เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

ไมโครมิเตอร์เป็นเครื่องมือที่จะหนีบชิ้นงานไว้เพื่อวัดขนาด ซึ่งบางรุ่นจะสามารถวัดได้ละเอียดถึงหน่วย 1 μm ไมโครมิเตอร์จะเป็นไปตามหลักการของ Abbe ซึ่งแตกต่างจากคาลิปเปอร์ ซึ่งทำให้สามารถวัดได้แม่นยำยิ่งกว่า
โดยทั่วไปแล้ว คำว่า “ไมโครมิเตอร์” จะหมายถึงไมโครมิเตอร์ภายนอก ไมโครมิเตอร์ยังมีอยู่อีกหลายชนิดโดยแบ่งตามการประยุกต์ใช้งานในการวัดที่แตกต่างกัน อันได้แก่ ไมโครมิเตอร์ภายใน ไมโครมิเตอร์วัดรู ไมโครมิเตอร์วัดท่อ และไมโครมิเตอร์วัดความลึก ช่วงที่วัดได้จะแตกต่างกันทุกๆ 25 มม. เช่น 0 ถึง 25 มม. และ 25 ถึง 50 มม.โดยขึ้นอยู่กับขนาดของกรอบ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องใช้ไมโครมิเตอร์ที่เข้ากับชิ้นงาน ในปัจจุบัน ไมโครมิเตอร์แบบดิจิตอลได้กลายเป็นที่นิยมอย่างไม่น่าเชื่อ

หลักการของ Abbe ระบุว่า “ชิ้นงานที่จะวัดและสเกลของเครื่องมือวัดจะต้องอยู่ในเส้นตรงเดียวกันของทิศทางการวัดเพื่อให้มีความแม่นยำในการวัดมากขึ้น” ซึ่งเมื่อใช้ไมโครมิเตอร์ สเกลและตำแหน่งการวัดจะเป็นเส้นตรงเดียวกัน ดังนั้นเครื่องมือเหล่านี้จึงเป็นไปตามหลักการของ Abbe จึงกล่าวได้ว่าไมโครมิเตอร์มีความแม่นยำในการวัดสูง

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

A

แกนรับ

B

แกนวัด

C

ตัวล็อค

D

แขนวัด

E

เฟรม

F

ฝาป้องกันอุณหภูมิ

G

สเกล

H

ปลอกหมุน

I

ตัวหยุดแกนหมุน

  • วางชิ้นงานระหว่างแกนรับและแกนวัด จากนั้นหมุนปลอกหมุนเพื่อให้พื้นผิวทั้งสองหนีบชิ้นงานไว้
  1. ก่อนการวัด ให้เช็ดพื้นผิวของแกนรับและแกนวัดด้วยผ้าสะอาด ซึ่งจะช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นบนพื้นผิวออกไป ทำให้วัดได้อย่างแม่นยำ
  2. ในการถือไมโครมิเตอร์นั้น ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายจับฝาป้องกันอุณหภูมิบนเฟรมไว้ แล้วใช้นิ้วแม่มือและนิ้วชี้ที่มือขวาหมุนปลอกหมุน
  3. ยึดชิ้นงานไว้ด้วยแกนรับและแกนวัด แล้วหมุนตัวหยุดแกนหมุนไปจนสุด แล้วจึงอ่านค่า
  4. อ่านค่าจากสเกลหลักบนแขนวัดและสเกลบนปลอกหมุน ใช้เส้นบนขอบด้านขวาของแขนวัดเพื่ออ่านค่าในหน่วย 0.5 มม. จากนั้นจะสามารถใช้สเกลต่างๆ ที่อยู่ตรงเส้นกลางของปลอกหมุน (สเกล) เพื่ออ่านค่าในหน่วย 0.01 มม.

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

A

สเกลของปลอกหมุนแสดงค่า “0.15”

B

สเกลของปลอกหมุนไปถึงค่า “12.0 มม.”

12.0 + 0.15 = 12.15 มม.

