Top 5 เทคโนโลยี เกษตร สมัยใหม่ สำหรับ การ ปฏิบัติ หลัง การเก็บเกี่ยว 2023

การทำฟาร์มแบบยั่งยืนกำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการเกษตร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานระหว่างประเทศได้ให้ความสำคัญกับนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่มากยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิด "การยกระดับอย่างยั่งยืน" ในด้านการเกษตร การสร้างแนวปฏิบัติจำเป็นต้องมีการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยในการจัดการพืชผล การควบคุมศัตรูพืช การควบคุมคุณภาพ และการจัดการโรคแบบบูรณาการเทคโนโลยีใหม่เหล่านี้เป็นขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยให้พี่น้องชาวเกษตรกรรุ่นปัจจุบันและอนาคตเติบโตได้โดยไม่กระทบต่อความต้องการของโลก เกษตรกรมักเผชิญกั

Top 1: 6 นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่มาแรง เปลี่ยนแปลงการเกษตรทั่วโลก

ผู้เขียน: sanpanya.com - 311 การให้คะแนน
คำอธิบาย: การทำฟาร์มแบบยั่งยืนกำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการเกษตร หน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานระหว่างประเทศได้ให้ความสำคัญกับนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่มากยิ่งขึ้น เพื่อให้เกิด "การยกระดับอย่างยั่งยืน" ในด้านการเกษตร การสร้างแนวปฏิบัติจำเป็นต้องมีการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อช่วยในการจัดการพืชผล การควบคุมศัตรูพืช การควบคุมคุณภาพ และการจัดการโรคแบบบูรณาการเทคโนโลยีใหม่เหล่านี้เป็นขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยให้พี่น้องชาวเกษตรกรรุ่นปัจจุบันและอนาคตเติบโตได้โดยไม่กระทบต่อความต้องการของโลก เกษตรกรมักเผชิญกั
การจับคู่ผลการค้นหา: การทำฟาร์มแบบยั่งยืนกำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการเกษตร ... เช่น พืชผลที่เพาะปลูก แนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่เกษตรกรนำมาใช้ ...การทำฟาร์มแบบยั่งยืนกำลังเข้ามามีบทบาทสำคัญในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการเกษตร ... เช่น พืชผลที่เพาะปลูก แนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่เกษตรกรนำมาใช้ ... ...

Top 2: สิ่งที่เกษตรควรรู้ เพื่อการเลือกใช้เทคโนโลยี Smart Farming อย่างเหมาะสม

ผู้เขียน: bangkokbanksme.com - 235 การให้คะแนน
คำอธิบาย: 1.เกษตรอัจฉริยะที่ช่วยเพิ่มคุณภาพผลผลิต เทคโนโลยีและนวัตกรรมการปลูกผักหรือพืชอายุสั้นด้วยเทคนิคใหม่ๆ เช่น การปลูกพืชไม่ใช้ การผลิตสาหร่ายเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ การทำฟาร์มแนวตั้ง (Vertical Farming) โดยใช้แสงจากหลอดไฟ LED ทดแทนแสงจากดวงอาทิตย์ ซึ่งในปัจจุบันมีรูปแบบในการพัฒนาการเพาะปลูกไปอย่างมากมาย ทำให้เป็นทั้งโอกาสและการหาโอกาสใหม่ๆ ได้อีกด้วย2. เทคโนโลยีในการผลิตอาหารและเพิ่มประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทานอาหาร เช่น การใช้ AI, Machine Learning, IoT, Big Data, เซนเซอร์ควบคุมภูมิอากาศ ที่ส่งผลให้สาม
การจับคู่ผลการค้นหา: 3 ธ.ค. 2021 · Smart Farming หรือการทำเกษตรสมัยใหม่ (Modern Agriculture) ... การเก็บเกี่ยวหรือแม้แต่การแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า.3 ธ.ค. 2021 · Smart Farming หรือการทำเกษตรสมัยใหม่ (Modern Agriculture) ... การเก็บเกี่ยวหรือแม้แต่การแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า. ...

