หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

๕. เตรียมพูดรายงาน  โดยการเสนอเรื่องตามลำดับ  และเลือกพูดรายละเอียดสำคัญที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อผู้ฟัง  โดยใช้ภาษาสุภาพ  ใช้สื่อประกอบการพูด  และอาจจบลงด้วยการสรุป  เนื้อเรื่องหรือเสนอข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากการศึกษาค้นคว้า

ตามมติที่ประชุม อปสข.เขต 12 ครั้ง /2565 วันที่ตุลาคม 2565 ให้จัดสรรเงินแก่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จำนวน 524 แห่ง วงเงิน 191,953,305 บาท ซึ่งมีเงินคงเหลือไม่เกิน 1.5 เท่าของรายรับ (หมายเหตุ ปรับเกณฑ์การประกาศฯ ฉ.4 ซึ่งกำหนดเหลือไม่เกิน 1 เท่า) และกองทุนจะต้องจัดทำและอนุมัติแผนการเง

  • หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา สปสช.เขต 12 สงขลา จัดประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ณ โรงแรมเซาเทิร์นวิว ปัตตานี

  • หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา สปสช.เขต 12 สงขลา จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ณ โรงแรมยะลารามามีการเสนอผลงานกองทุนสุขภาพตำบล จ.ยะลา ปี 65 โดย คุณวันดี แสงเจริญ

  • หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    จังหวัดวันที่สถานที่ประชุมลงทะเบียนหมายเหตุ (ตรวจสอบรายชื่อ)นราธิวาสวันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00-16.30น. โรงแรมตันหยง อ.เมือง จังหวัดนราธิวาสลงทะเบียน

  • หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    ตามที่ สปสช.เขต 12 สงขลา จัดประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารกองทุน ปี 66 เมื่อวันที่ กันยายน ที่ผ่านมาเอกสารประกอบการประชุมชี้แจง แนวทางการดำเนินงานกองทุน กปท. ปี 25661.ผลงานดำเนินงานกองทุนฯ ปี 65 และแนวทางบริหารกองทุน ปี 66โดย คุณวันดี แสงเจริญ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพวีดีโอบรรยายของ คุณวั

  • หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ออกประกาศแนวทางการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับ ท้องถิ่นหรือพื้นที่ (กปท.) ในปีงบประมาณ 2566 โดยมีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดแนวทางการบริหารกองทุนบางส่วน ซึ่งสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ได้ส่งหนังสือแจ้งเตรียมความพร้อมการดําเนินงานกองทุน ปีงบป

    คนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวแล้ว ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกิน 90 วัน   คนต่างด้าวผู้นั้นมีหน้าที่ต้องรายงานตัวแจ้งที่พักอาศัยต่อพนักงานสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ทุก90 วัน หากท้องที่ใดมีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่จะแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการแห่งนั้น ก็ได้ ทั้งนี้ เป็นไปตาม มาตรา 37(5) แห่ง พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522

    วิธีการแจ้ง

    1.  คนต่างด้าวแจ้งด้วยตนเอง

    2. คนต่างด้าวมอบหมายให้ผู้อื่นนำหนังสือไปแจ้ง

    3. คนต่างด้าวอาจมีหนังสือแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน

    4. คนต่างด้าวแจ้งผ่านระบบออนไลน์

    หมายเหตุ **คนต่างด้าวสามารถแจ้งที่พักอาศัยได้ ก่อน 15 วันหรือหลัง 7 วัน นับจากวันครบกำหนด หากเกินกำหนดนัด หรือเกินกำหนดที่จะต้องแจ้งคนต่างด้าวต้องมารายงานตัวด้วยตนเองเพื่อดำเนินการเปรียบเทียบปรับ

    **กรณีที่เกินกำหนดการแจ้งที่พักอาศัยฯ คนต่างด้าวที่มารายงานตัว จะถูกดำเนินการเปรียบเทียบปรับ 2,000 บาท

    **กรณีคนต่างด้าวเดินทางออกนอกประเทศก่อนครบกำหนดนัดครั้งต่อไป เมื่อเดินทางกลับเข้ามาในราชอาณาจักรแล้ว ให้มารายงานตัวแจ้งที่พักอาศัยครั้งต่อไป เมื่อครบกำหนด 90 วัน นับแต่วันเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร ครั้งสุดท้าย

