ใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐขึ้นรถไฟ 2565

          เมื่อซื้อตั๋วเรียบร้อยแล้ว ได้เวลาเดินทาง การรถไฟฯ ก็ยังได้จัดมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 เพื่อสร้างความมั่นใจและปลอดภัยแก่ผู้โดยสาร ไม่ว่าจะเป็นการทำความสะอาดสถานีรถไฟ ขบวนรถ สถานที่จำหน่ายตั๋ว ที่นั่งพัก สถานที่ให้บริการต่าง ๆ รวมถึงมีการตั้งจุดคัดกรองตรวจวัดอุณหภูมิและบริการเจลแอลกอฮอล์ อย่างไรก็ตาม ตัวผู้โดยสารเองก็ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบและสวมหน้ากากอนามัยตลอดการเดินทางด้วยนะคะ ทั้งนี้ สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์บริการลูกค้าสัมพันธ์ โทร. 1690 ตลอด 24 ชั่วโมง หรือคลิก เฟซบุ๊ก ทีมพีอาร์การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้เลย

ทุกวันที่ 1 ของเดือน โอนเงินฯ วงเงินซื้อสินค้า 200/300 บาท ส่วนลดค่าซื้อก๊าซหุงต้ม 100 บาทต่อคนต่อ 3 เดือน (ก.ค.-ก.ย 65) ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ประกอบด้วย ค่าโดยสารรถ บขส. 500 บาทต่อเดือน ค่าโดยสารรถไฟ 500 บาทต่อเดือน ค่าโดยสารรถไฟฟ้า (MRT/BTS/ARL) และ ขสมก. 500 บาทต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่อาศัยอยู่ในเขต กทม. และปริมณฑล) วงเงินดังกล่าว ไม่สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และไม่สะสมในเดือนถัดไป

- ทุกวันที่ 15 ของเดือน โอนเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยที่ได้รับสิทธิในโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ 50/100 บาทต่อเดือน (ผู้สูงอายุที่ได้รับสิทธิตั้งแต่เดือน ต.ค. 64 - ก.ค. 65) จะได้รับการโอนเงินเข้าบัตรฯ ตั้งแต่เดือน เม.ย - ก.ย. 65) ซึ่งสามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้

- ทุกวันที่ 18 ของเดือน โอนเงินคืนค่าไฟฟ้า ไม่เกิน 315 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน เงินคืนค่าน้ำประปา ไม่เกิน 100 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรฯ ที่ใช้น้ำประปาไม่เกิน 315 บาทต่อเดือน จะได้รับเงินคืนค่าน้ำประปาไม่เกิน 100 บาท ส่วนเกินจาก 100 บาท ผู้ถือบัตรฯ เป็นผู้ชำระเอง) ซึ่งสามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้

- ทุกวันที่ 22 ของเดือน โอนเงินเพิ่มเบี้ยความพิการ 200 ต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรฯ ที่มีบัตรประจำตัวคนพิการและได้รับเงินเบี้ยความพิการ) สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้

นางสาววารี แว่นแก้ว รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ในฐานะโฆษกกรมบัญชีกลาง เปิดเผยว่า กรมบัญชีกลางได้เบิกจ่ายและโอนเงินให้แก่หน่วยงานและร้านค้าที่รับชำระค่าสินค้าและบริการผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ประจำเดือนธันวาคม 2565 ดังนี้

ทุกวันที่ 1 ของเดือน (ไม่สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และไม่สะสมในเดือนถัดไป)
- วงเงินซื้อสินค้า 200/300 บาทต่อเดือน
- ส่วนลดค่าซื้อก๊าซหุงต้ม 100 บาทต่อ 3 เดือน (25 ต.ค. – ธ.ค. 65)
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ประกอบด้วย
   * ค่าโดยสารรถ บขส. 500 บาทต่อเดือน
   * ค่าโดยสารรถไฟ 500 บาทต่อเดือน
   * ค่าโดยสารรถ ขสมก./รถไฟฟ้า (MRT/BTS/ARL) 500 บาทต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่อาศัยอยู่ในเขต กทม. และปริมณฑล)

ทุกวันที่ 18 ของเดือน (สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้)
- เงินชดเชยค่าไฟฟ้า ไม่เกิน 315 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่ได้ลงทะเบียนกับ กฟน. กฟภ. และกิจการไฟฟ้าสวัสดิการสัมปทานกองทัพเรือ ที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 315 บาทต่อเดือน)
- เงินชดเชยตามจำนวนเงินที่ชำระค่าน้ำประปา ไม่เกิน 100 บาทต่อครัวเรือนต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ที่ได้ลงทะเบียนกับ กปน. กปภ. ที่ใช้น้ำประปาไม่เกิน 315 บาทต่อเดือน จะได้รับเงินคืนค่าน้ำประปาไม่เกิน 100 บาท (ที่ได้ชำระเงินแล้ว) ส่วนที่เกินจาก 100 บาท ผู้ถือบัตรฯ เป็นผู้ชำระเอง)

ทุกวันที่ 22 ของเดือน (สามารถถอนเป็นเงินสดได้ และสะสมในเดือนถัดไปได้)
- เงินเพิ่มเบี้ยความพิการ 200 บาทต่อเดือน (สำหรับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ที่มีบัตรประจำตัวคนพิการและได้รับเงินเบี้ยความพิการ)