  • ใช้เกจบล็อคหรือเกจเฉพาะในการปรับเทียบไมโครมิเตอร์ พื้นผิวของแกนรับจะต้องเรียบอยู่เสมอเพื่อให้การวัดมีความแม่นยำ หลังจากการวัดหลายครั้ง พื้นผิวอาจจะไม่เรียบแบนเนื่องจากการสึกหรอและการสะสมของสิ่งสกปรก ด้วยเหตุนี้ จึงต้องใช้เครื่องมือที่เรียกว่าออปติคอลแฟลตในการตรวจสอบพื้นผิวเป็นระยะๆ ว่ามีความเรียบแบนตามวงแหวนของนิวตันที่แสดงไว้หรือไม่
  • เมื่อวัดชิ้นงานโลหะและปรับเทียบด้วยเกจบล็อค จะต้องใช้ความระมัดระวังเกี่ยวกับการขยายตัวจากความร้อน หากเป็นไปได้ ให้หลีกเลี่ยงการถือโลหะด้วยมือเปล่า มิฉะนั้นก็จะต้องสวมถุงมือกันความร้อนและออกแบบมาสำหรับการทำงานที่ต้องการความแม่นยำ
  • ช่วงการปรับเทียบสำหรับไมโครมิเตอร์คือ 3 เดือน ถึง 1 ปี

ดัชนี

การวัดขนาดจะมีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ การวัดโดยตรงและการวัดโดยอ้อม การวัดโดยตรงจะใช้เครื่องมือวัด เช่น เวอร์เนียคาลิปเปอร์ ไมโครมิเตอร์ และเครื่องวัดพิกัด ในการวัดขนาดของชิ้นงานโดยตรง การวัดเหล่านี้เรียกอีกอย่างว่าการวัดแบบสัมบูรณ์ ซึ่งสามารถทำการวัดได้อย่างหลากหลายโดยใช้สเกลของเครื่องมือวัด แต่ก็มีโอกาสที่การวัดจะผิดพลาดจากการอ่านค่าสเกลผิดได้เช่นกัน
การวัดโดยอ้อมจะวัดขนาดด้วยเครื่องมือวัด เช่น ไดอัลเกจ โดยดูจากความแตกต่างระหว่างชิ้นงานและอุปกรณ์อ้างอิง เช่น เกจบล็อคและเกจวงแหวน ซึ่งเรียกอีกอย่างว่าการวัดเปรียบเทียบ โดยอาศัยหลักการที่ต้องเปรียบเทียบวัตถุกับขนาดมาตรฐาน ยิ่งได้กำหนดรูปร่างและขนาดของอุปกรณ์อ้างอิงไว้มากเท่าไร การวัดก็จะยิ่งทำได้ง่ายขึ้นเท่านั้น อย่างไรก็ตาม วิธีนี้ก็ยังมีข้อเสียอยู่ เนื่องจากขอบเขตของการวัดมีจำกัด

การวัดโดยตรงวัดโดยใช้สเกลของเครื่องมือวัด

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

การวัดโดยอ้อมการเปรียบเทียบกับอุปกรณ์อ้างอิง

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

A

ชิ้นงาน

B

เกจบล็อค

ดัชนี

วงเวียน

วงเวียนที่มีปลายขางอเข้าหรืองอออก เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของชิ้นได้ค่าคร่าวๆ โดยปลายของวงเวียนถ่ายขนาดจะถูกปรับให้สนิทพอดี แล้วจึงนำไปถ่ายลงบนบรรทัดเหล็กอีกครั้งหนึ่ง

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

ลักษณะวงเวียน ชั้นโลหะบางๆ 2 ชิ้นที่ต่อกันด้วยจุดหมุน ทําให้เกิดเป็น รูปตัว V ปลายขาข้างหนึ่งเป็นปลายแหลม อีกขาหนึ่งจะใส่ดินสอไว้ จะมีก้านที่มี เกลียวซึ่งมีนอตขนาดเหรียญเล็กๆ ติดอยู่ จะเชื่อมขาทั้งสองข้างเข้าด้วยกันตรงใกล้ๆ จุดหมุน เมื่อหมุนนอตจะเป็นการปรับความกว้างของขา วงเวียนมีขนาดความยาว น้อยกว่าความยาวของมือผู้ใหญ่ 

