การปฏิรูปการปกครองอาณาจักรอยุธยาในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีลักษณะสำคัญอย่างไร


��èѴ����º��û���ͧ������ظ��

��èѴ����º��û���ͧ���͡�� 3 ����
1. ������ظ�ҵ͹�� (�.�.1893-1991)
2. ������ظ�ҵ͹��ҧ (�.�.1991-2231)
3. ������ظ�ҵ͹���� (�.�. 2231-2310)
������ظ�ҵ͹���������¡���ҧ�ҡ�ҹ��û���ͧ �觡�û���ͧ�͡�� 2 ��ǹ
1. ��û���ͧ��ǹ��ҧ�����Ҫ�ҹջ���ͧẺ���ʴ��� ���ʹҺ�� 4 ���˹�
1.1 ���§ �բع���§�����˹�Ҵ��ŷء���آ�ͧ��ɮ�
1.2 �ѧ �բع�ѧ�����˹�� ���šԨ�����������Ǣ�ͧ�麾���Ҫ�ӹѡ��оԨ�ó�Ծҡ�Ҥ��
1.3 ��ѧ �բع��ѧ�����˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
1.4 �� �բع�������˹�� ���š�÷��÷ӹҢͧ��ɮ� ��ʹ����������ʺ�§����âͧ��й��
2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ������ǹ������ͧ
2.1 ���ͧ�١��ǧ�������ͧ˹�Ҵ�ҹ�����ͺ�Ҫ�ҹ� 4 ��� ��ҧ�ҡ�Ҫ�ҹ��������Թ�ҧ 2 �ѹ �����ҡ�ѵ�����觵�駾���Ҫ����������ҹ�ª���٧任���ͧ
2.2 ������ͧ���� ������ͧ�����������ͺ��й�� ���� ��Ҩչ���� �Ҫ���� ྪú��� ��� �բع�ҧ�ҡ���ͧ��ǧ任���ͧ
2.3 ������ͧ��鹹͡�������ͧ�������ҹ�� ���ͧ��Ҵ�˭�������ҧ�Ũҡ�Ҫ�ҹ�
2.4 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���Ҷ��µ����˹� 3 �յ�ͤ���

������ظ�ҵ͹��ҧ �������¡�û�Ѻ��ا��û���ͧ ���������¾�к�����š�Ҷ ��û�Ѻ��ا��û���ͧ �ִ��ѡ�������ӹҨ�������ٹ���ҧ ����ǹ�Ҫ����͡��
1. ��û���ͧ���ǹ��ҧ������ǹ�Ҫ�ҹ� �觡�û���ͧ�͡�� 2 ����
1.1 ���·��� �����ˡ����������˹�� ���ŷ��÷����Ҫ�ҳҨѡ�
1.2 ���¾����͹ �����˹�¡�����˹�� ����Ѻ�Դ�ͺ���ʴ��� 4 �������¹�������¡���� ��� ���§ �� ��ú��
�ѹ �� ����Ҹԡó�
�� �� �ɵ�Ҹ��Ҫ
��ѧ �� ��ҸԺ��

2. ��û���ͧ��ǹ�����Ҥ �ô���¡��ԡ���ͧ�١��ǧ �Ѵ��û���ͧ�͡��
2.1 ������ͧ���� ����¹��������ͧ�ѵ�� �ռ�黡��ͧ��ͼ�����
2.2 ������ͧ��鹹͡ ����¹������ͧ��� �͡ � ��� ����ӴѺ�����Ӥѭ ��Т�Ҵ�ͧ���ͧ
2.3 ���ͧ������Ҫ �����ҵ�ҧ�ҵԵ�ҧ���һ���ͧ�ѹ�ͧ ���ͧ������ͧ�Ҫ��óҡ���ҵ����˹�

������ظ�ҵ͹���� �������¶�ǧ����ӹҨ ���������¾��ྷ�Ҫ� ���¹���ִẺ���ҧ��û���ͧẺ������稾�к�����š�Ҷ�ç��Ѻ��ا �������¡�ӹҨ���ˡ�����������˹�¡�������� ���
���ˡ����� - ����������ͧ�������������駷���繽��·�����о����͹
���˹�¡ - ����������ͧ�����˹�ͷ���������繽��·�����о����͹
�ٻẺ��û���ͧ�ͧ��ظ�� ������ͧ�Ҩ��֧�Ѫ��ŷ�� 5 �֧���ա�û���ٻ��û���ͧ��������


(����Ȣͧ��� � 204 ������԰ �Է���Ѱ ��Ф��)


