ชนพื้นเมืองเดิมของสังคมชมพูทวีปคือพวกใด

ชมพูทวีป (สันสกฤต: जम्बुद्वीप, อังกฤษ: Jambudvīpa, บาลี: Jambudīpa) มีความหมายได้ 2 ประการ ประการแรกหมายถึง ดินแดนที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังกลาเทศในปัจจุบัน มีชื่อเรียกทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่า “เอเชียใต้”, “อนุทวีปอินเดีย”, หรือ “ภารตวรรษ” (Bharatavarsha, भारतवर्ष)[1][2] ประการที่ 2 หมายถึงทวีปใหญ่ทางทิศใต้ของเขาพระสุเมรุซึ่งเป็น 1 ใน 4 ทวีปของชาวภารตะ (อุตรกุรุทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป)[3]

“ดาวเคราะห์เรียกว่าทวีป อวกาศก็เหมือนมหาสมุทรในอากาศ เช่นเดียวกับที่มีเกาะในมหาสมุทรที่เป็นน้ำ ดาวเคราะห์เหล่านี้ในมหาสมุทรของอวกาศเรียกว่าทวีป หรือเกาะในอวกาศ”

อ้างอิง[แก้]

  1. อินเดียสมัยพุทธกาล เก็บถาวร 2016-04-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ,Samkokview.com .สืบค้นเมื่อ 16/04/2559
  2. ความหมายชมพูทวีป ,พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดย พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) .สืบค้นเมื่อ 16/04/2559
  3. ชมพูทวีป - พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ,http://dict.longdo.com/ .สืบค้นเมื่อ 16/04/2559

มหาชนบท

อาณาจักร

  • อังคะ (จามปา)
  • มคธ (ราชคฤห์
  • ปาฏลีบุตร)
  • กาสี (พาราณสี)
  • โกศล (สาวัตถี)
  • วัชชี (เวสาลี)
  • มัลละ (ปาวา
  • กุสินารา)
  • เจตี (โสตถิตถิวดี)
  • วังสะ (โกสัมพี)
  • กุรุ (อินทรปัตถ์)
  • ปัญจาละ (กัมปิละ
  • กันยากุพย์
  • สังกัสสะ)
  • มัจฉะ (สาคละ)
  • สุรเสนะ (มถุรา)
  • อัสสกะ (โปตนะ)
  • อวันตี (อุชเชนี)
  • คันธารราฐ (ตักสิลา)
  • กัมโพชะ (ทวารกะ)

ชนพื้นเมืองเดิมของสังคมชมพูทวีปคือพวกใด

แคว้น

  • สักกะ (กบิลพัสดุ์)
  • โกลิยะ (เทวทหะ)
  • ภัคคะ (สุงสุมารคีรี)
  • วิเทหะ (มิถิลา)
  • อังคุตตราปะ (อาปณะ)

ชนพื้นเมืองเดิมของสังคมชมพูทวีปคือพวกใด
วิกิพจนานุกรม มีความหมายของคำว่า ชมพูทวีป
ชนพื้นเมืองเดิมของสังคมชมพูทวีปคือพวกใด
บทความเกี่ยวกับศาสนาพุทธนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล
ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:พระพุทธศาสนา

โพสต์12 พ.ค. 2558 00:55โดยอุทการ ชัยทัศวัฒนา   [ อัปเดต 12 พ.ค. 2558 00:55 ]

ชนพื้นเมืองเดิมของสังคมชมพูทวีปคือพวกใด

  ชมพูทวีปเป็นแหล่งกำเนิดของพระพุทธศาสนา ศัพท์คำว่า ชมพูทวีป นี้ แปลว่า  เกาะแห่งต้นหว้า สันนิษฐานว่า  ในอดีตอาจมีต้นหว้ามากมายในดินแดนแห่งนี้ก่อนที่พวกอารยันจะเข้ามานั้น เดิมเป็นถิ่นของพวกดราวิเดียน เมื่อประมาณ 800 ปีก่อนพุทธกาล พวกอารยันซึ่งเป็นชนผิวขาวได้อพยพเข้ามายึดครองดินแดนส่วนที่อุดมสมบูรณ์ของชมพูทวีป ไล่ชนพื้นเมืองคือพวกดราวิเดียนให้ถอยร่นไปทางทิศใต้และทิศตะวันออกแถบลุ่มแม่น้ำคงคา ส่วนพวกอารยันก็ได้เข้าครอบครองดินแดนตอนเหนือ ได้แก่  ภาคเหนือของประเทศอินเดียในปัจจุบัน  ในสมัยพุทธกาลเรียกว่า มัชฌิมชนบท หรือ มัธยมประเทศ พวกอารยันเมื่อเข้ามายึดครองดินแดนชมพูทวีปแล้ว ได้เรียกชนพื้นเมืองหรือดราวิเดียนว่า ทัสยุ หรือ ทาส หรือ มิลักขะ ซึ่งแปลว่า ผู้เศร้าหมอง ผู้มีผิวสีดำ  หรือเรียกว่า  อนาริยกะ  แปลว่า ผู้ไม่เจริญ  ได้เรียกตัวเองว่า อารยัน หรือ  อริยกะ  ซึ่งแปลว่า  ผู้เจริญ  ทั้งพวกอารยันและพวกมิลักขะ