    เอกสารประกอบคำร้อง กรณียื่นด้วยตนเอง

    1.  หนังสือเดินทาง (Passport)
    2. บัตร ตม.6 ขาออก (TM.6) ดูตัวอย่างบัตร ตม.6
    3. ใบรับแจ้งการอยู่เกิน 90 วัน (กรณีที่มีการแจ้งอยู่เกิน 90 วันมาแล้ว) ดูตัวอย่างใบรับแจ้ง
    4. กรอกรายละเอียดใน แบบฟอร์ม ตม. 47 พร้อมลงลายมือชื่อให้เรียบร้อย ดูตัวอย่าง

    สถานที่รับแจ้ง

    1. กรณีคนต่างด้าวพักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร แจ้งด้วยตนเองหรือมอบหมายให้ผู้อื่นนำหนังสือไปแจ้งแทนที่ งานรับแจ้งที่พักอาศัย ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารบี (ชั้น 2 ด้านทิศใต้) ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร  (คลิกดูสถานที่ตั้ง)

    หมายเหตุ ที่อยู่สำหรับจัดส่ง กรณีแจ้งทางไปรษณีย์ กรณาส่งไปที่
    งานรับแจ้งที่พักอาศัย (รายงานตัว 90 วัน) กองกำกับการ 2 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารบี เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย 7 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

    หรือ

    90 Days Report Section
    Immigration Division 1 , Immigration Bureau,
    Chalermprakiat Government Complex B Building
    120 Moo 3 , Chaengwattana Rd., Soi 7, Toongsonghong, Laksi, Bangkok. 10210
    (คลิกดูสถานที่ตั้ง)

    2. ศูนย์บริการวีซ่าและใบอนุญาตทำงาน กองกำกับการ 3 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 อาคารจัตุรัสจามจุรีสแควร์ ชั้น 18 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ สำหรับคนต่างด้าวที่ทำงานในนิติบคุคลซึ่งมีทุนจดทะเบียนไม่ต่ำกว่า 30 ล้านบาท  (คลิกดูสถานที่ตั้ง)

    3. ศูนย์บริการแรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาว และกัมพูชา ในเขตกรุงเทพมหานคร สำหรับแรงงานต่างด้าวสัญชาติเมียนมา ลาวและกัมพูชา ที่อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร (คลิกดูสถานที่ตั้ง)

    4. สำหรับต่างจังหวัด แจ้งที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองทุกแห่ง ตามเขตพื้นที่ที่คนต่างด้าวพักอาศัย

    การปฏิบัติเมื่อแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน

    1. สำเนาหนังสือเดินทางหน้ารูปถ่าย , วันเดินทางเข้าประเทศครั้งสุดท้าย และการอนุญาตให้อยู่ในประเทศไทยครั้งล่าสุด

    2. สำเนาบัตร ตม.6 ขาออก หน้า-หลัง (TM.6) ดูตัวอย่างบัตร ตม.6

    3. ใบรับแจ้งการอยู่เกิน 90 วัน (กรณีที่มีการแจ้งอยู่เกิน90 วันมาแล้ว) ดูตัวอย่างใบรับแจ้ง

    4. กรอกรายละเอียดใน แบบฟอร์ม ตม. 47 พร้อมลงลายมือชื่อให้เรียบร้อย ดูตัวอย่าง

    5. ซองจดหมายพร้อมติดแสตมป์ 10 บาท จ่าหน้าซองถึงคนต่างด้าว เพื่อพนักงานเจ้าหน้าที่จะได้จัดส่งใบนัดส่วนล่างของแบบ ตม.47 เมื่อรับแจ้งอยู่เกิน 90 วัน แล้ว พร้อมแบบ ตม.47 เพื่อใช้แจ้งอยู่เกิน 90 วันในครั้งต่อไป

    6. นำเอกสารตามข้อ 1-5 ใส่ซองและจัดส่งโดยไปรษณีย์ลงทะเบียน ก่อนวันครบกำหนดการแจ้ง(ตามใบนัด) 15 วัน ทั้งนี้คนต่างด้าวจะต้องเก็บหลักฐานการลงทะเบียนไว้ โดยจ่าหน้าซองมาที่ ด่านตรวจคนเข้าเมือง ตามเขตพื้นที่ที่คนต่างด้าวพักอาศัย