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

วงเวียน ถ่ายชนิดวัดนอก

หรือเรียกว่าเขาควาย เป็นเครื่องมือวัดขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกของวัตถุทรงกระบอกกลม โดยที่ปลายขาของวงเวียนจะงอเข้า มีลักษณะเป็นสปริง

วิธีการตรวจวงเวียนวัดนอก

  1. นำวงเวียนถ่ายขนาดชนิดวัดนอกไปคร่อมตรงกึ่งกลางของวัตถุทรงกลมหรือกระบอกกลมที่จะตรวจวัด และทำการปรับสกรูเพื่อให้ขาของวงเวียนถ่ายขนาดให้แนบสนิทชิดพอดี
  2. นำวงเวียนถ่ายขนากชนิดวัดนอกไปอ่านค่าที่ตรวจได้บนบรรทัดเหล็ก
เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

วงเวียน ถ่ายขนาดชนิดวัดใน

หรือเรียกว่าตีนผี เป็นเครื่องมือวัดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของวัสดุทรงกลม ที่มีลักษณะเหมือนกับวงเวียนถ่ายขนาดชนิดวัดนอกแต่ที่ปลายขาของวงเวียนจะงอออก วิธีการใช้งานจะเหมือนกับวงเวียนถ่ายชนิดวัดนอก

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

วิธีการตรวจวัดวงเวียนใน

  1. ให้กดขาทั้งสองของวงเวียนถ่ายชนิดวัดในเข้าหากัน และสอดปลายขาเข้าไปในรูที่จะทำการตรวจวัดแล้วปล่อย และค่อยๆ ตึงวงเวียนถ่ายขนาดให้ปลายขาอยู่ในตำแหน่งขนานกับขอบรู แล้วหมุนเกลียวล็อคให้อยู่ในตำแหน่งนี้
  2. ดึงวงเวียนถ่ายขนาดออกมา แล้วถ่ายขนาดที่ตรวจวัดได้บนบรรทัดเหล็ก

บรรทัดวัดมุม

เครื่องมือวัดมุมง่ายๆ แบบเหลี่ยมและครึ่งวงกลมมีข้อจำกัด คือ มัน สามารถวัดมุมได้แค่ 180 องศา ซึ่งบรรทัดวัดมุม จะแก้ปัญหานี้ได้ โดยติดตั้งใบวัดมุมแบบครึ่งวงกลมเข้าที่ปลายไม้บรรทัดเหล็ก จะมีจุดตรงกลางนั้น 1 จุดใช้วัดมุมได้ตั้งแต่ 0- 360 องศา เมื่อขอบของบรรทัดเหล็กและใบวัดมุม ขนานกัน เครื่องหมายเล็กๆที่ปลายของบรรทัดเหล็กจะชี้ตรงเลข 0 บนใบวัดมุม

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

วิธีการตรวจ บรรทัดวัดมุม

  1. คลายสกรูที่ยึดใบวัดมุมกับบรรทัดเหล็กจนใบวัดมุมสามารถหมุนได้
  2. วางขอบของบรรทัดเหล็กชิดด้านใดด้านหนึ่งของวัตถุที่จะทำการวัดมุม และหมุนใบวัดมุมไปชิดกับอีกด้านหนึ่งของมุม
  3. อ่านค่าองศาบนสเกลหลัก โดยมองตั้งฉากกับสเกลหลักเพื่อความถูกต้อง

