วิธีการแยกสารเนื้อเดียว มีอะไรบ้าง

วิธีการแยกสารเนื้อผสม

        การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อำนาจแม่เหล็ก การระเหิด ซึ่งเป็นการแยกสารโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกได้จะมีสมบัติเหมือนเดิม ซึ่งรายละเอียดของวิธีการแยกแบบต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้

1.การใช้แม่เหล็กดูด

         เป็นการแยกของผสมเมื่อสารชนิดหนึ่งสามารถถูกดูดด้วยแม่เหล็กได้ เช่น การแยกผงตะไบเหล็กออกจากสารผสมและการแยกเหล็กออกจากสินแร่

2. การระเหิด

      การระเหิดเป็นเทคนิคของการทำสารให้บริสุทธิ์อีกหนทางหนึ่ง ซึ่งอาศัยสมบัติการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งให้กลายเป็นไอ โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว เช่น การระเหิดการบูรออกจากสารผสม และการระเหิดเกล็ดไอโอดีนแยกออกจากสารผสม

3.การใช้กรวยแยก

        การใช้กรวยแยก ใช้สำหรับแยกของเหลวที่ผสมกับของเหลวโดยที่ของเหลวเกิดการแยกชั้นกัน เช่น น้ำกับน้ำมัน จะแยกชั้นกันอยู่ เพราะน้ำมีขั้วแต่น้ำมันไม่มีขั้ว ซึ่งกรวยแยกจะมีลักษณะเป็นกรวยให้เราใส่ของเหลวลงไป ของเหลวนั้นจะแยกชั้นกันอยู่ จากนั้นให้เราไขก๊อกของเหลวส่วนล่างก็จะไหลออกมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งเราเห็นว่าของเหลวส่วนล่างใกล้หมดแล้วเราก็ค่อย ๆ ไขก๊อกปิด แล้วก็เปลี่ยนบีกเกอร์เพื่อมารองรับสารละลายส่วนบนที่เหลืออยู่ต่อไป

4.การกรอง

       เป็นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือใช้แยกสารแขวนลอยออกจากของเหลว ซึ่งใช้กันมากในทางเคมี โดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการที่กรองสารในปริมาณน้อย ๆ การกรองนั้นจะต้องเทสารผ่านกระดาษกรอง หรืออาจใช้วัสดุต่างๆนอกเหนือจากกระดาษกรองก็ได้ เช่น ผ้าขาวบาง ผ้าชนิดต่างๆ  เซลโลเฟน และกระดาษแก้ว เป็นต้น อนุภาคของแข็งที่ลอดผ่านรูวัสดุกรองไม่ได้จะอยู่บนวัสดุกรอง ส่วนน้ำและของเหลวได้จะผ่านวัสดุกรองลงสู่ภาชนะ

วิธีการแยกสารเนื้อเดียว มีอะไรบ้าง

หน้าหรือส่วนนี้คือฉบับร่างหรือโครงร่างที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา
คุณสามารถช่วยเหลือในการพัฒนางานเขียนหรือสอบถามเพื่อขอความช่วยเหลือในสภากาแฟได้

การแยกสาร หมายถึงการที่แยกสารที่ผสมกันตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปออกจากกัน เพื่อนำสารที่ได้นั้นไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ ซึ่งสามารถจำแนกได้คือ การแยกสารเนื้อผสม และการแยกสารเนื้อเดียว

สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่มีลักษณะให้สารไม่ผสมกลมกลืนกันเป็นเนื้อเดียวกันเกิดจาก สารอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันโดยเนื้อสารจะแยกกันเป็นส่วน ๆ การแยกสารเนื้อผสมอาจใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น การกรอง การใช้กรวยแยก การใช้อำนาจแม่เหล็ก การระเหิด การระเหยจนแห้ง ซึ่งเป็นการแยกสารโดยวิธีทางกายภาพทั้งสิ้น สารที่แยกได้จะมีสมบัติเหมือนเดิม

1. การกรอง เป็นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่างของแข็งกับของเหลว หรือใช้แยกสารแขวนลอยออกจากน้ำ ซึ่งใช้กันมากในทางเคมี โดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการที่กรองสารในปริมาณน้อย ๆ การกรองนั้นจะต้องเทสารผ่านกระดาษกรอง อนุภาคของแข็งที่ลอดผ่านรูกระดาษกรองไม่ได้จะอยู่บนกระดาษกรอง ส่วนน้ำและสารที่ละลายน้ำได้จะผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ

2. การใช้กรวยแยก เป็นวิธีที่ใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของเหลว 2 ชนิดที่ไม่ละลายออกจากกัน โดยของเหลวทั้งสองนั้นแยกเป็นชั้นเห็นได้ชัดเจน เช่น น้ำกับน้ำมัน เป็นต้น การแยกโดยวิธีนี้จะนำของเหลวใส่ในกรวยแยก แล้วไขของเหลวที่อยู่ในชั้นล่างซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าชั้นบนออกสู่ภาชนะจนหมด แล้วจึงค่อย ๆ ไขของเหลวที่ที่เหลือใส่ภาชนะใหม่

3. การใช้อำนาจแม่เหล็ก เป็นวิธีที่ใช้แยกองค์ประกอบของสารเนื้อผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่งมีสมบัติในการถูกแม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผงเหล็กกับผงกำมะถัน โดยใช้แม่เหล็กถูไปมาบนแผ่นกระดาษที่วางทับของผสมทั้งสอง แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา

4. การระเหิด คือ ปรากฏการณ์ที่สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นก๊าซหรือไอโดยไม่เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวก่อน ใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งออกจากกัน โดยของแข็งชนิดหนึ่งมีสมบัติระเหิดได้ เช่น ลูกเหม็น พิมเสน น้ำแข็งแห้ง การบูรกับเกลือแกง เมื่อให้ความร้อนการบูรจะกลายเป็นไอแยกออกจากเกลือแกง ดักไอของการบูรด้วยภาชนะที่เย็นจะได้การบูรเป็นของแข็งแยกออกมา

5. การใช้มือหยิบออกหรือเขี่ยออก ใช้แยกของผสมเนื้อผสม ที่ของผสมมีขนาดโตพอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได้ เช่น ข้าวสารที่มีเมล็ดข้าวเปลือกปนอยู่

6. การตกตะกอน ใช้แยกของผสมเนื้อผสมที่เป็นของแข็งแขวนลอยอยู่ในของเหลว ทำได้โดยนำของผสมนั้นวางทิ้งไว้ให้สารแขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณีที่ตะกอนเบามากถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึ้นอาจทำได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึ้น น้ำหนักจะมากขึ้นจะตกตะกอนได้เร็วขึ้น เช่น ใช้สารส้มแกว่ง อนุภาคของสารส้มจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางให้โมเลกุลของสารที่ต้องการตกตะกอนมาเกาะ ตะกอนจะตกเร็วขึ้น

การแยกสารเนื้อเดียว[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ประโยชน์ของโครมาโทกราฟฟี[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การแยกสารเนื้อเดียวมีวิธีใดบ้าง

ในบทนี้ผู้เขียนขอนำเสนอวิธีการแยกสารเนื้อเดียว ได้แก่ การกลั่น การตกผลึก การสกัดด้วยตัวทำละลาย และโครมาโทกราฟี ซึ่งจะขอเสนอรายละเอียดในแต่ละหัวข้อดังนี้

วิธีการแยกสารเนื้อผสม มีกี่วิธี อะไรบ้าง

การกรอง ... .
การระเหยแห้ง ... .
การระเหิด ... .
การใช้แม่เหล็กดูด ... .
การใช้มือหยิบออก ... .
การใช้กรวยแยก ... .
การร่อน.

วิธีการแยกสารมีอะไรบ้าง

การแยกสาร.
การกรอง (filtration) เป็นวิธีที่ใช้แยกของแข็งที่มีอนุภาคใหญ่กว่า 10 – 4 cm ออกจากของเหลวโดยที่ของแข็งนั้น ... .
การกลั่น (distillation) ... .
การสกัดด้วยตัวทำละลาย (solvent extraction) ... .
โครมาโตกราฟี (chromatography) ... .
การตกผลึก (crystallization) ... .
การใช้กรวยแยก (seperating Funnel).

การรินออกมีอะไรบ้าง

5. การรินออก เป็นวิธีการแยกสารผสมที่มี ของแข็งผสมอยู่กับของเหลว โดย ของแข็งจะไม่ละลายในของเหลวนั้น ในการแยกด้วยการรินออกท าได้ง่าย โดยรินสารส่วนที่เป็นของเหลวออกจาก ส่วนที่เป็นของแข็ง เช่น รินน ้าซาวข้าว เพื่อแยกน ้าออกจากเมล็ดข้าว สารผสม