    หมายเหตุ

    การรับแจ้งที่พักอาศัย กรณีคนต่างด้วอยู่เกิน 90 วัน มิใช่ เป็นการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร
    คนต่างด้าวผู้ใดอยู่เกินกว่า 90 วัน ไม่แจ้งที่พักอาศัยต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือแจ้งช้ากว่าที่กำหนด ต้องมารายงานตัวด้วยตนเอง และเสียค่าปรับ จำนวน 2000 บาท หรือคนต่างด้าวถูกจับกุมตัวมาไม่ว่ากรณีใดๆ ต้องเสียค่าปรับ จำนวน 5,000 บาท
    เมื่อคนต่างด้าวเดินทางออกนอกราชอาณาจักร เมื่อเดินทางกลับมาให้เริ่มนับเวลา 90 วันใหม่ทุกกรณี

    Close

    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    ×

    การรับแจ้งที่พักอาศัย (Notifications of residence for foreigners)

    ทางเว็บไซต์<-Click!

    หรือ

    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแจ้งที่พักคนต่างด้าว…

    การแจ้งที่พักคนต่างด้าว สำหรับสถานประกอบการ

    การแจ้งที่พักของคนต่างด้าว ตาม พระราชบัญญัติ คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 38 ได้กำหนดไว้ว่า “เจ้าบ้าน เจ้าของบ้านหรือผู้ครอบครองเคหสถาน หรือผู้จัดการโรงแรมซึ่งรับคนต่างด้าวซึ่งได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว เข้าพักอาศัย จะต้องแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองซึ่งตั้งอยู่ในท้องที่ เคหสถาน หรือโรงแรมนั้นอยู่ ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่คนต่างด้าวเข้าพักอาศัย ถ้าท้องที่ใดไม่มีที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่ ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานตำรวจ ณ สถานีตำรวจในท้องที่นั้นในกรณีที่บ้าน เคหสถาน หรือโรงแรมที่คนต่างด้าวเข้าพักอาศัย ตามวรรคหนึ่งตั้งอยู่ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ กองตรวจคนเข้าเมือง การแจ้งตามวรรคหนึ่งและวรรคสองให้เป็นไปตามระเบียบที่อธิบดีกำหนด”

    ในการแจ้งที่พักคนต่างด้าวที่เข้าพักอาศัยในเคหะสถานซึ่งได้แก่ โรงแรมที่ได้รับอนุญาตตาม พระราชบัญญัติโรงแรมฯและเกสเฮ้าส์ แมนชั่น อพาร์ตเม้นท์ สถานประกอบการหรือบ้านเช่าทั่วๆไป ให้เจ้าของเคหสถานดังกล่าว เจ้าของบ้านเช่า หรือผู้ประกอบการแจ้งตามแบบ ตม. 30

    กรณีที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้แจ้งที่ กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย 7 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210

    กรณีที่ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ต่างจังหวัด ให้แจ้ง ณ ที่ทำการตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดในเขตพื้นที่ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินการแจ้งที่พักของคนต่างด้าวตาม มาตรา 38ฯ ดังกล่าวนั้น สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองได้กำหนดรูปแบบและวิธีให้บริการเพื่อผู้มาขอรับบริการได้เลือกวิธีการที่เหมาะสมสำหรับการดำเนินการดังนี้

    • นำเอกสารมาแจ้งด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้ผุ้อื่นนำเอกสารมาแจ้ง หรือ
    • แจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน หรือ
    • แจ้งทางระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต(Internet)

    วิธีการแจ้ง

    วิธีที่ 1 นำเอกสารมาแจ้งด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้ผู้อื่นนำเอกสารมาแจ้ง
    นำเอกสารมาแจ้งด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้ผู้อื่นนำเอกสารมาแจ้ง ที่ช่องบริการแจ้งที่พักอาศัย (ตม.30) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ (ตามวันและเวลาราชการ)