การปฏิรูปการปกครองสมัยอยุธยา                

    ในช่วงต้นสมัยอยุธยาได้มีการปฏิรูปครั้งสำคัญ คือ การปฏิรูปการปกครองและการบริหารราชการแผ่นดินในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นรูปแบบการบริหารราชการแผ่นดินที่ใช้มานาน 400 ปี จนถึงสมัยรัชกาลที่5

สาเหตุของการปฏิรูปการปกครอง

1.เนื่องจากเป็นช่วงที่กรุงศรีอยุธยาขยายดินแดนออกไปกว้างขวางจากการรวมอาณาจักรสุโขทัยเข้าด้วยกันเป็นอาณาจักรเดียว

2.มีประชากรเพิ่มมากขึ้น

3.การเมืองการปกครองมีความดูแลที่ซับซ้อน

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ จึงทรงปฏิรูปการปกครองซึ่งสรุปได้ดังนี้

1.การปกครองส่วนกลาง

      สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงดึงอำนาจมาไว้ในส่วนกลาง คือ กรุงศรีอยุธยา ทรงตราพระไอยการตำแหน่ง นาทหาร และ นาพลเรือน แบ่งฝ่ายบริหารออกเป็นฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร โดยฝ่ายพลเรือนมีสมุหนายกเป็นหัวหน้ารับผิดชอบ รวมทั้งควบคุมดูแลจตุสดมภ์ ซึ่งจตุสดมภ์ยังคงมีอำนาจหน้าที่เหมือนเดิม แต่เปลี่ยนชื่อให้แตกต่างจากเดิม

การปกครองแบบจตุสดมภ์      

ในสมัยพระเจ้าอู่ทองได้ปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่เป็นแบบจตุสดมภ์ตามแบบอย่างของขอมโดยมีกษัตริย์เป็นผู้อำนวยการปกครอง การปกครองประกอบด้วยเสนาบดี 4 คนคือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา พร้อมทั้งได้ตรากฎหมายลักษณะอาญาหลวงและกฏหมายลักษณะอาญาราษฎร เพื่อเป็นบรรทัดฐานในด้านยุติธรรม การบังคับบัญชาในส่วนกลางแบ่งออกเป็น     

ขุนเมือง(ขุนเวียง)ตระเวนซ้าย ขวา และขุนแขวง อำเภอ กำนันในกรุงบังคับศาลพิจารณาความฉกรรจ์มหันตโทษ ซึ่งแบ่งเป็นแผนกว่าความนครบาลและคุมไพร่หลวงมหันตโทษ ทำหน้าที่ตะพุ่นหญ้าช้าง      

 ขุนวัง ทำหน้าที่รักษาพระราชมนเฑียร และพระราชวังชั้นนอกชั้นในเป็น พนักงานจัดการพระราชพิธีทั้งปวงทั่วไป และบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายหน้า บรรดาข้าราชการ ซึ่งมีตำแหน่งอยู่ในพระบรมมหาราชวังชั้นในและข้าราชการฝ่ายในทั่วไปมีอำนาจที่จะตั้งศาลชำระความซึ่งเกี่ยวข้องได้ ราชการในกรมวังนี้มีความละเอียดกว่าราชการในกรมเมืองต้องรู้วิธีปฏิบัติราชการ มีความจดจำดีมีความขยันหมั่นเพียรและต้องใช้ความรู้ความสามารถ      

ขุนคลัง ทำหน้าที่ในการบังคับบัญชาในเรื่องเกี่ยวข้องกับการเงิน ซึ่งจะเข้าในพระคลังและที่จะจ่ายราชการบังคับจัดการภาษีอากรขนอนตลาดทั้งปวงและบังคับศาลซึ่งชำระความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์ของหลวงทั้งปวง     

 ขุนนา มีหน้าที่ดูแลรักษานาหลวงเก็บค่าเช่าจากราษฎร เป็นพนักงานจัดซื้อข้าวขึ้นฉางหลวง เป็นพนักงานทำนาตัวอย่าง ชักจูงราษฎรให้ลงมือทำนาด้วยตนเองเป็นผู้ทำนุบำรุงชาวนาทั้งปวงไม่ให้เสียเวลาทำนา นอกจากนั้นยังมีอำนาจที่จะตั้งศาลพิพากษา ความที่เกี่ยวข้องด้วยเรื่องนาและโคกระบือ ฝ่ายทหารมีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้าผู้รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายทหาร
2.การปกครองส่วนภูมิภาค

