30 สัปดาห์เราจะไม่นับอายุหนึ่งวันตอนที่เขาเกิด แต่จะไปนับอยู่หนึ่งวันตอนที่เขาครบเทอม เหมือนตอนแรกเขายังไม่ได้เกิด ดังนั้นภาวะแทรกซ้อนทางร่างกาย 3 เรื่องนี้จึงถือเป็นเรื่องใหญ่

    พอผ่าน 3 กรณีไป ก็จะมีปัญหาเรื่องตัวเหลือง เนื่องจากตับมีขนาดเล็ก มีภาวะเลือดจาง และมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งหลังจากผ่านจุดนี้ก็ยังพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่อาจเกิดจากการรักษา กรณีที่พบได้บ่อยคือ ตาบอด เพราะเด็กกลุ่มนี้จะได้รับออกซิเจนเป็นเวลานานซึ่งมีผลกับตา ทำให้มีโอกาสตาบอดได้และในระยะยาว

    อาจจะพบปัญหาคือเจริญเติบโตได้ช้า เพราะเด็กกลุ่มนี้จะตัวเล็ก ทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย  อวัยวะทำงานได้ไม่ดีเท่าเด็กทั่วไป เวลาโตขึ้นก็อาจจะเป็นโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน ไขมันสูง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ จึงมีโอกาสที่จะเสียชีวิตหรือทุพพลภาพได้มากกว่าคนปกติทั่วไป

    ทารกคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดทารกก่อน หรืออายุครรภ์เท่ากับ 37 สัปดาห์เป็นทารกที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค และการเสียชีวิต เนื่องจากอวัยวะระบบต่างๆ ยังทำงานได้ไม่สมบูรณ์ ทารกยิ่งคลอดก่อนกำหนดเร็วก็ยิ่งมีปัญหาเกี่ยวกับการทำงานของอวัยวะในระบบต่างๆ มากขึ้นเท่านั้น จากสถิติพบว่าอัตราการเกิดของเด็กไทยในปัจจุบันประมาณ 800,000 คน ต่อปี มีอัตราการเกิดของเด็กคลอดก่อนกำหนดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 8 - 10 ต่อปี ส่งผลให้อวัยวะของทารกพัฒนาได้ไม่เต็มที่ ด้วยเหตุนี้ทารกคลอดก่อนกำหนดจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากแพทย์ และพยาบาลที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
    การคลอดก่อนกําหนด เกิดจากอะไร

    เพื่อช่วยให้ทารกรอดชีวิต และมีความพิการหลงเหลือน้อยที่สุดสาเหตุการคลอดก่อนกำหนดมีได้หลายปัจจัย เช่น
    • ปัจจัยจากแม่ อาจมาจากการทำงานหนัก พักผ่อนไม่เพียงพอ มีความเครียด มีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หรือมีภาวะติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ ติดเชื้อในช่องคลอดทางเดินปัสสาวะ หรือแม่มีภาวะน้ำเดินก็จะเป็นการกระตุ้นทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดได้
    • ปัจจัยของลูก เด็กในครรภ์มีความผิดปกติตั้งแต่แรกเกิด เช่น โรคทางพันธุกรรม มีภาวะรกเสื่อม เด็กเติบโตไม่ได้จึงกระตุ้นให้มีการคลอด นอกจากนี้ ยังมีทารกแฝดบางรายที่อาจมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดได้เช่นกัน

    ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อทารกคลอดก่อนกำหนด
    ปัญหาของทารกที่คลอดก่อนกำหนดมีมากมาย เช่น มีน้ำหนักตัวน้อย การทำงานของปอดไม่สมบูรณ์ทำให้มีปัญหาการหายใจที่ผิดปกติตามมา มีภาวะเลือดออกในสมอง ส่งผลต่อระบบสมองที่อาจมีความพิการเกิดการติดเชื้อตามมาได้ง่าย ภาวะลำไส้อักเสบ

