ป. ว ช ของ รัฐบาล ในกรุงเทพ

สมรรถนะทั้ง 4 สมรรถนะนี้นำไปพัฒนาระบบการเรียนการสอนของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) ในปัจจุบันนับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนประวัติศาสตร์เมื่อสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยได้รับ พระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติการศึกษาโรงเรียนเอกชน2554 (ฉบับแก้ไข) และประกาศพระราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2554 กำหนดให้โรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนใช้คำนำหน้าว่า “วิทยาลัยอาชีวศึกษา” และ “วิทยาลัยเทคโนโลยี” ได้โรงเรียนเทคโนโลยีสยามจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยเทคลยีสยาม (สยามเทค) ตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนจวบจนปัจจุบัน

วิทยาลัยอาชีวะศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์

วิทยาลัยอาชีวะศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ก่อตั้งขึ้นโดยครู เพทาย อมาตยกุล เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เดิมชื่อโรงเรียนพณิชยการสันติราษฎร์ อักษรย่อ พ.ส.ต. สถานที่ของโรงเรียนสันติราษฎร์ ถนนศรีอยุธยา กรุงเทพฯ

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เปิดการเรียนการสอน 3 ประเภท 7 สาขาวิชา

 

  1. พาณิชยกรรม
  • สาขาการบัญชี
  • สาขาการตลาด
  • สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • สาขาภาษาต่างประเทศ
  1. ประเภทอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
  • สาขาการโรงแรม
  • สาขาการท่องเที่ยว
  1. ประเภทวิชาศิลปกรรม
  • สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

  1. ประเภทบริหารธุรกิจ
  • สาขาการบัญชี
  • สาขาการตลาด
  • สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิตอล
  • สาขาต่างประเทศธุรกิจ
  1. ประเภทอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
  • สาขาการโรงแรม
  • สาขาการท่องเที่ยว
  1. ประเภทศิลปกรรม
  • สาขาดิจิทัล กราฟิก

ป. ว ช ของ รัฐบาล ในกรุงเทพ

  1. วิทยาลัยอาชีวะศึกษาเทคนิคบริหารธุรกิจกรุงเทพ

เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2522 ณ อาคารเลขที่ 88 สุขุมวิท 73 ได้กำเนิดสถาบันอาชีวะ ชื่อว่า กรุงเทพธุรกิจพณิชยการ โดยท่านอาจารย์ อุดม แสงหิรัญ และ ท่านอาจารย์ พิสมัย แสงหิรัญ มีความมุ่งมั่นที่จะให้การศึกษาและฝึกอบรมเยาวชนของชาติ ให้มีความรู้ และความสามารถ ในแขนงอาชีวะศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการนำไปประกอบอาชีพ เป็นบุคคลที่อยู่ในสังคมได้ดี มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ เปิดการเรียนการสอนประเภทวิชาพาณิชยกรรมระดับ ปวช. และปวส.

หลักสูตรการเรียนการสอน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

  • การบัญชี
  • การตลาด
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • การโรงแรม
  • การท่องเที่ยว
  • โลจิสติกส์

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

  • การบัญชี
  • การตลาด
  • คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • การจัดการทั่วไป
  • การจัดการโลจิสติกส์
  • การโรงแรม
  1. วิทยาลัยเทคโนโลยีทักษิณาบริหารธุรกิจ

ตั้งอยู่ เลขที่ 850 ถนนรามอินทรา กม. 12 แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230 ท่าน ดร.สุข พุคยาภรณ์ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องการศึกษาของเด็กไทยหรืออนาคตของชาติ เสมือนการลงทุนทางการศึกษา ก่อนหน้านี้ท่านได้สร้างมหาวิทยาลัยศรีปทุม อีกด้วย มีการส่งเสริมให้นักเรียน จัดกิจกรรมเสริมทักษะร่วมกับหน่วยงาน และสถาบันที่มีชื่อเสียงของเอกชนและรัฐบาล เสริมศักยภาพการเรียนรู้ให้นักเรียนให้มีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการที่เป็นระบบ ครู – อาจารย์ เป็นผู้มีคุณวุฒิ ให้การดูแล นักเรียนอย่างใกล้ชิด

หลักสูตรการเรียนการสอน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

  • สาขาการบัญชี
  • สาขาการตลาด
  • สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • สาขาการท่องเที่ยว

หลักสูตรการเรียนการสอน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

  • สาขาการบัญชี
  • สาขาการตลาด
  • สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • สาขาการท่องเที่ยว
  • สาขาคอมพิวเตอร์เกมและแอนิเมชั่น
  1. วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี เดิมเป็นแผนกๆ หนึ่ง ที่ทำการเปิดการเรียนการสอนอาชีพช่างไม้ และช่างจักสานให้กับนักเรียนชั้นประถมต้นของโรงเรียน ประชาบาล ต่อมาจนถึงปี พ.ศ. 2543 วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ได้เปิดการเรียนการสอนแบบภาคพาณิชยกรรม ทั้งระดับ ปวช.และปวส. จนถึงปัจจุบัน

หลักสูตรการเรียนการสอน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

  • สาขาการพิมพ์
  • สาขาช่างอิเล็กทรอนิกส์
  • สาขาช่างก่อสร้าง
  • สาขาพาณิชยการ
  • สาขาช่างไฟฟ้า
  • สาขาช่างซ่อมบำรุงในโรงงาน
  • สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • สาขาการบัญชี

ป. ว ช ของ รัฐบาล ในกรุงเทพ

หลักสูตรการเรียนการสอน ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)

  • สาขาการพิมพ์
  • สาขาช่างอิเล็กทรอนิกส์
  • สาขาพาณิชยการ
  • สาขาช่างก่อสร้าง
  • สาขาช่างไฟฟ้า
  • สาขาซ่อมบำรุงในโรงงาน
  • สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  • สาขาการบัญชี

5.วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพฯ

จากการสัมมนาระดับชาติของสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวเอกชน เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2535 ได้ข้อสรุปว่าประเทศไทยยังคงขาดแคลนแรงงานระดับกลางที่มีคุณภาพด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวจำนวนมาก และเพื่อให้กำลังเพื่อที่จะมีกำลังคนเพียงพอต่อการรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จึงขอภาครัฐผลิตแรงงานดังกล่าวป้อนธุรกิจการท่องเที่ยว

ปัจจุบันเปิดสอนในระดับ ปวช.จำนวน 10 สาขาวิชา ระดับ ปวส. จำนวน 9 สาขาวิชา โดยเปิดการสอนทั้งในระบบปกติและระบบทวิภาคี