สำหรับเดือนพฤศจิกายน 2565 กรมบัญชีกลางได้เบิกจ่ายเงินให้แก่ร้านค้าที่ผู้มีสิทธินำบัตรสวัสดิการแห่งรัฐไปชำระค่าสินค้าอุปโภคบริโภค ค่าเดินทาง และค่าก๊าซหุงต้ม ดังนี้ (ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 - 30 พฤศจิกายน 2565)

ลำดับ    สวัสดิการ     จำนวนเงิน (บาท)
1. สวัสดิการที่ให้เป็นวงเงินในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
1.1    วงเงินค่าซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค     3,531,410,208.25
1.2    วงเงินส่วนลดค่าซื้อก๊าซหุงต้ม        50,215,302.00
1.3    วงเงินค่าโดยสาร ขสมก./BTS/MRT/Airport rail link          22,755,057.58
1.4    วงเงินค่าโดยสารรถบริษัทขนส่ง จำกัด (บขส.)           7,988,400.00
1.5    วงเงินค่าโดยสารรถไฟ         18,791,227.88
รวมจำนวนเงิน (1)    3,631,160,195.71
2. สวัสดิการที่ให้ผ่านกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (e-Money)
2.1    มาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (ระยะที่ 1-2)            157,400.00
2.2    มาตรการสนับสนุนค่าใช่จ่ายช่วงปลายปี             191,500.00
2.3    มาตรการช่วยเหลือค่าเช่าบ้านสำหรับผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อย               18,400.00
2.4    มาตรการช่วยเหลือค่าเดินทางไปรับการรักษาพยาบาลฯ               31,000.00
2.5    มาตรการบรรเทาภาระค่าไฟฟ้า        168,399,508.38
2.6    มาตรการบรรเทาภาระค่าน้ำประปา          17,523,580.81
2.7    มาตรการชดเชยเงินให้แก่ผู้มีรายได้น้อยผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
โดยใช้ข้อมูลจากจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มฯ (ระยะที่ 1 - 2)                1,007.24
2.8    มาตรการเพิ่มเบี้ยคนพิการ               32,600.00
2.9    มาตรการบรรเทาภาระค่าครองชีพให้แก่เกษตรกร               88,000.00
2.10    มาตรการบรรเทาค่าใช้จ่ายของพ่อแม่ช่วงเปิดปีการศึกษา               52,000.00
2.11    มาตรการพยุงการบริโภคของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ           1,119,500.00
2.12    มาตรการมอบเงินช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุ               82,500.00
2.13    มาตรการช่วยเหลือการเลี้ยงดูบุตรแก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ               20,100.00
2.14    การเติมเงินเข้ากระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ในบัตรวงเงินค่าซื้อสินค้าอุปโภคที่จำเป็น            325,100.00
2.15    มาตรการเงินเพิ่มเบี้ยความพิการ ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 28 ม.ค. 2563       215,702,600.00
รวมจำนวนเงิน (2)      403,744,796.43
รวมจำนวนเงินทั้งสิ้น (1)+(2)    4,034,904,992.14

“ทั้งนี้ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ Call Center ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 0 2109 2345 หรือ Call Center กรมบัญชีกลาง 0 2270 6400 ในวัน เวลาราชการ" โฆษกกรมบัญชีกลาง กล่าว

บัตรสวัสดิการแห่งรัฐใช้ที่ไหนได้บ้าง 2565

ธนาคารออมสิน (ทุกสาขา) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ทุกสาขา) ธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน) (ทุกสาขา) สำนักงานเขตกรุงเทพมหานคร 50 เขต.
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ ห้องแถว และ ตึกแถว ไม่เกิน 25 ตารางเมตร.
ใช้อยู่อาศัยและใช้ประโยชน์จากที่ดินเพื่อการเกษตร ไม่เกิน 10 ไร่.

ลง ทะเบียน บัตร สวัสดิการ แห่ง รัฐ 2565 ผ่าน เว็บ กี่ โมง

วันที่ 24 ตุลาคม 2565 ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 2565 ผ่านเว็บกี่โมง หลังจาก กระทรวงการคลัง เปิดให้ลงทะเบียนตั้งแต่วันที่ 5 กันยายน 2565. ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 2565 ผ่านเว็บกี่โมง ระหว่างเวลา 06.00 น. - 23.00 น.

บัตรสวัสดิการแห่งรัฐใช้จ่ายอะไรได้บ้าง

-ค่าซื้อสินค้า 200 - 300 บาท -ค่าเดินทางรถโดยสารสาธารณะ 500 บาท -ส่วนลดแก๊สหุงต้ม 45 บาท (ต่อรอบ 3 เดือน) กรณีกลุ่มเปราะบางจะได้ส่วนลด 100 บาท (ต่อรอบ 3 เดือน) -เงินช่วยค่าไฟฟ้า ไม่เกิน 315 บาทต่อครอบครัว (ตามที่จ่ายจริง)

บัตรประชารัฐยังใช้ได้อยู่ไหม

สำหรับการทำบัตรคนจนและระยะเวลาโครงการของรอบล่าสุดนี้ จะหมดอายุในช่วงต้นปี 2566 ซึ่งข้อมูลตรงนี้ก็ช่วยทำให้คนที่สงสัยว่าบัตรคนจนใช้ได้ถึงเดือนไหนหายสงสัยสักที แต่นอกจากประเด็นที่ว่าบัตรคนจนใช้ได้ถึงเดือนไหนแล้ว อีกหนึ่งประเด็นสำคัญที่คนทำบัตรคนจนอยากรู้คือรัฐบาลมีมาตรการหรือกำหนดคุณสมบัติในการคัดเลือกผู้ขึ้นทะเบียนคนจน ...