มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

องค์ประกอบของมัลติมีเดีย 

        1. ข้อความหรือตัวอักษร (Text) รวมทั้งตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษต่างๆ ที่ได้มาจากการพิมพ์ การสแกน เป็นส่วนที่แสดงเนื้อหา myfreeslots reduslim prezzo เพื่อบอกรายละเอียดแก่ผู้รับสาร ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญ

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

รูปที่ 6 องค์ประกอบของมัลติมีเดีย ชนิดไฟล์ .pdf  

รูปที่ 7 องค์ประกอบของมัลติมีเดีย ชนิดไฟล์ .doc

รูปที่ 8 องค์ประกอบของมัลติมีเดีย ชนิดไฟล์ .txt

        2. ภาพนิ่ง (Still Image) คือ ภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพลายเส้น สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน และเข้าใจง่าย

รูปที่ 9 ภาพนิ่ง 

3. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) ภาพที่สร้างขึ้นจากคอมพิวเตอร์ เพื่อแสดงการเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ เหมาะกับการนำเสนอเนื้อหา ข้อมูลที่ต้องการให้เห็นขั้นตอน หรือการเปลี่ยนแปลงต่างๆ

รูปที่ 10 ภาพเคลื่อนไหว

4. เสียง (Sound) การสื่อความหมายผ่านทางการได้ยิน โดยเราสามารถก าหนดรูปแบบเสียงให้สามารถสื่ออารมณ์กับสื่อที่เราผลิตตามลักษณะของสื่อนั้นๆ เช่น ตื่นเต้น เศร้า ดีใจ เป็นต้น

รูปที่ 11 เสียง

 5. ภาพวิดีโอ (Video) คือ สิ่งที่ถ่ายทอดเรื่องราว โดยมีทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียงรวมกัน myfreeslots reduslim prezzo เพื่อสื่อความหมาย ผ่านอากัปกิริยาอย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้รับรู้สามารถตีความได้อย่างชัดเจน

รูปที่ 12 ภาพวิดีโอ

ขอบคุณที่มา
https://sites.google.com/site/chaipon4256/xngkh-prakxb-khxng-maltimideiy

Multimedia refers to content that uses a combination of different content forms. This contrasts with media that use only rudimentary computer displays such as text-only or traditional forms of printed or hand-produced material. Multimedia includes a combination of text, audio, still images, animation, video, or interactivity content forms.
[ http://en.wikipedia.org/wiki/Multimedia]  


 มัลติมีเดีย หมายถึง การใช้สื่อมากกว่า 1 สื่อร่วมกันหรือสื่อผสมเพื่อนำเสนอสารสนเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ ผู้รับสื่อสามารถรับรู้สารสนเทศได้มากกว่า 1 ช่องทาง โดยผ่านการควบคุมการใช้ และโต้ตอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครือข่าย
 สื่อประสม ที่มีการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อการนำเสนอสารสนเทศเป็นหลักได้มีการออกแบบการนำเสนอไว้อย่างเป็นระบบ โดยรวมเอา
 ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ไว้ด้วยกันซึ่งจะเน้นส่วนไหนขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งาน และจะเน้นผลผลิตที่เกิดจากการนำเสนอข้อมูลหลากลายรูปแบบ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และข้อความ
 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย หมายถึง เทคโนโลยีได้เข้ามามีบาทเป็นอย่างสูงในการพัฒนามัลติมีเดีย ไม่ว่าจะเป็นด้านสมรรถนะของซีพียู รวมทั้งประสิทธิภาพของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพื่อรองรับความต้องการของเทคโนโลยีมัลติมีเดียมากขึ้นเช่น โปรเซสเซอร์ที่สามารถประมวลผลข้อมูลอย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับการประมวลผลทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกที่มีความซับซ้อนมากขึ้น หน่วยความจำที่มีขนาดใหญ่และมีความเร็วสูง การ์ดแสดงผลที่ช่วยให้แสดงภาพได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการแสดงผลสูง จอภาพที่มีขนาดใหญ่ การ์ดเสียงและลำโพงที่สมบูรณ์แบบเทียบได้กับเครื่องเสียงราคาแพง ๆ อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่มีความจุมากขึ้น เช่น ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น

 7.1 ประเภทมัลติมีเดีย

1. ตัวอักษร (Text) คือ การนำเสนอข้อความเชิงมัลติมีเดีย โดยปกติการเขียนข้อความโดยทั่วไปจะใช้ในกระบวนการติดต่อสื่อสาร โดยเน้นทำให้ผู้อ่านเข้าใจสิ่งที่ผู้เขียนต้องการเขียน แต่การสื่อสารด้วยข้อความในเชิงของมัลติมีเดีย นอกจากจะทำให้ผู้อ่านเข้าใจแล้วยังสามารถสื่อถึงอารมณ์ ความรู้สึก ของผู้นำเสนออีกด้วย

