กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง
+��¹��ͤ�������
+��ҹ��ͤ������

ú�ǹ��� Idea �Ԩ�������ⴴ��

��ҡ�з�Һ Idea �Ԩ�����������������ʹ��� Ẻ��� �������Ƿҧ �ҡ��ҹ����ջ��ʺ��ó� ��Ѻ

Show

�¤س: �JK [ 04 January 2021 11:58:20 ]

  ��ͤ������ 1
�Ԩ������ҹ������ʹ����ѹ��ǹ��� � ������Ф�Ѻ

�����������������Ǵ���� (�ѹ����������֡����͹�繢ͧ������ҹ��)

�������� � ���ç��� Safety Culture (�Ѳ�������ҹ������ʹ���)

- �ǡ�Ԩ��������¡�ҡ��÷���ͧ�ӵ����͡�˹������µ�ҧ � ��

1. ��СǴ�觤Ӣ�ѭ��ҹ������ʹ����Ἱ� / ���� / ����ç�ҹ ���ͤѴ���͡���Ѳ�����ͧ���㹻չ�� �

2. �������Ἱ��ʹ���觷���ͧ��������������������ʹ��� ��������觷���ͧ��������������Ŵ�ѹ����㹡�÷ӧҹ (����͹�дշ��ѧ�����Դ��繢ͧ��ѡ�ҹ�����ǫ��ͤ����Դ�ҡ�����������������ҡ�Ѵ�Թ�ͧ)

3. �觢ѹ�ҡ KPI ʶԵ��غѵ��˵������Ἱ� / ���� �¡�˹�����ʶԵ�����ö֧�ջ���Է���Ҿ ������������ �ҧ��Ũ٧������á��ʹ͹�¨�ҧ���͹��ѵ�� (�ͧ�ҧ����Ҩ���ػ�ó��ͧ�ѹ��ǹ�ؤ�ŷ������ö�ԡ�������繡óվ������ͺ��鹡����ҧ�������˹ѡ�边ѡ�ҹ�ͺ��ҹ���蹡ѹ �� �ԡ�ا��� / ��ǡ��ѡ�ҹ / ������ / ear plug �繵�)

4. �ѹ��. ��Ѵ���͡������ʹ�������դ�������������ö��������Ԩ��������Դ���ʺ��ó� �š����¹����ҡ������ � ��ҧ�������ҡ�����ҡ�ȷ���š � ���� � ���¨ش��С�¤����Դ�� ���������边ѡ�ҹ��� � �� (�Դ��������͡����� ��.��� � �Һ�ҧ / ���.��� � �Һ�ҧ �ѹ�������ê����͹������ � ���� ���Ф���� � ���������һ��ʺ��ó�)

�͡�͹��Ѻ Covid �кҴ˹ѡ��������èз���¹��Թ�˹���
�ͤ��йӨҡ����ջ��ʺ��ó���������Ф�Ѻ

�¤س: Ljungbass [ 06 January 2021 00:30:59 ]

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

  ��ͤ������ 2
����¤Դ����ҨѴ�� ���աԨ���� ��

1) KK Mapping ���⨷��Ӷ�����ͺ���� 3 �Թҷյ�͢�� �繤Ӷ����Ǵ��Ǩ�ͺ����Ѻ���֧�ѹ���� ��ФӶ����Ǵ�Ѵ�ĵԡ�������§ �ҡ��鹹�仾�͵ŧ㹡�ҿ 4 ᡹ ���ͻ����Թ��ѡ�ҹ

2) �Ԩ���� Safety buddy ��餹���ӧҹ�����ѹ�Ѻ���ѹ�ӡԨ����������ʹ���㹡�÷ӧҹ��Ш��ѹ�����ѹ ��Ф�µѡ��͹���ͪ��¡ѹ�����ͧ������ʹ��� ���Ѻ�ҧ������Ͷ١���ɴ��¡ѹ

3) �Ԩ���� Safety coaching ����� buddy ����繡�������� ��������˹�ҧҹ�պ��ҷ�ʴ����м���㹡�áӡѺ������Ҫԡ��������ҧ����秼�ҹ��õ�Ǩ�Դ����ҡ���������дѺ�٧�繻�Ш�

�¤س: ��. 168 [ 02 March 2021 10:50:27 ]

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

         เสริมองค์กรให้ก้าวไกลด้านความปลอดภัยในการทำงาน  ผ่าน 4 ขั้น พีระมิดส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน ด้วยการเติมเต็มความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ (เติมเต็มคุณค่าจากภายใน เริ่มต้นความปลอดภัยจากตัวเราเอง)

