ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

สนามข่าวเสาร์-อาทิตย์ - คณะกรรมการยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศ นำคณะเดินทางไปที่ประเทศมาเลเซีย เพื่อเข้าพบกับผู้นำในส่วนต่าง ๆ เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาตลอดจนความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เพื่อมาปรับใช้ในประเทศไทย

กรมการค้าระหว่างประเทศ เปิดเผยข้อมูลการค้าและการส่งออกระหว่างประเทศไทยและมาเลเซีย ในห้วงปีที่ผ่านมา พบว่า มีตัวเลขการส่งออกมากกว่า 165,000 ล้านบาท มากกว่าปี 2563 ถึงกว่า 50,000 ล้านบาท โดยสินค้าที่ส่งออกมากที่สุด 3 อันดับ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ฯ, รองลงเป็น คือ ยางพารา และรถยนต์ หรือ ส่วนประกอบ เป็นผลมาจากความสัมพันธ์ทางการค้า และความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการในประเทศมาเลเซีย

รองศาสตราจารย์ โภคิน พลกุล ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศ พร้อมด้วย นาย จิรเดช วรเพียรกุช รองประธานคณะกรรมการฯ และคณะ จึงเดินทางไปกระชับความสัมพันธ์ทางการค้าและความมั่นคง ระหว่างไทยและมาเลเซีย ศึกษาดูความสำเร็จจากการบริหารจัดการด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พร้อมเข้าพบบุคคลสำคัญในระดับผู้นำของประเทศมาเลเซีย พร้อมพูดคุยปัญหาที่เกิดขึ้นในด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การเมือง และด้านอื่น ๆ เพื่อหาทางแก้ไข และสร้างความร่วมมือ ขยายตลาดผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑ์ของชุมชนไปยังต่างประเทศให้มากขึ้น

นอกจากนี้ ยังร่วมลงนามความร่วมมือขับเคลื่อนภาคส่วนต่าง ๆ ร่วมกันกับ ศูนย์การเรียนรู้องค์กร GISB ซึ่งเป็นกลุ่มมุสลิมองค์กรการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีฝีมือแรงงานใน 7 ภาคธุรกิจ โดยร่วมกับ 37 หน่วยงานทั่วโลก จนทำให้เกิดแรงงานมีฝีมือกว่า 5000 คนทั่วโลก สร้างความความเสมอภาคในสังคม

 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่นๆ ที่ไม่ใช่รัฐซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่างๆในโลก

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://www.unigang.com/Article/61

ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือการแลกเปลี่ยน และปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐดังที่กล่าวข้างต้นนั้น อาจมีลักษณะแตกต่างกัน ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. ความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจกระทำอย่างเป็นทางการโดยรัฐ หรือโดยตัวแทนที่ชอบธรรมของรัฐ เช่น การประชุมสุดยอด การดำเนินการทางการทูต การแถลงการณ์ประท้วง การยื่นประท้วงต่อองค์การสหประชาชาติ หรืออาจเป็นการกระทำไม่เป็นทางการ เช่น การก่อการร้าย การกระทำจารกรรม การโจมตีประเทศหนึ่งโดยสื่อมวลชนของอีกประเทศหนึ่ง ซึ่งไม่ได้กระทำการในนามของรัฐ เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. ความสัมพันธ์ในลักษณะร่วมมือหรือขัดแย้งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น หากไม่ร่วมมือก็ขัดแย้ง ความสัมพันธ์ในลักษณะขัดแย้ง เช่น สงคราม การแทรกแซงบ่อนทำลาย การขยายจักรวรรดินิยม การผนวกดินแดนของอีกประเทศหนึ่ง ส่วนความร่วมมือ ได้แก่ การกระชับ ความสัมพันธ์ทางการทูต  การร่วมเป็นพันธมิตร การให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและวัฒนธรรมเป็นต้นอย่างไรก็ตามความสัมพันธ์ต่าง ๆ นี้อาจมีลักษณะผสมผสานกันได้ เช่น บางครั้งรุนแรง บางครั้งนุ่มนวล บางครั้งเป็นทางการ บางครั้งกึ่งทางการ หรือบางครั้งร่วมมือในเรื่องหนึ่งแต่ขัดแย้งในอีกเรื่องหนึ่ง เป็นต้น

ขอบเขตของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีขอบเขตที่ครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. ความสัมพันธ์ทางการเมือง หมายถึง กิจกรรมข้ามพรมแดนเพื่อมีอิทธิพลหรือเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตลอดจนการตัดสินใจขององค์การหรือรัฐบาลต่างประเทศ เช่น การดำเนินการทางการทูต การทหาร การแสวงหาพันธมิตร การแทรกแซงบ่อนทำลายประเทศอื่น การใช้กำลังบีบบังคับ การกำหนดและดำเนินนโยบายต่างประเทศ เป็นต้น กิจกรรมบางเรื่องอาจไม่เป็นกิจกรรมการเมืองโดยตรง แต่หากมีวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้นก็ถือเป็นกิจกรรมการเมืองเช่นกัน เช่น การแลกเปลี่ยนทีมนักปิงปองระหว่างสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2514 มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองเนื่องจากประเทศทั้งสองต้องการใช้กีฬาเป็นเครื่องมือผ่อนคลายความตึงเครียด และรื้อฟื้นความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ หลังจากเป็นศัตรูกันมาตลอดกิจกรรมเช่นนี้เรียกว่า การเมืองระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ หมายถึง กิจกรรมการแลกเปลี่ยนทรัพยากรด้านบริการหรือวัตถุเพื่อตอบสนองความต้องการในการอุปโภคของผู้แลกเปลี่ยน เช่น การซื้อขายสินค้า การให้ทุนกู้ยืม การธนาคาร เป็นต้น เนื่องจากแต่ละประเทศมีทรัพยากรแตกต่างและไม่เท่าเทียมกัน และยังต้องการทรัพยากรของประเทศอื่น เช่น สหรัฐอเมริกามีทรัพยากรน้ำมัน แต่ยังต้องการรักษาน้ำมันสำรองในปัจจุบันจึงซื้อน้ำมันจากประเทศเม็กซิโก และประเทศอาหรับ ความต้องการทรัพยากรซึ่งกันและกันเช่นนี้ทำให้เกิดความสัมพันธ์เพื่อแลกเปลี่ยนทรัพยากร (วัตถุดิบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เกษตรกรรม เทคโนโลยี บริการ ฯลฯ) โดยวิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าโดยการซื้อขายให้แลกเปลี่ยนยืมก็ตาม โดยมีกฎเกณฑ์หรือแนวทางปฏิบัติบางประการทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร การปิดล้อมทางเศรษฐกิจ การตั้งกำแพงภาษี การกำหนดอัตราหุ้นและดอกเบี้ย เป็นต้น ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจเช่นนี้เรียกว่า เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
3. ความสัมพันธ์ทางสังคม  หมายถึง กิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ในการแลกเปลี่ยนทางการศึกษา การศาสนา วัฒนธรรม การพักผ่อนหย่อนใจ การท่องเที่ยว ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมข้ามขอบเขตพรมแดนของรัฐ เช่น การส่ง ทูตวัฒนธรรมหรือคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในประเทศต่าง ๆ การเผยแพร่ศาสนาโดยตัวแทนทางศาสนาของประเทศอื่น การเผยแพร่ศิลปะของประเทศหนึ่งในประเทศอื่น เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
4. ความสัมพันธ์ทางกฎหมาย เมื่อมีการแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ข้ามเขตพรมแดนของรัฐมากขึ้น เพื่อให้กิจกรรมดังกล่าวดำเนินไปโดยเรียบร้อยและมีระเบียบแบบแผน ประเทศต่าง ๆ จึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติที่แต่ละประเทศพึงยึดถือปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ขึ้นกฎเกณฑ์หรือระเบียบนี้อาจปรากฏในรูปข้อตกลงลายลักษณ์อักษร ซึ่งมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน เป็นต้นว่า สนธิสัญญา อนุสัญญา กติกาสัญญากฎบัตร 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความตกลง ฯลฯ หรืออาจเป็นความเข้าใจกันซึ่งแต่ละฝ่ายยึดถือปฏิบัติโดยไม่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ ซึ่งเรียกว่า กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ อย่างไรก็ตามกฎระเบียบที่เป็นลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีต่างเรียกว่า กฎหมายระหว่างประเทศทั้งสิ้น โดยมีวัตถุประสงค์ให้รัฐ หรือตัวแสดงอื่น ๆ ระหว่างประเทศได้ประพฤติปฏิบัติตนตามกติกาเพื่อความเข้าใจอันดีระหว่างกัน และเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคมโลก ซึ่งครอบคลุมความสัมพันธ์ด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการเมือง เช่น สนธิสัญญาทางพันธมิตร สนธิสัญญาทางไมตรี กฎบัตร สหประชาชาติ ด้านเศรษฐกิจ เช่น สนธิสัญญาจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศ ข้อตกลงเรื่องการค้าและพิกัดภาษีด้านสังคม เช่น สิทธิมนุษยชน  การแลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรม ด้านเทคโนโลยี เช่น ความตกลงเรื่องการค้นคว้าในอวกาศ เป็นต้น
            5. ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ประเภทนี้มุ่งให้มีการแลกเปลี่ยนพัฒนาความรู้และความช่วยเหลือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น มีการร่วมมือกันค้นคว้าทดลองและวิจัยในบริเวณทวีปแอนตาร์กติกา การร่วมมือกันระหว่างนักวิทยาศาสตร์หลายประเทศ เพื่อกำจัดโรคภัยไข้เจ็บสำคัญ เช่น โรคมะเร็ง การร่วมมือกันส่งเสริมพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การให้รางวัลระหว่างประเทศ จัดการประชุมสัมมนาระหว่างประเทศ เป็นต้น

ผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่มีต่อด้านต่าง ๆ ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. ผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อสังคมโลก รัฐ ประชาชนและผู้นำของประเทศความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจะมีมากน้อยเพียงใดนั้น อาจพิจารณาได้ว่าความสัมพันธ์ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1.1 ด้านสังคมโลก ปัจจุบันสังคมโลกเป็นที่รวมของกลุ่มสังคมที่เรียกว่า รัฐ มีระบบและกระบวนการดำเนินความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เช่น ระบบการเมืองระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างชาติมหาอำนาจมีผลกระทบกระเทือนความสัมพันธ์ทางการเมืองของมหาอำนาจอื่น และกลุ่มประเทศอื่น ๆ ด้วยตัวอย่างเช่น การที่จีนแยกตัวจากสหภาพโซเวียตและดำเนินนโยบายทางการเมืองที่เป็นอิสระ และต่อมาได้คบค้าทำไมตรีกับสหรัฐอเมริกาย่อมมีผลทำให้โลกซึ่งเคยถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม มีสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเป็นผู้นำได้เปลี่ยนแปลงไปในส่วนที่เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจก็เช่นกัน เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำขึ้น โดยเริ่มต้นจากกลุ่มประเทศยุโรป ก็มีผลให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก หรือเมื่อค่าของเงินสกุลใหญ่ ๆ เช่น เงินดอลลาร์ตก ก็มีผลกระทบกระเทือนเศรษฐกิจของโลกตามไปด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1.2 ด้านรัฐ นอกเหนือจากผลของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งกระทบต่อสังคมโลกและสะท้อนถึงรัฐแต่ละรัฐแล้ว รัฐยังเป็นผู้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและสัมพันธ์กับตนโดยตรงอีกด้วย ตัวอย่างเช่น การตัดสินใจดำเนินนโยบายต่างประเทศของอภิมหาอำนาจย่อมมีผลต่อการตัดสินใจของรัฐที่สังกัดกลุ่มของอภิมหาอำนาจนั้น ดังกรณีที่ประเทศพันธมิตรของสหภาพโซเวียตหลายประเทศตัดสินใจไม่เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่สหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1984 หลังจากที่สหภาพโซเวียตประกาศไม่เข้าร่วมแข่งขันกีฬาดังกล่าว ผลต่อรัฐนี้โดยทั่วไปจะเกิดมากในสถานการณ์ซึ่งรัฐอยู่ร่วมในสมาคม กลุ่มโอลิมปิก หรือในสถานการณ์ซึ่งรัฐอยู่ใกล้เหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบอาณาบริเวณใกล้เคียง ดังกรณีที่ประเทศไทยได้รับผลจากการสู้รบในกัมพูชา จนต้องแบกภาระผู้ลี้ภัยจากอินโดจีนจำนวนมาก และได้รับภัยจากการรุกล้ำดินแดนของฝ่ายเวียดนาม เป็นต้น ผลที่เกิดต่อรัฐอาจเป็นได้ทั้งในแง่ความมั่นคง ระบบโครงสร้างและกระบวนการทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมภายในรัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1.3 ด้านประชาชน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งกระทบกระเทือนรัฐย่อมมีผลต่อประชาชนด้วย ผลดังกล่าวนี้ย่อมมีแตกต่างกันไป คือ อาจกระทบคนบางกลุ่มบางเหล่า หรือกระทบประชาชนโดยส่วนรวมทั้งโดยทางตรง หรือโดยทางอ้อมก็ได้ ตัวอย่างกรณีสงครามในกัมพูชานั้น ประชาชนไทยที่ได้รับความกระทบกระเทือนก็คือ พวกที่อยู่ตามบริเวณชายแดนไทยกัมพูชา เช่น ในจังหวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ ส่วนประชาชนที่อยู่ห่างไกลออกไปได้รับผลน้อยลง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1.4 ด้านผู้นำของประเทศ การเปลี่ยนแปลงภายนอกประเทศ หรือเหตุการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจมีผลต่อภาวะผู้นำภายในประเทศด้วย และอาจมีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลที่ปกครองประเทศก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณีที่มีการแทรกแซงจากต่างประเทศ ดังตัวอย่างกรณีที่นาย โงดินห์ เดียม ต้องถูกโค่นล้มอำนาจและถูกสังหาร เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเลิกให้ความสนับสนุน หรือกรณีที่มีการตั้งรัฐบาลหุ่นและผู้นำหุ่นโดยประเทศผู้รุกราน (เช่น รัฐบาลหุ่นในแมนจูเรียสมัยที่ญี่ปุ่นเข้ารุกรานก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 หรือรัฐบาลกัมพูชาของนายเฮง สัมริน เป็นต้น)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. ลักษณะของผลที่เกิดขึ้นต่อบุคคลและกลุ่มสังคมทั้งภายในและระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีความสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์และสังคมมนุษย์ ในหลายลักษณะ ดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2.1 ด้านความมั่นคงของชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยเฉพาะทางด้านการเมืองและการทหาร ส่งผลถึงความมั่นคงปลอดภัย เอกราชและอำนาจอธิปไตยของชาติตลอดจนเสถียรภาพทางการเมืองและบูรณภาพแห่งดินแดนของแต่ละชาติ ดังจะเห็นได้ว่าสงครามระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นรูปหนึ่งของความสัมพันธ์ที่เกิดข้ามเขตพรมแดนของรัฐ การแทรกแซงบ่อนทำลายโดยบุคคล หรือกลุ่มบุคคลซึ่งได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศ ตลอดจนการใช้หรือการข่มขู่คุกคามว่าจะใช้กำลังโดยยังไม่ถึงขั้นสงคราม ล้วนเป็นเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนความมั่นคงของชาติทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น การผนวกดินแดน แลตเวีย ลิทัวเนีย และเอสโธเนีย โดยสหภาพโซเวียตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หรือการที่ รัฐซิมบับเว ถูกแทรกแซงโดยประเทศแอฟริกาใต้ เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2.2 ด้านความปลอดภัยและการกินดีอยู่ดีของประชาชน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจมีผลทั้งโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมต่อความปลอดภัย และชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในแต่ละประเทศ กล่าวคือ นอกเหนือจากผลต่อความมั่นคงของประเทศซึ่งย่อมกระทบกระเทือนชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนอยู่แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยังอาจกระทบต่อความปลอดภัย และการกินดีอยู่ดีของประชาชนโดยยังไม่กระทบความมั่นคงของประเทศโดยตรงก็ได้ ตัวอย่างเช่น กรณีที่สายการบินเกาหลีใต้ถูกเครื่องบินสหภาพโซเวียต
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ยิงตก หรือกรณีที่ผู้ก่อการร้ายกระทำการรุนแรงในประเทศอื่น จนมีผลให้ประชาชนได้รับอันตราย เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2.3 ด้านการพัฒนา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอาจมีผลต่อความพยายามของรัฐและประชาชนในการเปลี่ยนแปลงฐานะทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคนิควิทยาการของตนด้วย การเปลี่ยนแปลงฐานะดังกล่าวนี้ คือ การพัฒนานั่นเอง การพัฒนาการเมืองมุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการเมืองไปสู่ระบบการเมืองที่มีเสถียรภาพ เปลี่ยนไปโดยสันติ และรองรับการกระทบกระเทือนจากภายนอกได้ด้วยดี การพัฒนาทางเศรษฐกิจมุ่งให้มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตและแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลประโยชน์ตอบแทนต่อประชาชนและรัฐได้ดีขึ้น การพัฒนาทางสังคมมุ่งให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และความสัมพันธ์ทางสังคมในประเทศเป็นไปอย่างราบรื่น ปราศจากการขัดแย้งรุนแรง และการพัฒนาทางเทคนิควิทยาการมุ่งให้มีการยกระดับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ความพยายามให้เกิดการพัฒนานี้ส่วนหนึ่งได้รับผลจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
จะเห็นได้ว่า การพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ในปัจจุบันนี้โดยเฉพาะใน ประเทศที่กำลังพัฒนา  ทั้งหลาย ล้วนได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมทางการเมืองและเศรษฐกิจภายนอกประเทศ รวมทั้งนโยบายต่างประเทศของประเทศที่มีฐานะดีทางเศรษฐกิจและการทหาร ตัวอย่างเช่น หน่วยงานขององค์การสหประชาชาติและประเทศที่มีฐานะดีมีส่วนในการช่วยเหลือบูรณะพัฒนาประเทศที่ยากจน และกำลังพัฒนาทั้งหลาย เช่นโดยการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน การลงทุน การให้คำปรึกษาหารือทางวิชาการหรือการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรสำคัญในประเทศเหล่านี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
โดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีผลต่อความสงบเรียบร้อย การกินดีอยู่ดีและการพัฒนาของประชาชน รัฐ และสังคมโลกทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจึงนับว่ามีความสำคัญ มีคุณค่าควรแก่การสนใจติดตามทำความเข้าใจทั้งโดยนักวิชาการ ผู้กำหนดนโยบายและประชาชนโดยทั่วไป