Top 3: 10 นวัตกรรมเกษตรยุคใหม่ ตอบโจทย์ “สมาร์ทฟาร์มอัจฉริยะ”

ผู้เขียน: technologychaoban.com - 218 การให้คะแนน
คำอธิบาย: สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตมนุษย์ในด้านต่างๆ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเงิน การตลาด การใช้ชีวิต และอาชีพการงาน เพื่อให้ชีวิตดำเนินต่อไปได้ พวกเราทุกคนต้องปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์วิถีใหม่ (New Normal)  สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA  หน่วยงานหลักด้านการส่งเสริมระบบนวัตกรรมแห่งชาติ ได้มีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ เพื่อช่วยยกระดับการพัฒนาสินค้าเกษตรให้ก้าวเข้าสู่ระบบสมาร์ทฟาร์มอัจฉริยะ ช่วยให้การบริหารจัดการฟาร์มกลายเป็นเรื่องง่าย ลดต้นทุน เ
การจับคู่ผลการค้นหา: 13 ก.ค. 2020 · การให้น้ำใต้ดินผ่านเซรามิกรูพรุนสำหรับทุเรียนนอกฤดู · ฟาร์มไก่ไข่ระบบอัจฉริยะ ( · Farmbook.co วางแผนการเพาะปลูกสำหรับเกษตรกร · Getz Trac เทคโนโลยี ...13 ก.ค. 2020 · การให้น้ำใต้ดินผ่านเซรามิกรูพรุนสำหรับทุเรียนนอกฤดู · ฟาร์มไก่ไข่ระบบอัจฉริยะ ( · Farmbook.co วางแผนการเพาะปลูกสำหรับเกษตรกร · Getz Trac เทคโนโลยี ... ...

Top 4: กางแผนปั้น 5 กลุ่มสินค้าเกษตรสมัยใหม่ พร้อมใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง

ผู้เขียน: salika.co - 261 การให้คะแนน
คำอธิบาย: เจาะลึก แผนยุทธศาสตร์ด้านการเกษตรในอีอีซี ปี 2566-2570 เปลี่ยนโฉมเกษตรกรรมด้วย เทคโนโลยีขั้นสูง. 5 กลุ่มสินค้าเกษตร เพิ่มรายได้เกษตรกร กระจายการพัฒนาอย่างทั่วถึง. ชี้ผลประโยชน์ที่ประเทศชาติจะได้รับจาก แผนพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ ในอีอีซี. เพราะนอกเหนือจากการตั้งเป้าพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเป้าหมายทั้ง 12 S curve แล้ว ยังมีเป้าหมายที่จะพัฒนาภาคการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนกลุ่มใหญ่ในอีอีซี ยกระดับคุณภาพชีวิต รายได้ ให้ทัดเทียมกับภาคเศรษฐกิจอื่น. เพราะตั้งแต่ปี 2561 ภาคการเกษตรมีรายได้เฉลี่ยเพียง 191,560 บาท/คน/ปี เท่านั้น ขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมที่รายได้ฉลี่ยอยู่ที่ 668,963 บาท/คน/ปี และภาคบริการมีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 230,339 บาท/คน/ปี. ทั้งนี้ ในแผนการพัฒนาด้านการเกษตรในพื้นที่อีอีซี ปี 2566-2570 ที่จะเป็นแผนการพัฒนาด้านการเกษตรสมัยใหม่ของประเทศ ที่พึ่งพา เทคโนโลยีระดับสูง เป็นหลัก ตามกรอบแนวคิด “ตลาดนำการผลิต” โดยจะสนับสนุนการพัฒนากลุ่มสินค้าเกษตรสำคัญ ได้แก่ กลุ่มผลไม้ กลุ่มประมง กลุ่มพืชสมุนไพร กลุ่มสินค้าเกษตรมูลค่าสูง กลุ่มพืชสำหรับอุตสาหกรรมชีวภาพ. โดยจะเชื่อมโยงภาคการผลิตสินค้าเกษตรเข้ากับอุตสาหกรรมเป้าหมาย สร้างกระบวนการพัฒนาและถ่ายทอดกระบวนการเกษตร พัฒนาระบบการเกษตรสมัยใหม่ โดยใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง อย่าง ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เพื่อตอบโจทย์ด้านการตลาดแลละยกระดับการผลิตภาคการเกษตร. และในแผนการพัฒนาด้านการเกษตร จะมีแผนทั้งหมด 101 โครงการ วงเงินรวม 2,845 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณภาครัฐ 1,535 ล้านบาท และภาคเอกชนอีก 1,310 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 54 และ 46 ของวงเงินรวม. ในแผนพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ฉบับนี้ จะประกอบไปด้วย 3 ยุทธศาสตร์หลัก. ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับผลิตภาพการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ. ประกอบด้วย 34 โครงการ โดยใช้วงเงิน 596 ล้านบาท มุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพเพื่อสร้างมูลค่าผ่านกลุ่มเกษตรและสนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย โดยสนับสนุนการวิจัยเทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่และเทคโนโลยีชีวภาพแบบบูรณาการ ที่ตรงกับความต้องการของตลาด และสร้างคุณภาพในห่วงโซ่อุปทานด้วย. รวมทั้งเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรที่ตอบโจทย์การใช้งานในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดการต่อยอดในระดับฟาร์ม ปรับปรุงเมล็ดและพันธุ์พืช โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่เหมาะสมกับบริบทในประเทศ และขยายผลการเกษตรสมัยใหม่ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการเพาะปลูก เช่น การทำการเกษตรแบบแม่นยำสูง การใช้ระบบเซ็นเซอร์ เพื่อตรวจสอบสภาพพื้นที่ในการเพาะปลูก รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพของดิน และพัฒนาการเข้าถึงเมล็ดและพันธุ์พืชที่มีคุณภาพ โดยการจัดตั้งศูนย์พัฒนาและกระจายเมล็ดพันธุ์พืชจากเทคโนโลยีชีวภาพ ตลอดจนเข้าถึงเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และส่งเสริมปรับปรุงดินโดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อบำรุงดิน. ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มด้วยนวัตกรรมและการตลาด. ประกอบไปด้วย 24 โครงการ วงเงิน 845 ล้านบาท โดยจะมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูป บรรจุภัณฑ์และการตลาด โดยการมุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐาน ปลอดภัย ตรงตามความต้องการของตลาด ด้วยการสร้างมูลค่าจากการแปรรูปโดยใช้ เทคโนโลยีขั้นสูง รวมทั้งการสร้างมูลค่าเพิ่มจากเศษวัสดุเหลือทิ้งที่เกิดจากการผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร โดยการใช้วัสดุเหลือทิ้งมาใช้วัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ ยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ การเก็บรักษา การยืดอายุ และการขนส่ง รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มช่องทางทางการตลาดด้วย. นอกจากนี้ก็จะมีการพัฒนาช่องทางโลจิสติกส์การตลาดและการเกษตร พัฒนาตลาดกลางค้าส่งผลไม้เมืองร้อนและอาหารทะเล เพื่อเป็นศูนย์กลางในการเก็บรักษาและกระจายสินค้า รวมทั้งการพัฒนาระบบขนส่งและการผลิตเพื่อให้ถึงมือผู้บริโภคอย่างรวดเร็วด้วยต้นทุนต่ำ สินค้าอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างช่องงทางทางการตลาดใหม่ผ่านระบบออนไลน์และการประมูลสินค้าอิเล็กทรอนิกส์. รวมถึงการตั้งระบบ National Single Window ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดเวลาและต้นทุนการขนส่ง จัดทำระบบตรวจสอบย้อนกลับตั้งแต่เกษตรกรผู้ผลิตไปจนถึงผู้กระจายสินค้า จัดตั้งระบบกระจายสินค้าและศูนย์อำนวยความสะดวก ส่งเสริมการเกษตรละการตลาด. ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาคการเกษตรเพื่อเข้าสู่ธุรกิจการเกษตรสมัยใหม่. ประกอบด้วย 43 โครงการ วงเงิน 1,404 ล้านบาท มุ่งไปที่การพัฒนาเกษตรกรสู่การพัฒนาเกษตรกรอัจฉริยะต้นแบบ พร้อมขยายผลเสริมสร้างสังคมฐานความรู้ และการกระจายองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร เกี่ยวกับการผลิตสินค้าการเกษตรและทักษะความเป็นผู้ประกอบการ จัดตั้งศูนย์กลางเกษตรทันสมัยเพื่อเป็นศูนย์รวมการถ่ายทอดความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การวิจัยและพัฒนาและนวัตกรรมการเกษตร. รวมถึงการพัฒนาผู้วิจัยและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการเกษตรเกี่ยวเนื่อง โดยจัดตั้งเครือข่ายความร่วมมือระหว่างเกษตรกร ผู้วิจัย และผู้ประกอบอุตสาหกรรมการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาการผลิตผลิตผลทางการเกษตรให้สามารถตอบสนองความต้องการของตลาด สร้างโอกาสทางธุรกิจให้เกษตรกร เพื่อเข้าสู่เกษตรสมัยใหม่. นอกจากนั้น