การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ

เนื้อหา

  • 1 ภาษาไทย
    • 1.1 การออกเสียง
    • 1.2 คำวิสามานยนาม
      • 1.2.1 ดูเพิ่ม

ภาษาไทย[แก้ไข]

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:

ททท.

Wikipedia

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ ทอ-ทอ-ทอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิง tɔɔ-tɔɔ-tɔɔ
ราชบัณฑิตยสภา tho-tho-tho
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) /tʰɔː˧.tʰɔː˧.tʰɔː˧/(ส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

ททท.

  1. อักษรย่อของ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

  • ท.ท.ท.

เข้าถึงจาก "https://th.wiktionary.org/w/index.php?title=ททท.&oldid=1510880"

พจนานุกรมททท. : พจนานุกรม ออนไลน์ แปลภาษา คือ อะไร แปลว่า หมายถึง

ค้นหาคำศัพท์ :

  • หน้าหลัก
  • ภาษาน่ารู้
  • พจนานุกรมทั้งหมด
  • เพิ่มคำศัพท์ใหม่

หน้าหลัก > พจนานุกรมทั้งหมด > แปล ไทย-อังกฤษ lexitron > ททท.

ททท.

ททท.

  • ททท.

    [n.] The Tourism Authority of Thailand
    [syn.] การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

    ดูคำอื่นๆในหมวดแปล ไทย-อังกฤษ LEXiTRON

    กระตุกกระเบื้องดินเผากาบพรหมศรกุลาซ่อนผ้าชาญฉลาดดลใจดอกทานตะวันตูดปอดทวิบาททั้งสอง

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-อังกฤษ NECTEC's Lexitron Dictionary

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ

ททท.ภาษาอังกฤษ

ททท.ภาษาไทย ททท.ความหมาย Dictionary ททท.แปลว่า ททท.คำแปล

ททท.คืออะไร

Tweets by andrewbiggs

  • Home
  • ภาษาไทย
  • อักษรย่อ
  • ค้นหา

อักษรย่อ

ททท.

ย่อมาจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

อักษรย่อ

ท.ท.ท.

ย่อมาจาก บริษัทไทยโทรทัศน์จำกัด



การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ


ก่อนหน้า

« ทต.

ถัดไป

ท.ท.ท. »

คำศัพท์ที่คล้ายกัน

ททบ., ท.ทบสททหภ.ททท.ททท.๑

อักษรย่อใกล้เคียง

อักษรย่อ คำเต็ม รายละเอียด
ท.ม. ทวิติยาภรณ์มงกุฏไทย
ท.บ. ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต
ทกท. ท่าอากาศยานกรุงเทพ
ท.ภ. ทุติยดิเรกคุณาภรณ์
ทพ.ม. เทคนิคการแพทยมหาบัณฑิต
ทส. นายทหารคนสนิท
ททท. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ทอ. กองทัพอากาศ
ทบ. กองทัพบก
ทก กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

Tourism Authority of Thailand
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตัวย่อ
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง18 มีนาคม พ.ศ. 2503 (62 ปี)
หน่วยงานก่อนหน้า

  • * สำนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว กรมโฆษณาการ สำนักนายกรัฐมนตรี
  • * องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

สำนักงานใหญ่1600 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
งบประมาณประจำปี6,774.5022 ล้านบาท (พ.ศ. 2559)[1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน

  • ทศพร ศิริสัมพันธ์, ประธานคณะกรรมการ
  • ยุทธศักดิ์ สุภสร, ผู้ว่าการ
  • ฉัททันต์ กุญชร ณ อยุธยา​, รองผู้ว่าการด้านตลาดยุโรป แอฟริกา ตะวันออกกลาง และอเมริกา
  • ศิริปกรณ์ เชี่ยวสมุทร​, รองผู้ว่าการด้านสื่อสารการตลาด
  • ธเนศวร์ เพชรสุวรรณ​, รองผู้ว่าการด้านตลาดเอเชียและแปซิฟิกใต้
  • ฐาปนีย์ เกียรติ​ไพบูลย์​, รองผู้ว่าการด้านตลาดในประเทศ
  • อภิชัย ฉัตรเฉลิมกิจ​, รองผู้ว่าการด้านสินค้าและธุรกิจ​ท่องเที่ยว​
  • สมฤดี จิตรจง​, รองผู้ว่าการด้านบริหาร
  • น้ำฝน บุณยะรัตน์​, รองผู้ว่าการด้านนโยบายและแผน

ต้นสังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
เว็บไซต์www.tat.or.th

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อังกฤษ: Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไทย

ประวัติ[แก้]

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 โดยวัตถุประสงค์ของการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ

เพื่อจัดตั้งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยแทนองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว และให้การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยมีอำนาจหน้าที่ในการส่งเสริมและดำเนินกิจการเกี่ยวกับการท่องเที่ยวได้กว้างขวางยิ่งขึ้น

โดยได้ยกเลิก พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว พ.ศ. ๒๕๐๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

ที่ตั้งและสำนักงานสาขา[แก้]

สำนักงานใหญ่ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยตั้งอยู่เลขที่ 1600 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยยังมีสำนักงานสาขาตามจังหวัดต่าง ๆ และสำนักงานสาขาในต่างประเทศอีกเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันสาขาในประเทศไทยแบ่งหน่วยงานรับผิดชอบดังนี้

ภาคเหนือ[แก้]

  • สำนักงานแม่ฮ่องสอน (แม่ฮ่องสอน)
  • สำนักงานเชียงใหม่ (เชียงใหม่และลำพูน)
  • สำนักงานลำปาง (ลำปาง)
  • สำนักงานเชียงราย (เชียงราย)
  • สำนักงานแพร่ (แพร่และพะเยา)
  • สำนักงานสุโขทัย (สุโขทัย)
  • สำนักงานตาก (ตาก)
  • สำนักงานพิษณุโลก (พิษณุโลก กำแพงเพชร และเพชรบูรณ์)
  • สำนักงานอุทัยธานี (อุทัยธานี)
  • สำนักงานนครสวรรค์ (นครสวรรค์และพิจิตร)
  • สำนักงานน่าน (น่าน)