การดำเนินด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ประเทศไทยได้มีการร่วมมือแลกเปลี่ยนและสร้างความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศต่างๆทั่วโลก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการประสานประโยชน์ร่วมกันและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในรูปแบบต่างๆ เช่นการจัดตั้งองค์กรระหว่างประเทศ เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การด้านความร่วมมือต่างๆเป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://www.ais5.org/krusopit/civilian%20functions%20page/UN.php

องค์การสหประชาชาติ (The United Nation:UN)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

วัตถุประสงค์หลักที่สำคัญ มีดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. เพื่อรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่างประชาชาติ โดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิอันชอบธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
3. เพื่อให้บรรลุความร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม มนุษยธรรม และส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย์ โดยไม่เลือกปฏิบัติในเรื่อง เชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
4. เพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับการประสานงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกันในอันที่จะบรรลุจุดหมายปลายทางร่วมกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
บทบาทสำคัญของสหประชาชาติ เช่นการรักษาสันติภาพ ส่งเสริมประชาธิปไตย
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน พัฒนาความสัมพันธ์ทางการค้าระดับโลก ให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา อนุรักษ์และบูรณะสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมเป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://www.surin.rmuti.ac.th/surin/asean/temp.php

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์ที่สำคัญของอาเซียน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
เพื่อเร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรมของภูมิภาค ส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาคตามหลักการสหประชาชาติ ส่งเสริม ร่วมมือ และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในเรื่องผลประโยชนทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ การบริหารอย่างจริงจัง