ยังเป็นการส่งเสริมผู้วิจัยในส่าขาใหม่ๆให้เข้าสู่การเกษตร สนับสนุนการสร้างมาตรฐานทางการเกษตรเพื่อต่อยอดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร โดยใช้มาตรฐาน GAP มาตรฐาน GMP และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะนำสู่การสร้างสินค้าเกษตรมูลค่าสูงต่อไป. ทั้งนี้ ยังเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรเข้าสู่ระบบการประกันความเสี่ยงและเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยการสนับสนุนให้เกษตรกรเข้าถึงองค์ความรู้ในการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ผลิตผลมีความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และความแปรปรวนด้านราคาด้วยระบบประกันภัยสินค้าเกษตร และการเข้าระบบการซื้อขายล่วงหน้า. และด้วยแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาทั้ง 3 ด้านนี้เอง ที่เป็นความหวังในการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่อีอีซี และบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจได้มากทีเดียว. การขับเคลื่อนพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ในพื้นที่อีอีซี จะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสินค้าเกษตร 5 กลุ่ม คือ. กลุ่มผลไม้ ส่งเสริมทั้งหมด 24 โครงการ. เน้นพัฒนาคุณภาพของสินค้า ปูทางสู่ตลาดมูลค่าสูง. ยกระดับการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ. ยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มด้วยการแปรรูป. ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ได้แก่ ทุเรียน มังคุด มะม่วง ขนุน และมะพร้าวอ่อน ที่ส่วนใหญ่จะมีอยู่ในพื้นที่ระยองและฉะเชิงเทรา. กลุ่มพืชสมุนไพร ส่งเสริมทั้งหมด 31 โครงการ. เน้นการพัฒนาสมุนไพรครบวงจรเชื่อมโยงเศรษฐกิจฐานชีวภาพ อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ ยา เวชภัณฑ์ทางการแพทย์และเวชสำอาง ยกระดับผลิตภัณฑ์แปรรูปพืชสมุนไพร โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่. ผลผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร ขมิ้นชัน กระชาย บัวบก ไพล กัญชง และกัญชา. ในระยะแรก ส่งเสริมในพื้นที่ สปก. ด้วยเทคโนโลยีโรงเรือนอัจฉริยะ. กลุ่มประมงเพาะเลี้ยง ส่งเสริมทั้งหมด 15 โครงการ. เน้นการเลี้ยงในระบบปิด. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานในการผลิต โดยเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม. ผลผลิตเป้าหมาย เน้นสัตว์น้ำเชิงเศรษฐกิจ เช่น กุ้งขาว กุ้งก้ามกราม ปลานิล ปลาสลิด จระเข้ ปูทะเล. กลุ่มพืชสำหรับอุตสาหกรรมชีวภาพ ส่งเสริมทั้งหมด 21 โครงการ. ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย ได้แก่ มันสำปะหลัง. ยกระดับการผลิตมันสำปะหลังที่มีคุณภาพและมากเพียงพอ. เพิ่มการต่อยอดสู่โรงงานผลิตเอทานอลและไบโอพลาสติก. เน้นใช้เทคโนโลยีการผลิต การเก็บเกี่ยว ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. พัฒนาสายพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่. กลุ่มเกษตรมูลค่าสูง ส่งเสริมทั้งหมด 8 โครงการ. ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย : เนื้อโคพรีเมียม. ส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อคุณภาพสูง ได้มาตรฐานสากล. สนับสนุนการตั้งศูนย์แปรรูปให้ได้มาตรฐานระดับส่งออก. พัฒนาโรงชำแหละและตัดแต่งชิ้นเนื้อให้ได้มาตรฐาน. ผลิตภัณฑ์เป้าหมาย : ไข่ไก่อินทรีย์. ปรับระบบการเลี้ยงไก่ไข่ เข้าสู่มาตรฐานฟาร์มแบบไม่ใช้กรง และไก่ไข่อินทรีย์. สร้างระบบตรวจสอบย้อนกลับสินค้าไข่ไก่. ขยายตลาดไข่ไก่คุณภาพสูงในพื้นที่อีอีซี. แน่นอนว่า จากการดำเนินการแผนพัฒนาฉบับนี้ จะทำให้เกิดการปรับแปนเกษตรในพื้นที่อีอีซีให้เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ เป็นต้นแบบของการพัฒนาภาคการเกษตรในประเทศไทย โดยเน้นการประยุกต์และพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรให้ตอบสนองกับความต้องการของตลาดสินค้าเกษตรไทย โดยมีการคาดการณ์ผลผลิตมวลรวมของสินค้าเกษตรในอีอีซีจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 ต่อปี ตั้งแต่ปี 2566-2580 และในปีนี้ จีดีพีภาคเกษตรขยายตัวร้อยละ 52.5 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2565 รายได้เฉลี่ยของเกษตรกรเป้าหมายจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.5 ต่อปี. แต่อย่างไรก็ดี ถ้าอยากให้แผนพัฒนานี้มีประสิทธิภาพควรต้องทำอย่างไ? ต่อคำถามนี้ มีมุมมองจากภาคผู้ประกอบการสะท้อนมา โดย โชติชัย บัวดิษ ผู้จัดการสวนสุภัทราแลนด์และประธานชมรมสวนท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดระยอง ได้กล่าวว่า. “โดยรวมแล้วนโยบายการเกษตรของอีอีซีในช่วง 1-2 ปี ถือว่าเดินมาถูกทางแล้ว เพราะมุ่งเน้นเรื่องนวัตกรรมเป็นหลัก เกษตรกรรุ่นเดิมยังเข้าถึงได้น้อย แต่เกษตรกรตั้งแต่รุ่นกลางจนถึงรุ่นใหม่ ต้องการมาก เพราะเป็นงานนวัตกรรมที่ช่วยเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนได้”. โดยเฉพาะโครงการนวัตกรรมถุงห่อทุเรียน MAGIK GROWTH หรือถุงแดง ที่ผู้ประกอบการสามารถใช้ในการผลิตทุเรียนพรีเมียม ช่วยให้ทุเรียนผิวสวย เนื้อมีคุณภาพสูง เปลือกบาง เนื้อหนา ราคาต่อลูกสูงขึ้นกว่า 1,000 บาท นอกจากนั้นยังมีการนำระบบน้ำอัตโนมัติมาติดตั้งและสอนให้กับชาวบ้าน. ทั้งนี้ แม้จะยังมีเกษตรกรบางส่วนมองว่ายังไม่จำเป็น เพราะน้ำในพื้นที่เพื่อทำการเกษตรยังไม่ขาดแคลน แต่ในภาคการเกษตรระดับกลาง ระบบน้ำอัจฉริยะเป็นสิ่งจำเป็น ช่วยแก้ปัญหาในช่วงที่ขาดแคลนน้ำ ทำให้ใช้น้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน ทำให้พืชเติบโตได้ดี. เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรที่ช่วยพลิกโฉมการเกษตรไทย.
การจับคู่ผลการค้นหา: 20 พ.ค. 2023 · การขับเคลื่อนพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ในพื้นที่อีอีซี จะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสินค้าเกษตร 5 กลุ่ม คือ · กลุ่มผลไม้ ส่งเสริมทั้งหมด 24 โครงการ · เน้น ...20 พ.ค. 2023 · การขับเคลื่อนพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ในพื้นที่อีอีซี จะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาสินค้าเกษตร 5 กลุ่ม คือ · กลุ่มผลไม้ ส่งเสริมทั้งหมด 24 โครงการ · เน้น ... ...