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

           จากแผนภาพข้างต้น  เมื่อองค์กรมีความชัดเจนในเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตที่ดีในแบบที่ต้องการให้เกิดขึ้นแล้ว ก็จะทราบถึงภารกิจที่ต้องทำ สามารถเลือกกลยุทธ์/วิธีการที่ใช้สำหรับทำให้ถึงผลลัพธ์ที่ต้องการได้ นอกจากนี้ การดำเนินการที่จะตามมาจะมีความชัดเจนเป็นรูปธรรมในรูปแบบของกิจกรรม,โครงการต่างๆ ที่ต้องดำเนินการด้วยความต่อเนื่อง  เพื่อให้มีผลที่เกิดขึ้นทำให้ทุกคนในองค์กรมีสุขภาพ ความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตที่ดี  โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้

  พีระมิดขั้นที่ 1  

ค้นหาความต้องการและค้นพบคุณค่าในตนเอง

         สร้างแรงจูงใจโดยการให้ทุกคนเห็นคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในการช่วยกันทำให้เกิดความปลอดภัย (มีจิตสำนึกและทัศนคติที่ถูกต้องเพื่อการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี)  สำรวจปัญหาและความต้องการเพื่อดำเนินกิจกรรมด้านความปลอดภัยฯ อย่างมีทิศทาง มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน มีขั้นตอนการดำเนินการที่เป็นรูปธรรมสามารถนำไปปฏิบัติได้และมีรูปแบบแผนกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

องค์กรต้องเริ่มต้นจากการเข้าใจความต้องการพื้นฐานเพื่อตอบโจทย์ความต้องการพื้นฐานเหล่านั้น ดังนี้

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

       เมื่อองค์กรเข้าใจถึงความต้องการพื้นฐาน สิ่งที่องค์กรต้องดำเนินการต่อ คือ ทำให้พนักงานทุกคนในองค์กรได้รับปัจจัยที่เอื้อต่อความต้องการในชีวิตอย่างเหมาะสม (เงิน,เวลาและการพัฒนาตนเอง) เพื่อเป็นฐานส่งต่อให้พนักงานได้แสดงศักภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ผ่านการทำงานในองค์กรจนเกิดความรักและการเห็นคุณค่าในตนเอง และเกิดความตระหนักในการดูแลตนเองให้มีความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี ดังนั้น องค์กรจึงต้องเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ที่ตอบโจทย์ความต้องการพื้นฐานเพื่อรองรับการเข้ามาทำงานของบุคลากรและพนักงานในการเข้ามาเป็นกำลังในการขับเคลื่อนองค์กรต่อไป

         สำหรับในส่วนของพนักงานแต่ละคน ต้องมีเวลาให้กับตนเองเพื่อจะได้ตรวจสอบความต้องการ ตรวจสอบเป้าหมายในชีวิตของตน ซึ่งเบื้องต้นทุกคนสามารถถามคำถามที่ทรงพลังกับตนเองได้ ดังนี้

1 . ตัวเราอยู่จุดไหน  ถามคำถามที่ดีให้กับตนเอง 

  • เรามีดีอะไร (ความสามารถ,ทักษะ,พรสวรรค์,ประสบการณ์)
  • เราเคยทำอะไรสำเร็จมาแล้วบ้างและแต่ละสิ่งที่ทำสำเร็จ สำเร็จได้อย่างไร

2.  ตัวเราจะเป็นอย่างไร ถามคำถามเพื่ออนาคตของตนเอง

  • เราอยากเห็นอะไร (เกี่ยวกับตัวเรา,องค์กร,ชุมชน)
  • เรามีปัจจัยอะไรส่งเสริมบ้าง (งานที่ทำ,สังคมเราที่อยู่,สิ่อต่างๆที่เราเลือกเสพ)

          เมื่อแต่ละคนเข้าใจตนเองอย่างชัดเจนและเลือกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรที่สามารถสนับสนุนให้แต่ละบุคคลได้แสดงศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที่ (คนเหมาะสมกับองค์กรโดยมีเป้าหมายและทิศทางของการใช้ชีวิตที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและวัฒนธรรมขององค์กร) และสามารถต้องสนองต่อความต้องการพื้นฐานให้กับพนักงานในองค์กรได้ ก็จะทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างกันและนำไปสู่เรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตที่ดี