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://afta2011.blogspot.com/

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์ของ อาฟตา  เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนขยายตัวเร็วขึ้น มีอัตราภาษีต่ำเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศสู่ภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทางการค้าของโลกที่เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของไทย เพราะทำให้ไทยมีตลาดการค้าเพิ่มขึ้น

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
เอเปกมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นเวทีสำหรับให้สมาชิกปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกันทางด้านเศรษฐกิจ เพื่อส่งเสริมให้การค้าการลงทุนเป็นไปอย่างเสรีและขจัดอุปสรรคทางการค้าต่างๆ การเป็นสมาชิกของเอเปก ทำให้ไทยมีโอกาสขยายการค้าและการลงทุนในกลุ่มประเทศสมาชิกซึ่งเป็นตลาดใหญ่มากยิ่งขึ้น

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/องค์การการค้าโลก

            องค์การค้าโลก (World Trade Organization: WTO)

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ทำหน้าที่กำหนดกฎ กติกาการค้าระหว่างประเทศ เป็นเวทีสำหรับใช้เจราจาลดอุปสรรคและข้อกีดกันทางการค้า เพื่อส่งเสริมให้การค้าระหว่างประเทศเป็นไปโดยเสรีมากขึ้น โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแข่งขันที่เสรีและเป็นธรรมตามหลักการไม่เลือกปฏิบัติ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การที่ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การค้าโลกมีข้อดี คือ ทำให้สินค้าสำคัญของไทย โดยเฉพาะสินค้าทางเกษตร อาหารแปรรูป สิ่งทอและเสื้อผ้า ถูกกีดกันทางการค้าน้อยลง การคิดอัตราภาษีนำเข้า ในแต่ละประเทศเป็นระบบเดียวกัน และในขณะเดียวกันประเทศไทยก็ต้องเปิดเสรีกับประเทศอื่นๆ ได้ส่งสินค้าเข้ามาในประเทศเช่นกัน รวมทั้งไทยต้องปรับปรุงมาตรฐานการผลิตสินค้าและบริการให้เป็นไปตามหลักสากลมากขึ้น เช่นสินค้าต้องไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่มีสารเคมีเจือปน ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
  การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอย่างเป็นธรรม โดยเฉพาะในหมวดที่ 3 ว่าด้วยเรื่องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทยตามมาตรา 83(3) และหมวดที่ 12 ว่าด้วยเรื่องการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
อำนาจรัฐโดยทั่วไปหมายถึง อำนาจที่บุคคลที่ดำรงตำแหน่งหน้าที่ตามกฎหมายสามารถกระทำหรือสั่งการให้กระทำหรืองดเว้นการกระทำใดๆ ได้ ตามที่กฎหมายกำหนด
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การใช้อำนาจรัฐจำเป็นต้องมีกลไกคอยตรวจสอบ เพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำที่ทำให้ประชาชนสูญเสียหรือไม่ได้รับผลประโยชน์ที่ควรได้ ทั้งนั้นเพื่อรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติที่สำคัญ ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ เพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามมิให้ผู้ใช้อำนาจนั้นกระทำการ โดยทุจริตและมิชอบ โดยแบ่งการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://tontpd.freehomepage.com/page/w18.php

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การตรวจสอบอำนาจรัฐโดยองค์กรอิสระ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
องค์การอิสระตามรัฐธรรมนูญที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ได้แก่ ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1315999797&grpid=no&catid=no