เช็คราคา เครื่องมือวัด ทั้งหมด


ไมโครมิเตอร์

เป็นเครื่องมือวัดละเอียดอีกชนิดหนึ่งที่สามารถวัดได้ละเอียดถึง 1/1000 ของนิ้ว (0.001นิ้ว) หรือ 0.01 มิลลิเมตร จะต้องเก็บรักษาให้สะอาด ปราศจากสารใดๆ ไมโครมิเตอร์มีหลายชนิด คือ ไมโครมิเตอร์วัดนอก ไมโครมิเตอร์วัดใน ไมโครมิเตอร์วัดลึก และไมโครมิเตอร์วัดรู เป็นต้น

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

การแบ่งสเกลของ ไมโครมิเตอร์ หน่วยอังกฤษ (นิ้ว)

แกนวัดของไมโครมิเตอร์หน่วยอังกฤษจะเคลื่อนที่แบบสกรูเกลียว มีขนาด 40 เกลียวต่อนิ้ว ดังนั้น 1 รอบการหมุนของแกนวัดจะเคลื่อนที่ตามความยาวเท่ากับ 1/40 เกลียวหรือ 0.025 นิ้ว และที่สเกลเครื่องหลักจะมีเครื่องหมายแนวดิ่ง 40 เส้นต่อ 1นิ้ว ที่สอดคล้องกับจำนวนของเกลียวบนแกนวัด เพราะฉะนั้นเครื่องหมายแนวดิ่ง 1 เส้นจะเท่ากับ 0.025นิ้ว 4เส้น เท่ากับ 0.100 นิ้วแต่ละขีดบนปลอกหมุนจะเท่ากับ 0.001 นิ้ว เมื่อปลอกหมุน หมุนครบ 1 รอบจะเท่ากับ 0.025 นิ้วเมื่อปิดไมโครมิเตอร์สนิท เลข 0 บนปลอกหมุนและเส้น 0 บนปลอกหมุนจะตรงกับเส้นในแนวนอน

การแบ่งสเกลของ ไมโครมิเตอร์ หน่วยเมตริก (มิลลิเมตร)

เกลียวแกนวัดของไมโครมิเตอร์หน่วยเมตริดปกติจะมี 2 เกลียวต่อมิลลิเมตร ดังนั้นแกนวัดหมุนไป 1 รอบจะเคลื่อนที่ตามความยาวเท่ากับ 0.5 มิลิเมตร และที่สเกลหลักจะมีเครื่องหมายแนวดิ่ง 1 เส้น เท่ากับ 1 มิลลิเมตร แต่ละเส้นแบ่งออกเป็น 0.5 มิลลิเมตรปลอกหมุนจะถูกแบ่งออกเป็น 50 ขีดแต่ละขีดจะเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร 1/100 ของมิลลิเมตร

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

อุปกรณ์จำกัดแรงบิด

การอ่านค่าของไมโครมิเตอร์จะไม่ถูกต้องถ้าปลอกหมุนถูกขันแน่นเกินไป ดังนั้นไมโครมิเตอร์จะติดตั้งอุปกรณ์แรงบิดจำกัดบนปลอกหมุนซึ่งอาจจะเป็นล้อเฟืองจำกัดแรงบิด หากขันแน่นเกินไป ล้อเฟืองจำกัดแรงบิดจะทำให้ปลอกหมุนแน่กับชิ้นงานด้วยแรงบิดที่แน่นอน และไมโครมิเตอร์จะไม่เคลื่อนที่เข้าไปอีกด้วย เป็นผลวัดได้ถูกต้อง เที่ยงตรง และแม่นยำมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคนที่ยังไม่มีทักษะ

วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์

  • เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง
  1. วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอก นำไมโครมิเตอร์สวมเข้ากับงานที่จะวัด ถ้าเป็นวัตถุทรงกระบอกลม จะต้องให้คร่อมตรงกลางของวัตถุทรงกระบอกลม แล้วหมุนปลอกหมุนด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนล้อเฟืองจำกัดแรงบิดที่หมุนได้ทางเดียวช้าๆ จนได้ยินเสียงเเก๊กๆ 2-3 ครั้งจึงหยุด อย่าปรับปลอกหมุนอัดจนแน่น เพราะจะทำให้เสียหายได้ แล้วหมุนน็อตล็อคแกนวัดเพื่อป้องกันแกนวัดเคลื่อน แล้วจึงดึงออกจากชิ้นงานมาทำการอ่านค่าที่วัดได้
  2. วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์วัดในเดียวกันเหมือนกับการวัดนอก โดยนำไมโครมิเตอร์สวมเข้าไปในรูของชิ้นงานที่จะวัดและจะต้องให้ปากวัดอยู่กึ่งกลางของรูและขนานกับรู ของชิ้นงานที่จะวัดแล้วหมุนปลอกหมุนด้วยนิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ปลอกหมุนจะเลื่อนแกนวัดเข้าจนชนกับชิ้นงาน แล้วจึงมาเปลี่ยนหมุนล้อเฟืองจำกัดแรงบิดที่หมุนได้ทางเดียวช้าๆ
  3. วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์วัดลึก ต้องวางบนโต๊ะระดับ จึงจะทำให้วัดค่าได้ถูกต้อง โดยการนำขอบของไมโครมิเตอร์วัดลึกวางลงบนขอบชิ้นงานที่จะวัด และอยู่ตรงกึ่งกลางของรู แล้วหมุนด้วยนิ้วแม่มือและนิ้วชี้ ปลอกหมุนจะเลื่อนแกนวัดเข้าจนชนกับพื้นโต๊ะระดับ แล้วจึงเปลี่ยนมาหมุนล้อเฟืองจำกัดแรงบิดที่หมุนได้ทางเดียวช้าๆจนได้ยินเสียงเเก๊กๆ 2-3 ครั้งจึงหยุด

การดูแลรักษา

  1. เพื่อเป็นการยืดอายุการใช้งานของไมโครมิเตอร์ Micrometer ควรมีการดูแลอย่างเหมาะสม ดังนี้
  2. เช็ดทำความสะอาดด้วยผ้าสะอาดให้ทั่วทุกครั้ง ก่อนเก็บเข้ากล่อง
  3. ไม่ควรหมุนให้หน้าผิวสัมผัสวัดงานทั้งสองด้านเข้ามาชนกันจนแน่น เพราะจะทำให้เกิดการเสียหายจากแรงกดอัดได้ ควรใช้กระดาษน้ำมันคั่นกลางหรือเว้นช่องว่างไว้เล็กน้อยก่อนเก็บเข้ากล่องแทน
  4. ทำความสะอาดปากวัดทั้งสองด้านหลังเลิกใช้งานเป็ประจำ ด้วยการนำกระดาษที่อ่อนนุ่มใส่ระหว่างหน้าผิวสัมผัสวัดงานทั้งสองด้าน ก่อนหมุนแกนวัดทั้งสองด้านชนกระดาษเบาๆ เป็นการทำความสะอาดผิวสัมผัส
  5. หากต้องการหมุนไมโครมิเตอร์อย่างรวดเร็ว ไม่ควรใช้นิ้วมือหมุนรัวๆ เพราะจะทำให้เกิดความเสียหายหรือทำให้สเกลวัดคลาดเคลื่อนได้ ควรใช้ฝ่ามือค่อยๆหมุนเลื่อนแกนวัดแทน
  6. ไม่ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดวัตถุที่มีผิวหน้าหยาบ เพราะจะทำให้ผิวสัมผัสวัดงานเกิดความเสียหาย หรือ เสียสมดุลย์ศูนย์ได้
  7. ไม่ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานที่มีอุณหภูมิสูงมากๆ ไม่ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานที่กำลังเคลื่อนที่อยู่ จะทำให้ไมโครมิเตอร์เสียหายได้
  8. ควรเช็ดทำความสะอาดไมโครมิเตอร์และหล่อลื่นเป็นประจำ
  9. เพื่อรักษาความน่าเชื่อถือของการวัด ควรสอบเทียบความเที่ยงตรงไมโครมิเตอร์ตามตารางการสอบเทียบอย่างสม่ำเสมอ