 

2. ภาพนิ่ง (Still Image) คือ ภาพที่อาจจะประกอบด้วยภาพวาด ภาพถ่าย ภาพที่เป็นลวดลายเชิงเส้น ซึ่งหยุดนิ่งไม่มีการเคลื่อนไหว การนำเสนอเป็นภาพนิ่งทำให้การรับรู้ของผู้ที่มองเห็น สื่อถึงอารมณ์และความรู้สึกได้ลึกซึ้งมากกว่าตัวอักษร โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้สำหรับการสร้างภาพนิ่งเช่น Paint และ Adobe Photoshop เป็นต้น ชนิดของภาพนิ่งแสดงดังต่อไปนี้

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

3. ภาพบิตแมป (Bitmap) หมายถึง เส้นตัดกันของบิตในแนวตั้งและแนวนอน ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงให้เป็นจุดภาพ ภาพในคอมพิวเตอร์นั้นจะประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ ของแสง ซึ่งเรียกว่าจุดภาพ (pixel) รวมตัวกัน ภาพที่มีจำนวนจุดภาพมาก จะยิ่งดูคมชัดมาก ได้แก่ .BMP, .PCX, .GIF, .JPG, .TIF

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

4. ภาพเวกเตอร์ (Vector) หมายถึง ภาพกราฟิกที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ
ข้อดีคือ สามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง ข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาด หรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้น ข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้น โปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe Illustrator, Inks cape เป็นต้น  

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

5. คลิปอาร์ต (Clipart) หมายถึง ภาพที่ได้รับอนุญาตให้ตัดหรือคัดลอกมาใช้ได้ด้วยวิธีการทางคอมพิวเตอร์ (เช่น ใช้คำสั่ง cut หรือ copy) มีการนำมาเก็บรวบรวมไว้เพื่อใช้ในงานพิมพ์ตั้งโต๊ะ(desktop publishing) หรืองานพิมพ์ต่าง ๆ ในชุดโปรแกรมสำเร็จที่ชื่อ Microsoft Office จะมี Microsoft clip gallery รวบรวมภาพไว้ให้เลือกมากมาย เพื่อให้คัดลอกไปใช้ในงานพิมพ์ได้ตามที่ต้องการ

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

6. รูปเชื่อมโยง (Hyperlink Picture) หมายถึง ภาพชนิดพิเศษที่พบได้บนสื่อมัลติมีเดีย มีความสามารถเชื่อมโยงไปยังเนื้อหา หรือรายละเอียดอื่นๆ เมื่อเกิดเหตุการณ์เช่น การคลิกเมาส์ (Click) หรือการนำเมาส์มาวางไว้เหนือตำแหน่งที่ระบุ (Over)เป็นต้น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

7. ภาพเคลื่อนไหว (Animation) คือ ภาพที่มีการนำเสนอโดยมีการเคลื่อนไหวของรูปภาพ เป็นเรื่องราวหรือเป็นขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง และน่าสนใจ บางครั้งมีเสียงประกอบเพื่อสร้างความน่าสนใจของเรื่องราวที่เกิดขึ้น โปรแกรมที่ใช้สำหรับการสร้างภาพเคลื่อนไหวเช่น Adobe premiere, Flash เป็นต้น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

8. เสียง (Sound) คือ  องค์ประกอบที่น่าสนใจของการสร้างมัลติมีเดีย รูปภาพที่เกิดการเคลื่อนไหวเข้าสู่ระบบการประมวลผลของมนุษย์ทางด้านการมองเห็นผ่านดวงตา ส่วนเสียงเข้าสู่ระบบการประมวลผลของมนุษย์ทางด้านการได้ยินผ่านหู ดังนั้นเสียงจึงเป็นสิ่งที่จะสร้างความสมบูรณ์ของงานทางด้านมัลติมีเดียให้มีความน่าสนใจยิ่งขึ้น การนำเข้าเสียงไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถทำได้โดยผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดี/ดีวีดี เป็นต้น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

 

9. วีดีโอ (Video) คือ ภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงที่สมบูรณ์แล้วได้จากการบันทึก หรือถ่ายทำแล้วมีการจัดเก็บเป็นไฟล์ที่สามารถเปิดโดยระบบคอมพิวเตอร์ ไฟล์วีดีโอที่ดีจะต้องอัตราเร็วต่อเฟรมไม่ต่ำกว่า 30 เฟรมต่อวินาที ดังนั้นการนำเสนอไฟล์วีดีโอเพียง 1 นาทีอาจจะต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บปริมาณมาก ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ จำนวนเนื้อที่ในการจัดเก็บจะต้องใหญ่มาก หรือทำการบีบอัดให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง ตัวอย่างเช่น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