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนนำความร้องทุกข์ที่ตนได้รับความไม่เป็นธรรมจากาการกระทำของเจ้าหน้าที่รัฐ ที่เป็นผู้ใช้อำนาจรัฐมาร้องเรียนได้ ไม่ว่าการกระทำนั้นจะเป็นการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่โดยชอบหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ตาม หากการกระทำนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ชอบธรรม ผู้ตรวจราชการแผ่นดินมีหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบและเสนอให้แก้ไข โดยทำการเสนอไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบ แต่หากหน่วยงานนั้นไม่ปฏิบัติ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ก็ไม่มีอำนาจสั่งการใดๆ นอกจากมีอำนาจในการทำรายงานเสนอต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่ควบคุมกำกับดูแลหน่วยงานที่ใช้อำนาจรัฐนั้น และทำรายงานต่อไปยัง รัฐสภา  และพิมพ์เผยแพร่ให้สาธารณชนทราบ โดยประชาชนที่ได้รับความทุกข์หรือการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงานผู้ตรวจราชการแผ่นดิน หรือโทรศัพท์ไปที่ สายด่วน 1676
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ตรวจราชการแผ่นดินมีหน้าที่ในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐดังนี้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. พิจารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามคำเรียกร้องของบุคคล หรือคณะบุคคลในกรณีที่บุคลากรของรัฐไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย รวมทั้งตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตามรัฐธรรมนูญและองค์กรตามกระบวนการยุติธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. ดำเนินเกี่ยวกับจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
3. ติดตาม ประเมินผล และจัดทำข้อเสนอแนะในการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
รวมทั้งข้อพิจารณาเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นว่าจำเป็น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
4. รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาในทุกๆปี

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยทำหน้าที่เป็นกลไกหลักในการป้องกัน ตรวจสอบ และปราบปรามการทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ ทั้งนี้หากประชาชนพบเห็นหรือมีเบาะแสการทุจริต หรือกระทำผิดในเรื่องของการใช้อำนาจรัฐของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ระดับสูงของรัฐ สามารถร้องเรียนได้ที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ หรือโทรศัพท์สายด่วน 1784
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นเสนอต่อวุฒิสภา เพื่อให้วุฒิสภามีมติถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐออกเจ้าตำแหน่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นส่งไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงทางการเมืองเกี่ยวกับคดีอาญา กับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
3. ไต่สวนและวินิจฉัยเจ้าหน้าที่ของรัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำการผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่ กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือหน้าที่ในการยุติธรรม ดำเนินการต่อไป ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
4. ตรวจสอบความถูกต้องและมีอยู่จริงรวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สิน และหนี้สินของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐตามบัญชีและเอกสารประกอบที่ได้ยื่นไว้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
5. กำกับดูแลคุณธรรมและจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
6. รายงานผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติหน้าที่ พร้อมทั้งข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี สภาผู้แทนราษฎร และ วุฒิสภา ทุกปี
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
7. ดำเนินการอื่นๆตามที่กฎหมายกำหนด

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ที่มา : http://www.oag.go.th/News/OrderOAG/Order08.jsp

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน(ค.ต.ง.) มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งหมายถึงการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน หรือเรียกว่างบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลเป็นผู้จ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณในแต่ละปีผ่านส่วนราชการต่างๆ ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐอื่นๆว่า ได้ใช้จ่ายไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบทางการเงินที่มีอยู่หรือไม่ ตลอดจนตรวจสอบความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพในการจ่ายเงินอีกด้านหนึ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางนโยบาย การให้คำปรึกษาและคำแนะนำให้การแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาในเรื่องวินัยทางงบประมาณและการคลัง การกำหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณาวินิจฉัยความผิดทางงบประมาณและการคลังในฐานะที่เป็นองค์กรสูงสุด การพิจารณาเลือกผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินและอำนาจอื่นๆตามกฎหมาย