          ด้านการเมืองการปกครอง

 สมัยก่อนพุทธกาล ชาวชมพูทวีปมักจะปกครองกันโดยสามัคคีธรรม  คือ พระราชวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และประชาชนมีสิทธิในการปกครองด้วย เมื่อกษัตริย์ผู้ปกครองทรงประพฤติผิดราชธรรม ประชาชนก็อาจทูลเชิญให้สละราชสมบัติได้ อาจทูลเชิญให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง กษัตริย์ในสมัยนั้นจึงยังไม่มีอำนาจมาก  ครั้นต่อมาถึงสมัยพุทธกาล จึงมีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธราชหรือราชาธิปไตย คือ พระราชาทรงมีอำนาจเด็ดขาดในการปกครอง

สมัยก่อนพุทธกาล  ผู้เป็นหัวหน้าหรือผู้ปกครองนั้นเรียกกันว่า  มหาราชบ้าง ราชาบ้าง  ราชัญญะบ้าง และการปกครองก็ยังมิได้มีการกำหนดเขตการปกครองอย่างเป็นระเบียบและเป็นแคว้นต่างๆ หลายสิบแคว้นตามที่ระบุในติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระสุตตันตปิฎก  พระไตรปิฎก เล่มที่ 20 มีทั้งหมด21 แคว้น โดยแบ่งเป็นแคว้นใหญ่ 16 แคว้น และแคว้นเล็กๆ 5 แคว้น แคว้นแต่ละแคว้น เรียกว่า  ชนบท  เฉพาะแคว้นที่มีอาณาเขตกว้างขวาง  เรียกว่า  มหาชนบท  ชนบทเหล่านี้แบ่งเป็น  2  ส่วน  คือ  ส่วนกลาง  เรียกว่า  มัชฌิมชนบท  หรือ มัธยมประเทศ  ส่วนที่  เป็นหัวเมืองชั้นนอก  เรียกว่า  ปัจจันตชนบท

ชนพื้นเมืองเดิมในดินแดนชมพูทวีปคือพวกใด

ครอบครองดินแดนตอนเหนือ พวกอารยันเมื่อเข้ามายึดครองดินแดนชมพูทวีปแล้ว ได้เรียกชนพื้นเมืองหรือ ดราวิเดียนว่า ทัสยุ หรือทาส หรือมิลักขะ ซึ่งแปลว่า ผู้เศร้าหมอง ผู้มีผิวสีดำ หรือเรียกว่า อนาริยกะ แปลว่า ผู้ไม่เจริญ เรียกตัวเองว่า อารยันหรืออริยกะ ซึ่งแปลว่า ผู้เจริญ

ชมพูทวีปเป็นที่เกิดของใคร

ชมพูทวีปเป็นแหล่งกาเนิดของพระพุทธศาสนา เดิมเป็นถิ่นของพวกดราวิเดียน ต่อมาเมื่อประมาณ 800 ปีก่อนพุทธกาล พวกอารยันซึ่งเป็นชนผิวขาวได้อพยพเข้ามายึดครองดินแดนส่วนที่อุดมสมบูรณ์ของชมพู ทวีป ไล่ชนพื้นเมืองให้ถอยร่นไปทางทิศใต้และทิศตะวันออกแถบลุ่มแม่น้าคงคา ส่วนพวกอารยันก็ได้เข้า ครอบครองดินแดนตอนเหนือ พวกอารยันเมื่อเข้ามา ...

สังคมชมพูทวีปมีลักษณะเป็นอย่างไร

ลักษณะทางสังคม การปกครอง สมัยก่อนพุทธกาล ชาวชมพูทวีปมักจะปกครองกันโดยสามัคคีธรรม คือ พระราชวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และประชาชนมีสิทธิในการปกครองด้วย เมื่อกษัตริย์ผู้ปกครองทรงประพฤติผิดราชธรรม ประชาชนก็อาจทูลเชิญให้สละราชสมบัติได้ อาจทูลเชิญให้กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง กษัตริย์ในสมัยนั้นจึงยังไม่มีอำนาจมาก

ชนพื้นเมืองเดิมในชมพูทวีปมีการนับถือศาสนาใดเป็นส่วนใหญ่

ประชาชนในชมพูทวีปส่วนใหญ่นับถือศาสนาพราหมณ์ ระบบความเชื่อก็เลยขึ้นอยู่กับหลักธรรม คำสอนของศาสนาพราหมณ์ตามที่ระบุไว้ในคัมภีร์พระเวท คือ เชื่อพระเจ้าหลายองค์ พระเจ้าที่โดดเด่น ก็คือ พระพรหม ซึ่งถือเป็นพระผู้สร้าง พระวิษณุ (พระนารายณ์) ซึ่งถือเป็นพระผู้รักษา และพระอิศวร (พระศิวะ) ซึ่งถือเป็นพระผู้ทำลาย นอกจากนี้ยังมีความ ...