  พีระมิดขั้นที่ 2  

สร้างปัจจัยพื้นฐานที่เหมาะสม เพื่อตอบโจทย์เป้าหมายองค์กร

       เป้าหมายขององค์กร คือ การมีผลกำไรสูงสุด แต่ก็ไม่ลืมที่จะให้ความสำคัญกับบุคลากรที่เป็นกลไกในการช่วยสร้างผลกำไร เพราะฉะนั้น องค์กรต้องมีกลไกที่เป็นระบบในการตอบสนองความต้องการของบุคลากรในองค์กร เช่น  มีสวัสดิการที่ดี, มีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี, มีความปลอดภัยในการทำงาน สถิติอุบัติเหตุในองค์กรเป็นศูนย์ รวมถึงมีการสร้างขวัญกำลังใจให้กับพนักงานได้อย่างเหมาะสม เป็นต้น

       เมื่อองค์กรมีการวางแผนและบริหารจัดการในส่วนของปัจจัยพื้นฐานแล้ว สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญซึ่งขาดไม่ได้ คือ เรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ชัดเจน (กำหนดโครงสร้าง,บทบาทหน้าที่,ขั้นตอน,วิธีการทำงาน,กำหนดผู้รับผิดชอบแบ่งเป็นระดับขั้น,มาตรฐานของระบบไม่ต่ำกว่าข้อปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด) มีความร่วมมือจากพนักงานทุกคนในองค์กร ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นฐานสำคัญที่จะนำไปสู่ภาพเป้าหมายเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตที่ดีในแบบที่องค์กรต้องการ เมื่อพนักงานเกิดความสุขกาย สุขใจ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่ภายใต้การทำงานที่ปลอดภัยก็จะเป็นการสร้างผลกำไรที่คุ้มค่าคืนกลับสู่องค์กร

  • สำรวจ ตรวจวัด วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยง ชี้บ่งอันตราย และควบคุมความเสี่ยง
  • มีมาตรการป้องกันที่เหมาะสม
  • เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และสถานที่ทำงานมีความปลอดภัยและไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของพนักงาน
  • พนักงานมีทักษะความรู้ ความชำนาญเหมาะสมกับงานที่ได้รับมอบหมาย
  • มีการรวมกลุ่มของผู้ที่นำตนเองที่มีความปลอดภัยในการทำงานเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในรูปแบบเครือข่ายขยายไปทุกๆส่วนงานภายในองค์กร

  พีระมิดขั้นที่ 3  

ลงทุนในระดับบุคคลเพื่อพัฒนาคนในการร่วมพัฒนาองค์กรในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน

     

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง
    ผู้บริหารสูงสุดขององค์กรเป็นผู้นำต้นแบบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน  ลงทุนด้านการพัฒนาคนและพัฒนาองค์กรผ่านระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่เหมาะสมกับองค์กร โดยมีระบบการจัดการที่ไม่ต่ำกว่าที่มาตรฐานกฎหมายกำหนด

      องค์กรต้องทำการส่งเสริมให้ทุกคนในองค์กรมีคุณสมบัติเฉพาะบุคคลที่ดีและมีเป้าหมายที่เหมาะสมในการมีส่วนร่วมพัฒนาองค์กรในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ดังตาราง  โดยสร้างความสัมพันธ์ทั้ง 3 ส่วน  (องค์กร,หัวหน้าและบุคคล) เพื่อนำไปสู่ภาพเป้าหมายเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตที่ดีในแบบที่องค์กรต้องการ

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

พิชิตเป้าหมาย (ทุกคนในองค์กรมีสุขภาพ ความปลอดภัย คุณภาพชีวิตที่ดี)

               เมื่อองค์กรสร้างฐานพีระมิดตั้งแต่ขั้นที่ 1-3 ได้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว สิ่งที่ต้องดำเนินการในช่วงท้าย คือ การสร้างร่วมมือจากทุกคนเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการดำเนินการเพื่อให้ภาพเป้าหมายเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตที่ดีในแบบที่องค์กรต้องการเป็นจริงและยั่งยืน  ด้วยการทำวงจร 4D วงจรแห่งการร่วมคิดและทำ (Devid Cooperider,1985)

  • D1 : Discovery

    (ร่วมค้นพบสิ่งดีแล้วชื่นชม) : เน้นการสร้างคน ผ่านการสร้าง Hero ต้นแบบในองค์กร (ผู้นำและฝ่ายบริหารเป็นต้นแบบด้สนความปลอดภัยฯ) สร้างภาพการจดจำที่ดีด้านความปลอดภัยในการทำงานเพื่อเป็นภาพกระจกเงาให้สมองของกันและกันให้กับทุกคนในองค์กร มีการชื่นชมสิ่งดีและร่วมกันสอดส่องดูแลสิ่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไข
  • D2 : Dream