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
 การตรวจสอบอำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในหมวด 12 ประกอบด้วย การแสดงบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง   การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
1. บัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สิน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
บัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินเป็นมาตรการสำคัญประการหนึ่งในการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ระดับสูง ทั้งนี้เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และระมัดระวังในการใช้อำนาจหน้าที่ไม่ให้เกิดการคอร์รัปชัน
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมืองอื่นๆ(เช่นที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี) ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น
            เจ้าหน้าที่ของรัฐระดับสูง ได้แก่ ประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด กรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจราชการแผ่นดิน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน รองประธานศาลฎีกา รองประธานศาลปกครองสูงสุด หัวหน้าศาลตุลาการรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาในศาลฎีกา ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด รองอัยการสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่งระดับอื่นๆตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
บุคคลดังกล่าวข้างตนนี้ รัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มีหน้าที่ยื่นบัญชีรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการป้องกันและปรามปราบการทุจริตแห่งชาติทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งหรือพ้นตำแหน่ง
2. การกระทำที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้ระบุว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ต้องไม่ดำรงตำแหน่งใดๆ ในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ  หรือข้าราชการส่วนท้องถิ่น ตลอดจนจะต้องไม่ใช้สถานะหรือตำแหน่งทางการเมืองเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อผลประโยชน์ของตน หรือพรรคการเมือง ไม่ว่าจะโดยตรงหรือทางอ้อม เพื่อเป็นการป้องกันมิให้ผู้ดำรงตำแหน่งเหล่านี้มีผลประโยชน์ทับซ้อนทางการเมือง เป็นการทำให้การเมืองโปร่งใสมากขึ้น
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ทั้งนี้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ หรือส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่ากระทำผิดต่อหน้าที่ราชการ หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง วุฒิสภามีอำนาจจะถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้
3. การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งเป็นวิธีการหนึ่งในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ โดยจะตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงว่า สมควรที่จะดำรงตำแหน่งต่อไปหรือไม่หากบุคคลดังกล่าวมีพฤติกรรม ร่ำรวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าที่ หรือส่อว่ากระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือส่อว่ากระทำผิดต่อหน้าที่ราชการ หรือส่อว่าจงใจใช้อำนาจที่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง วุฒิสภามีอำนาจจะถอดถอนผู้นั้นออกจากตำแหน่งได้
            ผู้มีสิทธิเข้าชื่อให้ดำเนินการถอดถอนออกจากตำแหน่ง มีดังนี้
            1. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
            2. สมาชิกวุฒิสภา เข้าชื่อกันไปน้อยกว่า 1 ใน 4 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสมาชิก
            3. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อกันไม่น้อยกว่า 20,000 คน
ขั้นตอนการดำเนินการถอดถอน
            เมื่อได้รับคำร้องแล้ว ประธานวุฒิสภาส่งเรื่องให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดำเนินการไต่สวน หลังจากที่ไต่สวนเสร็จแล้วให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติลงมติข้อกล่าวหาว่ามีมูลหรือไม่ หากมีมูลประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติจะส่งรายงาน และเอกสารที่มีอยู่พร้อมความเห็นไปยังประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภาประชุมพิจารณาคดีดังกล่าว จากนั้นสมาชิกวุฒิสภาจะทำการลงคะแนนลับ ซึ่งมติที่ใช้ในการถอดถอนให้ถือเอาคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ที่ถูกถอดถอน จะถูกตัดสิทธิในการดำรงตำแหน่งทางการเมือง 5 ปี นับจากวันที่วุฒิสภามีมติถอดถอน
การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐโดยใช้มาตรการการดำเนินคดีอาญา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
กับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองนั้น กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. บุคคลที่ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรงได้แก่ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และข้าราชการการเมืองอื่นๆ รวมทั้งผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายกำหนดในเฉพาะกรณีที่มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. บุคคลที่ไม่ใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยตรง ได้แก่ บุคคลธรรมดา ซึ่งเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุนในการกระทำผิดอาญา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
3. กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ข้อกล่าวหา

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. ร่ำรวยผิดปกติ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. กระทำผิดต้อหน้าที่ราชการตามประมวลกำหมายอาญา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
3. กระทำผิดต่อตำแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกำหมายอื่น

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การดำเนินการฟ้องร้อง

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
1. ผู้เสียหายในความผิดดังกล่าว ยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
2. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนพร้อมทั้งทำความเห็นส่งไปยังศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การพิจารณาคดีของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จะยึดถือสำนวนของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติเป็นหลัก แต่อาจไต่สวนข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร และมีอำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลมาให้ถอยคำตลอดจนขอให้ศาลอื่น พนักงานสอบสวน หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการท้องถิ่นดำเนินการเพื่อผลประโยชน์แห่งการพิจารณา

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ
การพิพากษาให้ถือเสียงข้างมากขององค์คณะโดยจะต้องเปิดเผยคำสั่งและคำพิพากษา และคำสั่งหรือคำพิพากษาจะถือว่าเป็นที่สุด ไม่มีการอุทธรณ์ใดๆ อีก

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับมาเลเซีย ด้านเศรษฐกิจ