เช็คราคา ไมโครมิเตอร์


ไดอัลเกจ

ไดอัลเกจใช้ตรวจสอบการจัดตำแหน่งของส่วนประกอบของเครื่องจักร ซึ่งจะมีสองชนิดได้แก่ ชนิดอ่านสมดุลคือ สามารถอ่านค่าบวกไปทางด้านขวามือของเลข 0 และอ่านค่าลบไปทางด้านซ้ายมือของเลข 0 จะประกอบด้วยหน้าปัดแบบนาฬิกาและเข็มชี้ เพื่อแสดงขนาดที่ขึ้นหรือลด หน้าปัดจะมีการแบ่งขีดอย่างละเอียดเพื่อการวัดที่แม่นยำ แกนวัดและหัววัดแบบสปริงจะเลื่อนขึ้นลงจากเสื้อไดอัลเกจ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นขีดๆ ตั้งแต่ 0.01 มิลลิเมตร ถึง 0.001 มิลลิเมตร (0.001นิ้วถึง 0.00005 นิ้ว)

เครื่องมือวัดแบบไม่มีสเกล มีอะไรบ้าง

การประยุกต์ใช้งาน

  1. ใช้ในการตรวจสอบการหนีศูนย์ของเครื่องมือ หรือแกนหมุน หรือเพลา การหนีศูนย์หรือการส่ายของแกนหมุนหรือเพลาที่เกินค่าที่กำหนด จะให้เกิดการเสียหายของเครื่องจักรได้
  2. ใช้ตรวจสอบความถูกต้องแม่นยำ
  3. ใช้ในการปรับระดับพื้นโรงงานหรือการสอบเทียบเครื่องจักรก่อนที่จะผลิต
  4. ใช้ตรวจจับการตั้งศูนย์ของชิ้นงานกลึงในหัวจับแบบ 4หัว
  5. ใช้ตรวจจับการหนีศูนย์ระหว่างเพลาขับและตาม

เช็คราคา ไดอัลเกจ

เครื่องมือวัดข้อใดไม่มีขีดสเกล

เครื่องมือวัดละเอียดแบบไม่มีขีดมาตรา เช่น คาลิปเปอร์วัดนอก, คาลิปเปอร์วัดในวงเวียน, เกจวัดรัศมี, เกจวัดเกลียว, เกจก้ามปู ฯลฯ

เครื่องมือการวัดขนาดมีอะไรบ้าง

แนะนำ 10 เครื่องมือวัด ที่จำเป็นในโรงงาน มีอะไรบ้าง ?.
1. เวอร์เนีย คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper) ... .
2. ไมโครมิเตอร์ (Micrometer) ... .
3. ไฮเกจ (Height Gage) ... .
4. ไดอัลเกจ (Dial Indicator) ... .
5. ไดอัลเทสอินดิเคเตอร์ (Dial Test Indicator) ... .
6. บอร์เกจ (Bore Gage) ... .
7. เกจวัดความลึก (Depth Gage) ... .
8. เครื่องวัดความแข็ง (Hardness Tester).

เครื่องมือตรวจสอบระดับมีอะไรบ้าง

ตัวอย่างเครื่องมือวัดระดับแบบจุด ได้แก่ ลูกลอย (float) เซนเซอร์วัดระดับชนิดวัดความนำไฟฟ้า (conductive level sensor) สวิตช์วัดระดับชนิด vibration (vibration level switch) และเซนเซอร์วัดระดับชนิดอัลตราโซนิก (ultrasonic level sensor) เป็นต้น

เครื่องมือวัดแบบมีขีดมาตรามีอะไรบ้าง

1. เครื่องมือวัดที่มีขีดมาตรา เช่น บรรทัดเหล็ก บรรทัดพับ สายวัด และสายวัดม้วน 2. เครื่องมือวัดแบบเลื่อนได้ที่มีขีดมาตรา เช่น เวอร์เนียร์คาลิเปอร์ (Vernier Caliper), ไมโครมิเตอร์ (Micrometer) และนาฬิกาวัด (Dial Indicator)