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

  • สำนักงานเลย (เลย)
  • สำนักงานอุดรธานี (อุดรธานี หนองบัวลำภู หนองคาย และบึงกาฬ)
  • สำนักงานนครพนม (นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร)
  • สำนักงานขอนแก่น (ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และร้อยเอ็ด)
  • สำนักงานอุบลราชธานี (อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร ศรีสะเกษ)
  • สำนักงานบุรีรัมย์
  • สำนักงานสุรินทร์ (สุรินทร์)
  • สำนักงานนครราชสีมา (นครราชสีมาและชัยภูมิ)

ภาคตะวันออก[แก้]

  • สำนักงานนครนายก (นครนายก ปราจีนบุรี และสระแก้ว)
  • สำนักงานระยอง (ระยอง)
  • สำนักงานตราด (ตราด)
  • สำนักงานชลบุรี พัทยา (ชลบุรี)
  • สำนักงานฉะเชิงเทรา (ฉะเชิงเทราและสมุทรปราการ)
  • สำนักงานจันทบุรี (จันทบุรี)

ภาคกลาง[แก้]

  • สำนักงานกรุงเทพมหานคร (กรุงเทพมหานคร)
  • สำนักงานพระนครศรีอยุธยา (พระนครศรีอยุธยา นนทบุรี ปทุมธานี และสระบุรี)
  • สำนักงานลพบุรี (ลพบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี และชัยนาท)
  • สำนักงานสุพรรณบุรี (สุพรรณบุรี สมุทรสาคร นครปฐม)
  • สำนักงานสมุทรสงคราม (สมุทรสงคราม)
  • สำนักงานราชบุรี (ราชบุรี)
  • สำนักงานกาญจนบุรี (กาญจนบุรี)
  • สำนักงานเพชรบุรี (เพชรบุรี)
  • สำนักงานประจวบคีรีขันธ์ (ประจวบคีรีขันธ์)

ภาคใต้[แก้]

  • สำนักงานชุมพร (ชุมพรและระนอง)
  • สำนักงานพังงา (พังงา)
  • สำนักงานภูเก็ต (ภูเก็ต)
  • สำนักงานกระบี่ (กระบี่)
  • สำนักงานสุราษฎร์ธานี (สุราษฎร์ธานี ยกเว้นเกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า)
  • สำนักงานเกาะสมุย (สุราษฎร์ธานี เฉพาะเกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า)
  • สำนักงานนครศรีธรรมราช (นครศรีธรรมราช)
  • สำนักงานตรัง (ตรังและพัทลุง)
  • สำนักงานหาดใหญ่ (สงขลา)
  • สำนักงานนราธิวาส (นราธิวาส ปัตตานี และยะลา)
  • สำนักงานสตูล

สำนักงานในต่างประเทศ[แก้]

ทวีปเอเชีย[แก้]

  • กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน
  • นครคุนหมิง ประเทศจีน
  • นครเฉิงตู ประเทศจีน
  • นครกว่างโจว ประเทศจีน
  • นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน
  • เมืองฮ่องกง ประเทศจีน
  • กรุงไทเป ไต้หวัน
  • กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
  • นครโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น
  • เมืองฟูกูโอกะ ประเทศญี่ปุ่น
  • กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้
  • กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย
  • เมืองมุมไบ ประเทศอินเดีย
  • เมืองดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[แก้]

  • กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
  • ประเทศสิงคโปร์
  • นครโฮจิมินห์ ประเทศเวียดนาม
  • กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย

ทวีปยุโรป[แก้]

  • กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร
  • กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
  • กรุงโรม ประเทศอิตาลี
  • กรุงสต็อกโฮล์ม ประเทศสวีเดน
  • กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย
  • นครแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี
  • กรุงปราก ประเทศเช็กเกีย

ทวีปอเมริกาเหนือ[แก้]

  • นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
  • นครลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา

ทวีปออสเตรเลีย[แก้]

  • นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย

อนุสาร อ.ส.ท.[แก้]

อนุสาร อ.ส.ท. เป็นนิตยสารท่องเที่ยวขององค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (อ.ส.ท.) (ปัจจุบันเป็นการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย) ออกวางตลาดเป็นปฐมฤกษ์ ในฉบับเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2503 โดยคำว่าอนุสาร หมายถึงสารฉบับเล็ก มียอดพิมพ์ครั้งแรก 50,000 ฉบับ เนื้อหานำเสนอเรื่องราวของแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย ทั้งในด้านธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และแม้ว่าองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ท.ท.ท.) ในปี พ.ศ. 2522 อนุสาร อ.ส.ท.ก็ยังใช้ชื่อเดิมมาจนถึงปัจจุบัน โดยในปี พ.ศ. 2551 มียอดพิมพ์สูงถึง 100,000 ฉบับต่อเดือนนับเป็นนิตยสารท่องเที่ยวที่อายุยืนนานที่สุด และมียอดจำหน่ายสูงสุดของประเทศไทย[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เล่ม 132 ตอนที่ 91ก วันที่ 25 กันยายน 2558
  2. "อนุสาร อ.ส.ท.", gaming.youtube.com, april 8, 2017

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • เว็บไซต์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
  • ข้อมูลการท่องเที่ยวฉบับภาษาอังกฤษ
  • อนุสาร อ.ส.ท. Archived 2018-11-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - นิตยสารการท่องเที่ยวของ ททท.