AVI (Audio Video Interleaved) คือไฟล์ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว ซึ่งดูผ่านคอมพิวเตอร์ โดยจะสามารถเปิดทั้งภาพและเสียงพร้อมกันได้ทันที โปรแกรมที่ใช้เปิดไฟล์จำพวกนี้ ได้แก่ Windows Media Player, Quick Time เป็นต้น ถือเป็นไฟล์วิดีโอมาตรฐานในเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป ของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ (Windows ) มีความคนชัดของภาพและเสียงสูง จึงทำให้ไฟล์มีขนาดใหญ่ ไฟล์ AVI นั้นใช้งานได้หลากหลายตามสถานการณ์ อย่างถ้าตัดต่อวีดีโอมักใช้ต้นฉบับไฟล์ DVD, AVI แต่ถ้าเป็นไฟล์ที่ RIP มาจากแผ่นดีวีดี มักใช้เป็น Xvid AVI เพราะมีขนาดเล็กกว่าไฟล์ดีวีดีปกติถึงเกือบ 6 เท่า แต่ทว่าคุณภาพลดลง โดยบริษัทไมโครซอฟต์นำเสนอไฟล์ AVI เมื่อเดือน ธันวาคม 1992
 MPEG (Moving Picture Experts Group) คือ ไฟล์ที่มีรูปแบบของการบีบอัดไฟล์สำหรับวีดีโอ ซึ่งไฟล์วีดีโอที่ได้รับการบีบอัดในแบบ MPEG จะมีคุณภาพในการแสดงภาพที่ดีกว่าวีดีโอ โดยไฟล์ในรูปแบบ MPEG จะถอดรหัสโดยใช้ความสามารถของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ การบีบอัดไฟล์แบบ MPEG ได้รับการบีบอัดข้อมูลโดยการเข้ารหัสที่เรียกว่า DCT โดยไฟล์ในแบบ MPEG อาจมีการสูญเสียข้อมูลบางส่วนจากการบีบอัดแต่ก็เป็นส่วนน้อยมาก การบีบอัดไฟล์ในมาตรฐาน MPEG มี 3 รูปแบบ คือ
   ->> MPEG-1 คือ แบบที่ใช้สำหรับการรับชมภาพยนตร์จากแผ่นซีดี หรือวีดีโอซีดี (VCD) โดยปกติ มีความละเอียดของภาพที่ 352 X 240 ที่ 30 เฟรมต่อวินาที ซึ่งเปรียบได้กับคุณภาพการแสดงผลวีดีโอแบบ VCR video
   ->> MPEG-2 คือ แบบที่มีการบีบอัดไฟล์ที่ได้รับการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้ มีความละเอียดมากขึ้น ภาพที่ออกมามีสัดส่วนที่ใหญ่ขึ้น เท่ากับ 720 x 480 และ 1280 x 720 ที่ 60 เฟรมต่อวินาที โดยคุณภาพเสียงเทียบเท่ากับซีดี ซึ่งมาตรฐานนี้เป็นที่ยอมรับและสามารถเล่นบนหน้าจอโทรทัศน์ในรูปแบบมาตรฐาน NTSC หรือแม้แต่ HDTV ได้   เป็นรูปแบบของวีดีโอในแผ่น DVD ROM โดยสามารถบีบอัดไฟล์วีดีโอความยาว 2 ชั่วโมงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ ในการบันทึกเพียง 2 ถึง 3 กิ๊กกะไบท์เท่านั้น และการอ่านค่ารหัสไฟล์ต้องการเทคโนโลยีที่รองรับการเล่นไฟล์วีดีโอในรูปแบบนี้ด้วย ซึ่งไฟล์ต้องใช้เทคโนโลยีในการเข้ารหัสที่สูงกว่า MPEG-1
   ->> MPEG-4 คือ แบบที่ทันสมัยโดยใช้หลักการบีบอัดในการเข้ารหัสกราฟิกและวีดีโอ ซึ่งได้รับการพัฒนามาจาก MPEG-1 และ MPEG-2 และเทคโนโลยีของ Apple QuickTime โดยไฟล์ที่ได้รับการบีบอัดในรูปแบบ Wavelet based MPEG-4 จะมีขนาดเล็กกว่า JPEG ซึ่งเป็นผลมาจากการลดขนาดช่วงกว้างของแบนด์วิดท์ เพื่อรวมเอาไฟล์วีดีโอกับข้อความกราฟิกเข้าไว้ด้วยกัน นอกจากนี้ยังได้รวมเอาแอนิเมชัน 2D และ 3D ไว้ด้วย
MPEG Layer3 คือ การบีบอัดข้อมูลดิจิตอลที่ประสิทธิภาพมาก โดยที่การบีบอัดข้อมูลดิจิตอลที่ระดับความถี่ 44.1 Khz สามารถบีบอัดข้อมูลเสียงให้มีขนาดเล็กลงกว่าข้อมูลเสียงต้นแบบมากถึง 12 เท่า โดยที่ไม่มีการสูญเสียคุณภาพของเสียง
MOV คือ ไฟล์ที่บริษัทแอปเปิลพัฒนาเป็นกรรมสิทธิ์ของวีดีโอมาตรฐานการเข้ารหัสข้อมูลและคุณสมบัติการบีบอัด
ภาพยนตร์ดิจิตอลและวิดีโอคลิป ไฟล์สามารถดูได้ด้วยเครื่องเล่นวิดีโอดิจิตอลที่ออกแบบมาสำหรับเครื่อง Mac หรือใช้โปรแกรม QuickTime Player และโปรแกรม VLC Media Player เพื่อแสดงไฟล์ MOV ในทั้งสองระบบคือ Mac และ Windows หรือใช้โปรแกรม Windows Media Player ในระบบปฏิบัติการ Windows

------------------------------------------------------------------------------------------

การปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (User Interactive ) คือ การที่มัลติมีเดียมีสิ่งที่ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับสิ่งที่นำเสนอได้เช่น ปุ่มกดปุ่มเพื่อเล่น หรือการกดปุ่มเพื่อหยุด รูปภาพที่อยู่ในภายในฉากแต่ละฉาก ไอคอนที่อยู่ภายในเป็นต้น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

ระบบมัลติมีเดีย

ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ในเชิงมัลติมีเดียประกอบด้วย หน่วยข้อมูลนำเข้า หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผลข้อมูล หน่วยจัดเก็บข้อมูล

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

หน่วยนำเข้าข้อมูล คือ หน่วยที่ทำหน้าที่นำข้อมูลทางด้านมัลติมีเดียเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เช่น กล่องดิจิตอล เครื่องแสกนรูปภาพ ไมโครโฟน  กล่องวีดีโอ และสมาร์ทโฟน เป็นต้น เพื่อนำเอาภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งเสียงเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยข้อมูลที่นำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นข้อมูลแบบ ดิจิตอล เท่านั้นถ้าข้อมูลเป็นแบบอนาลอก ข้อมูลนั้นจะต้องทำการแปลงเป็นข้อมูลในแบบดิจิตอลก่อน

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

หน่วยประมวลผล คือ หน่วยที่ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลนำเข้าเพื่อจัดการข้อมูลให้มีความพร้อมที่จะโต้ตอบกับผู้ใช้ในแต่กลุ่มให้มีความเหมาะสม เช่น หน่วยประมวลผลกลางที่มีประสิทธิภาพสูงเพื่อใช้ในการประมวลผลเชิงมัลติมีเดียโดยเฉพาะ การประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์จะใช้โปรแกรมเฉพาะทางเพื่อทำการประมวลผลเพื่อให้ได้มัลติมีเดียที่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น โปรแกรม Adobe Premiere และโปรแกรม Flash เป็นต้น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

หน่วยแสดงผลข้อมูล คือ หน่วยที่ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผลให้ผู้ใช้ การแสดงผลทางการเคลื่อนไหวตัวอย่างเช่นจอภาพ เครื่องพิมพ์ เครื่องพล็อตเตอร์  และเครื่องโปรเจคเตอร์ เป็นต้น ส่วนการแสดงผลทางด้านเสียงเช่น ลำโพงเป็นต้น โดยการแสดงผลข้อมูลทางด้านมัลติมีเดียต้องการการ์ดจอที่มีหน่วยความจำสูง เช่น การ์ดจอจีฟอส เป็นต้น ซึ่งเป็นการ์ดจอที่อาจจะซื้อมาภายหลังเป็นแบบการ์ดจอภายนอก

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

หน่วยจัดเก็บข้อมูล คือ หน่วยที่ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลก่อนการประมวลผล ขณะประมวลผล และหลังจากประมวลผล โดยหน่วยที่ทำหน้านี้จัดเก็บข้อมูลในส่วนของมัลติมีเดียจะต้องมีขนาดใหญ่และเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสค์  ซีดี/ดีวีดี แฟลตไดร์ฟ เป็นต้น

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง

มัลติมีเดียประกอบด้วยสื่อพื้นฐานชนิดต่าง ๆ อะไรบ้าง