                      ภาวะหายใจลำบากจากการขาดสารลดแรงตึงผิวเป็นปัญหาของระบบทางเดินหายใจที่พบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนด ยิ่งอายุครรภ์น้อยโอกาสเกิดยิ่งมากขึ้น สารลดแรงตึงผิว (Surfactant) เป็นตัวพยุงทำให้ถุงลมในปอดไม่แฟบเมื่อหายใจออก และเกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซได้ปกติ แต่สำหรับทารกที่คลอดก่อนกำหนด จะยังไม่สามารถสร้างสารลดแรงตึงผิวได้เพียงพอ จึงทำให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนก๊าชได้ เกิดการขาดออกซิเจน และแสดงอาการหายใจลำบาก โดยเด็กจะหายใจเร็ว อกบุ๋ม จมูกบาน ตัวเขียว และส่งผลต่อระบบอื่นในร่างกายตามมาได้ นอกจากนี้การคลอดก่อนกำหนดจะส่งผลต่อระบบต่างๆ ในร่างกายของเด็ก ที่พบบ่อยมี ดังนี้
    • น้ำหนักตัวน้อยกว่าเกณฑ์
    • ปัญหาการติดเชื้อ เพราะระบบภูมิคุ้มกันอาจจะยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ อีกทั้งผิวหนังจะบางมากทำให้เชื้อโรคแทรกตัวเข้าในผิวหนังได้ง่าย จึงมีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
    • ปัญหาระบบลำไส้ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ เมื่อออกซิเจนไปเลี้ยงไม่พอลำไส้ก็ขาดเลือด และมีโอกาสเกิดลำไส้อักเสบ หรือลำไส้เน่าตามมา
    • ปัญหาระบบหัวใจ และหลอดเลือด มีโอกาสตรวจพบเส้นเลือดหัวใจเกินได้มากกว่าทารกที่คลอดครบตามกำหนด ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจวายตามมาได้
    • ปัญหาการมองเห็นในทารกคลอดก่อนกำหนด มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะจอประสาทตาผิดปกติสูงกว่าทารกที่คลอดครบตามกำหนด จากการเจริญเติบโตที่ไม่สมบูรณ์ของจอประสาทตา จึงควรตรวจจอประสาทตากับจักษุแพทย์เป็นระยะหลังคลอด
    • พัฒนาการช้า บางรายมีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กที่คลอดครบตามกำหนด ซึ่งต้องได้รับการประเมิน และกระตุ้นพัฒนาการหลังคลอดเป็นระยะ
      การคลอดก่อนกําหนด เกิดจากอะไร

    การดูแลทารกคลอดก่อนกำหนด

                      เมื่อสูตินรีแพทย์เห็นแล้วว่าไม่สามารถจะหยุด ยับยั้งให้เด็กคลอดภายในกำหนดได้ แพทย์จะฉีดยาให้กับมารดาเพื่อกระตุ้นการทำงานของปอดให้กับทารกในครรภ์ และวางแผนการรักษาร่วมกับทีมกุมารแพทย์ หลังคลอดกุมารแพทย์จะทำการตรวจร่างกาย และประเมินอาการของทารก ในกรณีที่ทารกมีภาวะหายใจลำบากจาการขาดสารลดแรงตึงผิว แพทย์จะพิจารณาให้สารลดแรงตึงผิวแก่ทารก เพื่อสามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้ดีขึ้น นอกจากนี้ ทีมแพทย์ และพยาบาลจะคอยดูแลอาการ และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้อย่างใกล้ชิด จนกระทั่งทารกมีความพร้อม สามารถหายใจได้เอง ไม่หอบ น้ำหนักตัวดีขึ้น สามารถดูดกลืนเองได้ดี ออกจากตู้อบสู่อุณหภูมิตามปกติได้ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน คุณแม่ฝึกเลี้ยงทารกจนมั่นใจว่าสามารถกลับไปดูแลที่บ้านได้ และมีการนัดตรวจร่างกาย ทุก 1 - 2 สัปดาห์ในช่วงแรก เพื่อติดตาม และสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด


    สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

    โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธิน โทร. 1772 ต่อ กุมารเวช