Top 5: กลุ่มวิจัย Postharvest Safety ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

ผู้เขียน: phtnet.org - 217 การให้คะแนน
คำอธิบาย: ปัจจุบันผลิตผลเกษตรของไทยเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับมากขึ้นจากประเทศคู่ค้าสำคัญ อาทิ ญี่ปุ่น สหภาพ ยุโรป จีน และฮ่องกง ดังเห็นได้จากมูลค่าการส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปี เนื่องจากการเพาะปลูกและการเกษตรของไทยมีมาตรฐานสูงขึ้น ในขณะเดียวกันประเทศคู่ค้าของไทยก็มีแนวโน้มให้ความสำคัญเรื่องความปลอดภัยทางอาหารเพิ่มมากขึ้น โดยเพิ่มความเข้มงวดในมาตรการตรวจสอบต่างๆ เช่น การตรวจสอบศัตรูพืชและปริมาณสารพิษตกค้าง โดยส่วนหนึ่งใช้เป็นมาตรการกีดกันทางการค้า จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เกษตรกรและผู้ส่งออกควรศึกษาแล
การจับคู่ผลการค้นหา: การพัฒนางานวิจัยด้านความปลอดภัยทางอาหารตั้งแต่กระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวจนกระทั่งการส่งออก ช่วยให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการเกษตรและภาคเอกชนของ ...การพัฒนางานวิจัยด้านความปลอดภัยทางอาหารตั้งแต่กระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวจนกระทั่งการส่งออก ช่วยให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการเกษตรและภาคเอกชนของ ... ...