พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

พระราชกฤษฎีกา
เงินสวสั ดิการเก่ียวกบั การรกั ษาพยาบาล

พ.ศ.2523
(แกไ ขเพิม่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2528 (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2532 (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2533
(ฉบบั ที่ 5) พ.ศ.2534 (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2540 (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2541 และ (ฉบับท่ี 8) พ.ศ.2545)

_________________________
ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วนั ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2523
เปนปท่ี 35 ในรัชกาลปจ จบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา

โดยที่เปน การสมควรปรับปรุงพระราชกฤษฎกี าวา ดวยเงนิ สวัสดกิ ารเกย่ี วกบั การรักษา
พยาบาล

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา 159 ของรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย และ มาตรา
3
แหงพระราชบัญญัติการกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจายเงินบางประเภทตามงบประมาณรายจาย
พ.ศ.2518
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกฤษฎีกาขน้ึ ไว ดงั ตอ ไปนี้

มาตรา 1 พระราชกฤษฎกี านี้เรยี กวา “พระราชกฤษฎกี าเงินสวัสดกิ ารเก่ียวกบั การรกั ษา
พยาบาล
พ.ศ.2523”

*มาตรา 2 พระราชกฤษฎกี านี้ ใหใ ชบังคับเม่ือพน กําหนดสามสบิ วันนับแตวนั ถดั จากวนั
ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป

มาตรา 3 ใหย กเลกิ พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ียวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ.2521
มาตรา 4 ในพระราชกฤษฎีกานี้
****“คารักษาพยาบาล” หมายความวา เงินท่ีสถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษา
พยาบาล ดงั นี้
(1) คายา คาเลือด และสวนประกอบของเลือดหรือสารทดแทน คาน้าํ ยาหรืออาหารทาง
เสน เลือด คาออกซิเจน และอืน่ ๆ ทํานองเดยี วกนั ทีใ่ ชในการบาํ บดั รกั ษาโรค
(2) คาอวยั วะเทยี มและอปุ กรณในการบําบดั รักษาโรค รวมท้งั คา ซอ มแซม

2
(3) คาบริการทางแพทย คา ตรวจ คาวิเคราะหโ รค แตไ มร วมถงึ คาจางผพู ยาบาลพิเศษ
คาธรรมเนียมพเิ ศษ และคา บริการอื่นทํานองเดยี วกันท่ีมลี ักษณะเปน เงนิ ตอบแทนพิเศษ
(4) คาหองและคาอาหารตลอดเวลาท่เี ขา รับการรกั ษาพยาบาล
(5) คาตรวจสขุ ภาพประจาํ ป
****““การรักษาพยาบาล” หมายความรวมถึง การตรวจสขุ ภาพประจําป เพื่อประโยชน
ทางดา นสาธารณสุข”

“สถานพยาบาล” หมายความวา สถานพยาบาลของทางราชการและสถานพยาบาลของ

เอกชน

“สถานพยาบาลของทางราชการ” หมายความวา สถานพยาบาลของทางราชการตาม

กฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน และใหหมายความรวมถึงสถานพยาบาลของ

กรุงเทพมหานคร รฐั วิสาหกจิ ตามกฎหมายวาดว ยวิธกี ารงบประมาณ สภากาชาดไทย ครุ ุสภา

สมาคมปราบวัณโรค กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย องคก ารสงเคราะหท หารผา นศึก และสถานพยาบาลอน่ื

ทก่ี ระทรวงการคลังกาํ หนด

**“สถานพยาบาลของเอกชน” หมายความวา สถานพยาบาลของเอกชนท่มี ีเตียงรับผู

ปว ยไวค า งคืนเกนิ ยี่สบิ หาเตียง ซง่ึ ไดร บั อนุญาตใหตงั้ หรือดําเนินการตามกฎหมายวาดว ยสถานพยาบาล”

“บคุ คลในครอบครัว” หมายความวา

(1) บตุ รชอบดวยกฎหมายซ่งึ ยังไมบรรลนุ ิตภิ าวะ หรือบรรลุนติ ภิ าวะแลว แตเ ปน คนไร

ความสามารถหรือเสมือนไรค วามสามารถ ซ่ึงอยใู นความอปุ การะเล้ียงดูของบิดาหรอื มารดาซ่ึงเปน ผูมีสทิ ธิ

ไดร ับเงินสวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาล แตท ัง้ น้ี ไมร วมถงึ บุตรบุญธรรม หรือบุตรซงึ่ ไดยกใหเปน

บุตรบญุ ธรรมของบคุ คลอนื่ แลว

(2) คสู มรสของผมู ีสทิ ธไิ ดรบั เงนิ สวสั ดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาล

(3) บดิ าหรือมารดาของผมู สี ทิ ธไิ ดรับเงนิ สวสั ดกิ ารเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาล

มาตรา 5 การจา ยเงินตามงบประมาณรายจา ยเปน คารกั ษาพยาบาล ใหเ ปน ไปตามหลัก

เกณฑ และอัตราการจายตามท่บี ญั ญตั ิไวใ นพระราชกฤษฎกี าน้ี สว นวิธกี ารเบิกจา ยนัน้ ใหเปน ไปตามหลัก

เกณฑแ ละวธิ ีการ ท่กี ระทรวงการคลงั กาํ หนด

****มาตรา 6 ภายใตบงั คับมาตรา 8 และมาตรา 11 ทวิ ใหบ คุ คลดังตอไปน้ี เปน ผูมสี ทิ ธิ

ไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลสําหรับตนเองและบุคคลในครอบครัวของตนตามพระราช

กฤษฎกี าน้ี

3
(1) ขาราชการและลูกจาง ประจาํ ซึ่งไดรับเงินเดือนหรอื คาจางประจาํ จากเงินงบ
ประมาณรายจา ยหมวดเงินเดือนและคา จางประจําของกระทรวง ทบวง กรม
(2) ลูกจางชาวตางประเทศซ่ึงมีหนังสือสัญญาจางที่ไดรับคาจางจากเงินงบ
ประมาณรายจา ยและสญั ญาจางนน้ั มไิ ดระบุเกีย่ วกบั คารกั ษาพยาบาลไว
(3) ผูไดรับบํานาญปกตหิ รอื ผไู ดรับบาํ นาญพเิ ศษเหตทุ พุ พลภาพตามกฎหมายวา
ดวยบําเหน็จบาํ นาญขาราชการ และทหารกองหนนุ มีเบ้ียหวัดตามขอบังคบั กระทรวงกลาโหมวา ดวยเงนิ
เบย้ี หวดั
*******มาตรา 6 ทวิ ในกรณีทผ่ี มู ีสิทธิไดร บั เงินสวสั ดิการเก่ียวกบั การรักษาพยาบาลตาม
พระราช-กฤษฎีกาน้ีและบุคคลในครอบครัวของผูนั้นประสบอุบัติเหตุหรืออุบัติภัยในคราวเดียวกันและผูมี
สิทธิไดร บั เงินสวสั ดกิ ารเก่ยี วกบั การรกั ษาพยาบาลไดเสียชวี ิตเน่อื งจากอุบตั เิ หตหุ รอื อุบัติภัยในคราวน้ัน ให
บุคคลในครอบครัวของผูน้ัน ซ่ึงไดเขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการ
เกี่ยวกับการรกั ษาพยาบาลตามสทิ ธิทก่ี ําหนด ในพระราชกฤษฎีกาน้ีเฉพาะการเจบ็ ปวยในคร้งั น้นั
มาตรา 7 ใหผ มู ีสิทธไิ ดร ับเงนิ สวัสดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลตามมาตรา 6 มสี ิทธิ
ไดรับเงินสวสั ดิการเกีย่ วกับการรักษาพยาบาลสําหรับบตุ รไดเ พยี งคนท่หี นงึ่ ถึงคนที่สาม

การนับลําดบั บตุ รคนทห่ี นง่ึ ถึงคนที่สาม ใหนบั เรียงตามลาํ ดบั การเกดิ กอนหลัง ทงั้ น้ี ไมว า
เปน บุตร ทเ่ี กดิ จากการสมรสคร้งั ใด หรืออยูใ นอาํ นาจปกครองของตนหรือไม

ผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลผูใดมีบุตรเกินสามคน และตอมา
บุตรคนหน่ึงคนใดในจํานวนสามคนตามวรรคหน่ึงนั้นตายลงกอนท่ีจะบรรลุนิติภาวะ ก็ใหผูนั้นมีสิทธิไดรับ
เงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาลสําหรับบุตร เพิม่ ขึ้นอีกเทาจํานวนบตุ รทตี่ ายน้นั โดยใหนบั บตุ รคน
ที่อยูใ นลําดบั ถัดไปกอ น

***มาตรา 7 ทวิ ผมู ีสิทธไิ ดร บั เงินสวัสดกิ ารเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาล ผใู ดยงั ไมม บี ุตร
หรือมีบุตรท่มี ีสิทธไิ ดร บั เงนิ สวัสดกิ ารเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาลตามมาตรา 7 ยังไมถ ึงสามคน ถาตอมามี
บตุ รแฝดซึ่งทาํ ใหม จี ํานวนบุตรเกินสามคน ใหผ มู ีสทิ ธิไดรบั เงนิ สวสั ดิการเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลผูนั้นมี
สิทธไิ ดรับเงินสวสั ดกิ ารเกีย่ วกับการรกั ษาพยาบาลตามมาตรา 7 สําหรับบุตรคนทหี่ นงึ่ ถึงคนสุดทาย แต
บุตรแฝดดงั กลา วจะตอ งเปนบตุ รซึ่งเกดิ จาก คูสมรส หรือเปน บตุ รของตนเองในกรณีทห่ี ญงิ เปนผูใชสิทธิ
เบกิ เงนิ สวัสดิการเก่ียวกบั การรกั ษาพยาบาล

ในกรณีที่บุตรคนใดคนหนึ่งของผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลดัง
กลาวตามวรรคหนึ่งตายลงกอนที่จะบรรลุนิติภาวะ ก็ใหลดจาํ นวนบุตรท่ีไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการ
รักษาพยาบาลลงจนกวาจํานวนบุตรท่ีไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลเหลือไมเกินสามคน
และหลังจากนน้ั ผมู สี ิทธิไดรับเงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกบั การรักษาพยาบาลดังกลา ว จงึ จะมีสิทธิไดรับเงนิ สวัสดิ
การเกยี่ วกับการรักษาพยาบาลเพม่ิ ขึน้ ไดตามมาตรา 7 วรรคสาม

4
เพ่ือประโยชนแหงมาตราน้ี บท บัญญัติท่ีอางถึงบุตรคนที่หนึ่งถึงคนท่ีสามของผูมี
สิทธไิ ดร บั เงินสวัสดกิ ารเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาล ใหหมายถึงบุตรคนที่หนง่ึ ถึงคนสดุ ทายของผมู ีสิทธิไดร บั
เงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาลตามวรรคหน่ึง
***มาตรา 7 ตรี การนบั ลําดบั บุตรคนทห่ี นึง่ ถึงคนสดุ ทา ยในกรณีท่ีไมอาจทราบลาํ ดับการ
เกิดกอนหลงั ของบุตรแฝดไดโ ดยแนชดั ใหนับลาํ ดบั บุตรแฝดตามหลกั เกณฑท่ีกระทรวงการคลงั กาํ หนด
*****มาตรา 8 ขาราชการตาํ รวจช้นั พลตํารวจซ่ึงอยูในระหวา งรับการศกึ ษาอบรมในสถาน
ศึกษาของกรมตํารวจ อนั เปนการศกึ ษาอบรมกอ นเขา ปฏบิ ัติหนาทร่ี าชการประจํา ไมม สี ทิ ธิไดร ับเงนิ สวสั ดิ
การเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาน้ี
มาตรา 9 ในกรณที ี่ผูม สี ทิ ธิไดร ับเงินสวสั ดกิ ารเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาลตามพระราช
กฤษฎกี าน้ี หรอื บุคคลในครอบครัวของผนู ้นั มสี ทิ ธิหรอื ไดรับเงินคารกั ษาพยาบาลจากหนว ยงานอ่นื แลว ผู
นั้นไมมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาน้ี เวนแตคารักษา
พยาบาลที่ไดรับนั้นตา่ํ กวาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลที่มีสิทธจิ ะไดร ับตามพระราชกฤษฎกี านี้
กใ็ หมีสทิ ธไิ ดร ับเงินสวัสดิการเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลเฉพาะสว นท่ีขาดอยู
มาตรา 10 ในกรณีทีผ่ ูมีสทิ ธิไดร บั เงนิ สวัสดิการเก่ยี วกับการรกั ษาพยาบาลตามพระราช
กฤษฎีกานี้ หรือบุคคลใดในครอบครัวของผูนั้นไดรับคาสินไหมทดแทนสําหรับคารักษาพยาบาลจากผูอื่น
แลว ผนู นั้ ไมมีสทิ ธิไดร บั เงินสวสั ดิการเกี่ยวกับการรกั ษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาน้ี เวนแตค า สินไหม
ทดแทนสําหรบั คา รักษาพยาบาล ที่ไดร ับนนั้ ตํ่ากวาเงนิ สวัสดกิ ารเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาลท่ีมีสิทธิจะ
ไดรบั ตามพระราชกฤษฎีกานี้ ก็ใหม สี ิทธิไดร ับเงินสวัสดิการเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาลเฉพาะสว นทข่ี าดอยู

ในกรณีท่ีผมู ีสิทธไิ ดร บั เงนิ สวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาลไดรับเงินสวัสดกิ ารเก่ียวกับ
การรักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกาน้ีไปกอนแลว ภายหลังไดรับคาสินไหมทดแทนสาํ หรบั คา รกั ษา
พยาบาลจากบุคคลอื่นมีจํานวนเทาหรือเกินกวาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลท่ีไดรับตามพระ
ราชกฤษฎกี าน้ี กใ็ หน าํ เงินสวัสดกิ ารเก่ียวกบั การรกั ษาพยาบาลทไ่ี ดรับไปนัน้ สง คนื แตถ า เงินคาสนิ ไหมทด
แทนทไ่ี ดร บั จากบคุ คลอน่ื ตา่ํ กวาเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการรักษาพยาบาลทไ่ี ดร บั ตามพระราชกฤษฎกี าน้ี ก็
ใหสงคืนเทา จาํ นวนทไี่ ดรับจากบุคคลอ่นื นนั้ ท้ังน้ี ใหเปนไปตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด

*******มาตรา 11 การจา ยเงนิ สวสั ดกิ ารเก่ียวกับการรักษาพยาบาลอยา งอื่น ซง่ึ มใิ ชเปน
การตรวจสขุ ภาพประจําป ใหเปนไปตามหลักเกณฑและอตั รา ดงั น้ี

********(1) ผูท เี่ ขา รบั การรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทางราชการ ท้งั
ประเภทผูปวยภายนอกหรือผูปวยภายใน ใหเบิกคารักษาพยาบาลไดเต็มจํานวนท่ีไดจายไปจริง ท้ังน้ี
กระทรวงการคลังอาจกําหนดอตั ราใหเบิกไดต่ํากวา จํานวนทไ่ี ดจ า ยไปจริงกไ็ ด

5
*******(2) ผทู ่เี ขารับการ รักษาพยาบาลประเภทผูปวยภายในจากสถาน
พยาบาลของเอกชน หรือสถานพยาบาลของเอกชนอื่นซ่ึงมิใชสถานพยาบาลของเอกชนตามพระราช
กฤษฎีกาน้ี ท้ังน้ี เฉพาะในกรณที ีผ่ ูม สี ทิ ธไิ ดรับเงินสวสั ดิการเกีย่ วกบั การรกั ษาพยาบาลหรอื บุคคลในครอบ
ครัวของผูนัน้ ประสบอบุ ตั ิเหตุ อบุ ตั ภิ ัย หรอื มคี วามจาํ เปน รีบดว น ซงึ่ หากมไิ ดรบั การรกั ษาพยาบาลในทนั ที
ทันใดอาจเปนอันตรายตอชีวิตของบุคคลดังกลาวเม่ือไดมีใบรับรองของแพทยจากสถานพยาบาลของเอก
ชนนัน้ มาประกอบ ใหเบิกคา รักษาพยาบาลได ดังน้ี

(ก) คาอวัยวะเทียมและอุปกรณในการบําบัดรักษาโรครวมทั้งคาซอม
แซม คาหองและคาอาหาร ใหเบิกไดเชนเดียวกับผทู ่ีเขารบั การรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของทาง
ราชการ

(ข) คารักษาพยาบาลอืน่ ๆ ใหเ บิกไดคร่ึงหนงึ่ ของจาํ นวนทไ่ี ดจ า ยไปจรงิ
แตจ ะตองไมเกินสามพนั บาท

******* (3) ผูทีเ่ ขารบั การรกั ษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของเอกชนในกรณีทเ่ี ปน การ
เขารับการรักษาพยาบาลเปนคร้ังคราวเพราะเหตุที่สถานพยาบาลของทางราชการมีความจาํ เปนตองสงตัว
ใหแกสถานพยาบาลของเอกชนนั้น ใหเ บิกคารกั ษาพยาบาลไดต ามหลักเกณฑและอตั ราทก่ี ระทรวงการคลัง
กาํ หนด

******มาตรา 11 ทวิ การจา ยเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกบั การตรวจสุขภาพประจาํ ป ใหเ ปน ไป
ตามหลักเกณฑแ ละอตั รา ดังนี้

(1) ผูมีสทิ ธิไดรับเงินสวัสดิการเกยี่ วกบั การตรวจสขุ ภาพประจาํ ปตองเปนขา ราช
การ ลกู จางประจํา หรือผไู ดร บั เบย้ี หวัดบาํ นาญ

*******(2) เขา รบั การตรวจสุขภาพในสถานพยาบาลของทางราชการ
******(3) คาตรวจสขุ ภาพใหเ บกิ ไดต ามทกี่ ระทรวงการคลงั กาํ หนด

**มาตรา 12 ในกรณที ่สี ถานพยาบาลตามมาตรา 11 ไมม ียา เลอื ดและสว นประกอบของ
เลอื ดหรอื สารทดแทน นาํ้ ยาหรืออาหารทางเสนเลือด ออกซเิ จน อวยั วะเทยี มและอปุ กรณใ นการบาํ บัดรักษา
โรคจาํ หนา ยหรือ ไมอาจใหก ารตรวจทางหอ งทดลอง หรือเอ็กซเรยแกผ เู ขา รับการรกั ษาพยาบาลได เมื่อ
แพทยผูตรวจรักษาหรือหัวหนาพยาบาลของสถานพยาบาลแหงน้ัน ลงลายมือช่ือรับรองตามแบบท่ี
กระทรวงการคลงั กําหนดแลว กใ็ หผเู ขารับ การรกั ษาพยาบาลซอื้ หรือรบั การตรวจทางหองทดลองหรอื
เอ็กซเรยจ ากสถานทอี่ ่ืนซ่ึงอยใู นประเทศไทยแลวนาํ มาเบิกไดต ามมาตรา 11

6
**มาตรา 12 ทวิ เมอ่ื ปรากฏวา สถานพยาบาลของเอกชนใดมีพฤติการณในทาง
ทุจริตรวมกับผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลหรือบุคคลในครอบครัวของผูน้ันในเรื่อง
การเบกิ จา ยคารกั ษาพยาบาล ตามพระราชกฤษฎกี าน้ี ใหกระทรวงการคลังมอี ํานาจแจง ชอื่ สถานพยาบาล
ของเอกชนดังกลา วใหก ระทรวง ทบวง กรมทราบเพอ่ื มใิ หเบิกจายคารักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของ
เอกชนนั้นอกี ตอไป เวน แตจะเปน กรณีตามขอยกเวน ของมาตรา 11 (2)
การแจงชื่อสถานพยาบาลของเอกชนตามวรรคหน่ึง ใหมีผลเมื่อพนกาํ หนดสามสิบวันนับ
แตว นั ทม่ี ี การแจง
การแจงชื่อสถานพยาบาลของเอกชนตามวรรคหน่ึง ไมเ ปนการตัดสทิ ธขิ องผมู สี ิทธิไดรบั
เงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาลท่ีจะเบิกคารักษาพยาบาลสําหรับตนเองหรอื บคุ คลในครอบครัวใน
การเขารับการรักษาพยาบาลประเภทผูปวยภายในจากสถานพยาบาลของเอกชนน้ันท่ีมีอยูกอนวันที่ การ
แจง มีผลโดยไดรบั การรักษาพยาบาลตอ เน่อื งกนั จนถึงวนั ทกี่ ารแจงมีผล
*****มาตรา 12 ตรี ในกรณที ี่ขา ราชการตามมาตรา 6(1) ไปมตี าํ แหนงหนา ทป่ี ระจาํ อยูใ น
ตา งประเทศ หลกั เกณฑแ ละอตั ราของเงนิ สวสั ดิการเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาลของขาราชการดงั กลา ว รวม
ท้ังคูสมรสและบุตรซึ่งไปอยูในตางประเทศกับขาราชการผูนั้น ขณะที่อยูในตางประเทศ ใหเปนไปตาม
ระเบียบทก่ี ระทรวงการคลังกําหนด
มาตรา 13 ผมู ีสิทธไิ ดร ับเงนิ สวสั ดิการเกี่ยวกับการรกั ษาพยาบาล หรือบคุ คลในครอบครวั
ของผูน้ัน หากไดเขารับการรักษาพยาบาลประเภทผูปวยภายในของสถานพยาบาลอยูกอนวันท่ีพระราช
กฤษฎีกานี้ใชบังคับ และสถานพยาบาลน้นั เรียกเก็บคา รักษาพยาบาลคาบเก่ยี วถงึ วันท่พี ระราชกฤษฎีกานี้
ใชบ งั คบั ใหไ ดร บั คา รักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎกี านี้
มาตรา 14 ผูมสี ทิ ธไิ ดร ับเงนิ สวัสดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาลสาํ หรบั บุตรผูใดมีบุตร
เกินสามคนอยูแลวกอนวันท่ีพระราชกฤษฎีกาน้ีใชบังคับ ใหมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษา
พยาบาลสาํ หรบั บุตรเหลา นั้นตอ ไปจนกวา จะหมดสทิ ธติ ามพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา 15 ใหรัฐมนตรีวา การกระทรวงการคลังรกั ษาการตามพระราชกฤษฎกี าน้ี

ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ป.ตณิ สูลานนท
นายกรัฐมนตรี

*พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดกิ ารเกย่ี วกบั การรกั ษาพยาบาล พ.ศ.2523 ประกาศในราช
กิจจานุเบกษา ฉบบั พิเศษ เลม 97 ตอนท่ี 178 วันท่ี 20 พฤศจกิ ายน 2523

**แกไ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2528 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบับพิเศษ เลม 102
ตอนท่ี 201 วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2528 และไดใ ชความใหมแทนแลว

7

***แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2532 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ฉบับพเิ ศษ เลม 106 ตอนท่ี

52 วันท่ี 1 เมษายน 2532 และไดใชค วามใหมแทนแลว

****แกไ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2533 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบบั พเิ ศษ เลม

107 ตอนท่ี

75 วันที่ 7 พฤษภาคม 2533 และไดใชค วามใหมแ ทนแลว

*****แกไ ขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 5) พ.ศ.2534 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบับพิเศษ เลม

108

ตอนที่ 195 วนั ท่ี 8 พฤศจิกายน 2534 และไดใ ชความใหมแทนแลว

******แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 6) พ.ศ.2540 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 114 ตอน

ที่ 37 ก

วันที่ 7 สงิ หาคม 2540 และไดใ ชความใหมแทนแลว

*******แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ.2541 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม 115 ตอน

ที่ 49 ก

วันท่ี 19 สิงหาคม 2541 และไดใชความใหมแ ทนแลว

********แกไ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 8) พ.ศ.2545 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม 119 ตอน

ท่ี 71 ก

วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2545 และไดใชค วามใหมแ ทนแลว