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเห็นว่าการจัดระเบียบการปกครองหัวเมืองที่ใช้กันมาแต่เดิมไม่อาจควบคุมหัวเมืองที่อยู่ห่างไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงทรงปรับปรุงการปกครองหัวเมืองให้เป็นระเบียบแบบแผนมากขึ้น โดยรวมอำนาจการปกครองไว้ที่ส่วนกลาง ยกเลิกเมืองลูกหลวงกรือเมืองหน้าด่านที่ตั้งอยู่ 4 ทิศ และจัดใหม่เป็น หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก(เมืองพระยามหานคร)ละหัวเมืองประเทศราช

      นอกจากนี้ยังทรงจักระบบศักดินา  สังคมศักดินา หมายถึง ระบบสังคมที่มีการแบ่งชนชั้น  ซึ่งกำหนดสิทธิหน้าที่และฐานะของแต่ละบุคคลในสังคม  จุดประสงค์ก็เพื่อควบคุมกำลังคนและแบ่งฐานะของบุคคลเป็นสำคัญ  ผู้ควบคุมกำลังคนสูงสุด  คือ  พระมหากษัตริย์  รองลงมาได้แก่  ขุนนาง (ข้าราชการและผู้ถูกควบคุมคือ สามัญชนหรือไพร่ ระบบศักดินาได้รับการจัดระเบียบในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ  โดยมีการตราพระราชกำหนดกฎหมายเกี่ยวกับศักดินาขึ้นใน  ..  1998  เรียกว่า  “ พระไอยการตำแหน่งนายพลและนายทหารหัวเมือง“  สังคมไทยในอดีตมีการจัดระเบียบของคนในสังคมออกเป็น  2  ชนชั้นใหญ่ ๆ  คือ  ชนชั้นปกครองและชนชั้นใต้ปกครอง  โดยมีศักดินาเป็นตัวกำหนดหน้าที่ในแต่ละชนชั้น

ชนชั้นปกครอง ได้แก่

1.เจ้านาย

2.ขุนนาง

ชนชั้นใต้ปกครอง  ได้แก่

1.ไพร่

2.ทาส

ผลของการปฏิรูปนี้ทำให้อาณาจักรอยุธยามีความมั่นคง การบริหารราชการแผ่นดินมีระบบระเบียบ การควบคุมประชากรที่เป็นกำลังสำคัญด้านแรงงานและกำลังทหารมีประสิทธิภาพมากขึ้น  

สร้างโดย น.ส. อลิสซาเบซ เมย์ เตมีศรีสุข ม.4/3 เลขที่ 11

แหล่งอ้างอิง หนังสือเรียนวิชา ประวัติศาสตร์ ม.4 - ม.6, http://new.school.net.th/library/create-web/10000/history/10000-2455.html

การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถมีลักษณะอย่างไร

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงปฏิรูปการปกครอง โดยทรงรวมอำนาจจากการปกครองเข้าสู่ศูนย์กลางคือ ราชธานี และแยกฝ่ายทหาร และฝ่ายพลเรือนออกจากกันคือ ฝ่ายทหารมีสมุหพระกลาโหมเป็นหัวหน้า รับผิดชอบ ฝ่ายพลเรือนมีสมุหนายก เป็นหัวหน้ารับผิดชอบ มีผู้ช่วยคือ จตุสดมภ์ ได้แก่ กรมเมือง กรมวัง กรมพระคลัง และกรมนา ในกรณีที่เกิดศึกสงครามทั้งฝ่าย ...

การปฏิรูปการปกครองในสมัยพระบรมไตรโลกนาถส่งผลต่ออยุธยาอย่างไร

ผลจากการปฏิรูป ทำให้อยุธยาเป็นราชอาณาจักรที่มีระเบียบแบบแผน อำนาจการปกครองถูกรวมมาไว้ที่องค์ พระมหากษัตริย์ ซึ่งประทับอยู่ที่เมืองหลวง คือ พระนครศรีอยุธยา เป็นรูปแบบที่เรียกว่า "สมบรูณาญาสิทธิราชย์" สมบรูณ์แบบที่สุดในระบบที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

การปฏิรูปการปกครองสมัยอยุธยาเกิดขึ้นในสมัยใด

การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย คือ ตั้งแต่ พ.ศ.1991 ในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ถึงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2310 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ.1991 - พ.ศ.2031 พระองค์ได้ปฏิรูปการปกครองเสียใหม่ดังนี้

ข้อใดคือหลัก 3 ประการที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถใช้ในการปกครอง

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจึงได้ปฏิรูปการปกครองแผ่นดินให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม โดยใช้หลัก 3 ประการ ได้แก่ การรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง การแบ่งแยกอำนาจหน้าที่และหลักการถ่วงดุลอำนาจ[7] ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ คือ