    (ร่วมสร้างฝัน สร้างเป้าหมาย) : บุคลากรและองค์กรมีการสร้างเป้าหมายร่วมกัน ในการพัฒนาคนและองค์กรเพื่อให้เติบโต ก้าวหน้าในเรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณชีวิตที่ดีในตามแบบที่องค์กรกำหนดไว้
  • D3 : Design

    (ร่วมออกแบบการทำงานที่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมเชิงบวก) : สร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ทุกคนในองค์กรกล้าแสดงความคิดเห็นและให้ทุกคนได้แสดงศักยภาพของตนเอง ทุกคนในองค์กรรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง สามารถปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ, สร้างผลงานที่ดีมีคุณภาพ, ส่วมใส่ PPEเพื่อแสดงออกถึงความห่วงใย ใส่ใจตนเองและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดยเคารพพื้นที่ส่วนรวม, ใช้อุปกรณ์ส่วนรวมอย่างระมัดระวัง และช่วยสอดส่องดูแลความเสี่ยงต่างๆ เช่น พื้นที่, สภาพแวดล้อม, อุปกรณ์ เครื่องมือ, เครื่องใช้, ลักษณะการทำงาน เป็นต้น ทั้งในพื้นที่ปฏิบัติงานของตนเองและภายในส่วนต่างๆ ขององค์กร
  • D4 : Destiny

    (ร่วมสร้างสรรค์สิ่งดีเพื่อสังคม) : ทุกคนร่วมทำสิ่งต่างๆ เพื่อนำไปสู่เรื่องสุขภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตที่ดีในแบบที่องค์กรต้องการ พร้อมทั้งยังสามารถสื่อสารความห่วงใยในเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีไปยังคนอื่นๆ (ครอบครัว,ชุมชน) รอบตัวได้ ผ่านการกระทำที่เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความปลอดภัยในการทำงานและความปลอดภัยในกิจกรรมต่างๆ ของการใช้ชีวิต

“องค์กรไม่มีชีวิตแต่ขับเคลื่อนด้วยชีวิตของทุกคนในองค์กร อยากให้องค์กรมีความยั่งยืน ต้องใส่ใจทุกจุดเล็กๆ ในใจของทุกคน เมื่อแต่ละคนเติมเต็มคุณค่าจากภายใน ก็จะเป็นผู้เริ่มเรื่องความความปลอดภัยได้ด้วยตัวเอง”

ผู้เขียน

คุณสุชาดา อวยจินดา (โค้ชออนซ์)

ความปลอดภัยในการทํางาน มีอะไรบ้าง

การปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับในสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล PPE ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ติดตั้งการ์ดเครื่องจักร สวมใส่เครื่องแต่งกาย และแบบฟอร์มที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ไม่ใส่เครื่องประดับ หรือ ปล่อยผมยาวขณะทำงานกับเครื่องจักร

ข้อใดคือการส่งเสริมความปลอดภัย (4a)

การเริ่มต้นการส่งเสริมความปลอดภัยนั้น ผู้นำควรจะ ชี้บ่งพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ ซึ่งปรากฏอยู่อย่างเด่นชัด.
ความตระหนัก (Awareness) ... .
การยอมรับ (Acceptance) ... .
การปฏิบัติ (Application) ... .
การรับไว้สำหรับนิสัยใหม่ (Assimilation of New habit).

การเสริมสร้างความปลอดภัยคืออะไร

การส่งเสริมความปลอดภัย เป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากถึงแม้ว่าองค์กรนั้นจะมีการออกแบบ ด้านความปลอดภัยเป็นอย่างดี หรือผู้ปฏิบัติงานได้รับการฝึกอบรมอย่างทั่วถึง หรือขั้นตอนปฏิบัติงาน (Task Procedure) จะ ปลอดภัยและได้บังคับใช้อย่างต่อเนื่องก็ตาม การส่งเสริมที่มีประสิทธิภาพมีความสำคัญยิ่ง เพราะการป้องกันอุบัติเหตุ ...

การส่งเสริมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอาชีพ โดยยึดหลัก 4a มีอะไรบ้าง

ดังนั้น การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยเป็นเรื่องที่สำคัญจำเป็นต้องเน้นทุกพฤติกรรมของคนและที่สำคัญต้องไม่มีการประนอมหรือยอมความใดๆทั้งสิ้น.
Awareness. ... .
Attention. ... .
Action. ... .
Attitude..