    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้
     
    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    วิธีที่ 2 แจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
    1. กรอกแบบฟอร์มการแจ้ง พร้อมลงชื่อผู้แจ้งให้เรียบร้อย
    2. ซองจดหมายขนาด 6.5 x 9 นิ้ว พร้อมติดแสตมป์ 10 บาท จ่าหน้าซองถึงตัวท่านเอง เพื่อส่งใบรับแจ้งของเจ้าหน้าที่คืน
    3. นำเอกสารข้อ 1-2 ใส่ซองลงทะเบียน (เก็บใบลงทะเบียนไว้เป็นหลักฐาน) ส่งตามที่อยู่ ดังนี้

    งานแจ้งที่พักอาศัยบุคคลต่างด้าว
    กองกำกับการ 2 กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 1 สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
    ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
    เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย 7 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210

    วิธีที่ 3 แจ้งทางอินเตอร์เน็ต (Internet)
    1. ลงทะเบียนขอใช้บริการแจ้งที่พักอาศัยทางระบบอินเตอร์เน็ตที่ www.immigration.go.th ในหน้าต่าง การแจ้งที่พักอาศัย เมื่อเจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบและอนุมัติแล้ว จะแจ้งรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับเข้าใช้ระบบไปยัง e-mail ที่ลงทะเบียน
    2. สามารถ Download แบบขอใช้บริการแจ้งที่พักอาศัยทางอินเตอร์เน็ตได้ที่ www.immigration.go.th
    3. สามารถ Download คู่มือการแจ้งที่พักอาศัยทางอินเตอร์เน็ตและแบบ ตม.30 ในหน้า login เข้าระบบ

    หรือกดดูขั้นตอนการเข้าระบบแจ้งที่พัก

    ** เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับสถานประกอบการ สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ได้พัฒนาระบบแจ้งที่พักให้สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องอ่านหนังสือเดินทางในการแจ้งที่พักอาศัยของคนต่างด้าว สามารถตรวจสอบรายละเอียดรุ่น และยี่ห้อของเครื่องอ่านหนังสือเดินทาง รวมทั้งดาวน์โหลด Driver เพื่อทำการติดตั้งโปรแกรมใช้งานเครื่องอ่านหนังสือเดินทาง และคู่มือการใช้งานระบบฯ ได้จากหน้าจอ Log in เข้าระบบแจ้งที่พักอาศัย ผ่านทางเว็บไซต์ www.immigration.go.th ***

    วิธีการกรอกบัญชีรายชื่อคนต่างด้าวที่เข้าพักอาศัย(แบบ ตม.30)

    กรณีมาแจ้งด้วยตนเองหรือแจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน

    แบบการแจ้งรับคนต่างด้าวเข้าพักอาศัย สำหรับเจ้าบ้าน เจ้าของหรือผู้ครอบครองเคหะสถาน(ตม.30) ประกอบด้วยเอกสาร 2 ส่วน(2 แผ่น)ด้วยกัน ส่วนแรก เป็นการกรอกรายละเอียดข้อมูลของเจ้าบ้านฯและที่ตั้งสถานที่ที่มีคนต่างด้าวเข้าพักอาศัย ส่วนที่ 2 เป็นบัญชีรายชื่อคนต่างด้าวที่เข้าพักอาศัย
    การกรอกรายละเอียดในแบบตม.30 ส่วนที่ 2 ขอให้ท่านดำเนินการกรอกให้ครบทุกช่อง โดยให้ดูจากหนังสือเดินทางของบุคคลต่างด้าวเป็นหลัก เนื่องจากรายละเอียดของบุคคลต่างด้าว ซึ่งบุคคลต่างด้าวเขียนให้ก่อนเข้าพักอาศัยมักไม่ถูกต้อง และการกรอกให้ใช้วิธีพิมพ์หรือเขียน ถ้าเป็นการเขียนให้เขียนเป็น BLOCK LETTER และมีข้อพึงระวังในการกรอกดังนี้
    1. ชื่อคนต่างด้าว ต้องเว้นช่องว่างระหว่าง ชื่อตัว ชื่อกลาง ชื่อสกุล ให้เห็นชัดเจน
    2. เลขที่หนังสือเดินทาง หากมีตัวหนังสือข้างหน้า หรือข้างหลังตัวเลขให้เขียนลงไปด้วย
    3. ช่องบัตรขาเข้าเลขที่ ให้กรอกเลขที่บัตรขาเข้า(บัตร ตม.6) ซึ่งแนบอยู่ในหนังสือเดินทาง โดยกรอกเช่นเดียวกับ
    4. การกรอกเลขที่หนังสือเดินทาง กล่าวคือ หากมีตัวหนังสือ ให้กรอกตัวหนังสือลงไปด้วย
    5. วันเดินทางเข้า หมายถึง วันที่คนต้างด้าวเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรไทย สำหรับวันที่เข้าพัก ให้กรอกลงในแผ่นหน้าของใบแจ้งรับคนต่างด้าว เข้าพักอาศัย

    พนักงานเจ้าหน้าที่จะตรวจสอบข้อมูลในแบบ ตม.30 เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่ามีการกรอกข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ทำการรับแจ้งและฉีกแบบ ตม.30 ส่วนล่างให้ผู้แจ้งเก็บรักษาต่อไป

    Close

    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    ×

    Online Appointment

    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้
    IMMIGRATION BUREAU

    ONLINE APPOINTMENT  SCHEDULING

    BRANCH LIST

    • Bangkok (Immigration Division 1)
    • Central and Eastern Region (Immigration Division 3)
    • Northeast Region (Immigration Division 4)
    • Northern Region (Immigration Division 5)
    • Southern Region (Immigration Division 6)

    Close

    หลักในการพูดรายงาน มีดังนี้

    ×

    รายการเกี่ยวกับยานพาหนะ (ตม.2)

    ทางเว็บไซต์ <-Click!

    Close

    News Updates

    Invitation to join the Red Cross 2022

    December 14, 2022

    📣งานกาชาด 2565 สวนลุมพินี 📍15 ธันวาคม 2565 #แวะมาพบปะชมรมแม่บ้านตำรวจ สตม.💃🏻 พร้อมรางวัลพิเศษมากมาย🛵🎉🎀 🎈จัดระหว่างวันที่ 8 - 18 ธันวาคม 2565 ตั้งแต่เวลา 11.00 - 23.00 น....

    Read More

    ผบช.สตม. ชี้แจงกรณี “ชูวิทย์” แฉ ตม. อำนวยความสะดวกจีนสีเทา

    December 8, 2022

    พล.ต.ท.ภาคภูมิภิภัทฒ์ สัจจพันธุ์ ผู้บัญชาการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง เปิดเผย กรณีนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ อดีตนักการเมืองชื่อดัง แถลงข่าวปฏิบัติการทลายภูเขาน้ำแข็งใต้น้ำ กรณีมีตำรวจสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (สตม.) คอยอำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุนจีนสีเทา พร้อมเปิดหลักฐานการจัดตั้งมูลนิธิรับจดทะเบียนให้คนจีนพักอาศัยในไทยโดยผิดกฎหมาย ว่าเรื่องของการอยู่ต่อเป็นบริบทส่วนหนึ่งในเรื่องการอำนวยความสะดวกให้กับคนต่างด้าวที่มีความประสงค์ที่จะอยู่ในประเทศไทย ซึ่งมีหลักเกณฑ์ อย่างเช่นกรณีที่พูดถึง Thailand Elite มีมานานแล้ว บริษัท ไทยแลนด์...

    Read More

    “e-Extension” Visa online, Service within 3 minutes

    November 8, 2022

    การเปิดตัว “e-Extension” การขออนุญาตอยู่ต่อประเทศไทย ระบบออนไลน์ ลดเวลา ขั้นตอนเพียง 3 นาที หลังการทดลองเปิดบริการ พื้นที่ กทม. ตั้งแต่ 10 ต.ค. คนแห่ใช้บริการ พบประสิทธิภาพคัดกรองเพิ่มขึ้น ตั้งเป้าขยายบริการทั่วประเทศ วันที่ 8 พฤศจิกายน...

    Read More

    Immigration increases passenger handling capacity at Suvarnabhumi airport

    November 2, 2022

    The Immigration Bureau on Wednesday increased its capacity to handle passenger arrivals at Suvarnabhumi airport after complaints about lengthy delays...

    Read More

    รวบหัวหน้าแก๊งจีนค้ามนุษย์ หลอกคนไทยบังคับทำคอลเซ็นเตอร์ที่กัมพูชา

    October 31, 2022

    เมื่อวันที่ 27 ต.ค. ที่สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (เมืองทอง) พล.ต.ท.ภาคภูมิภิภัทฒ์ สัจจพันธุ์ ผบช.สตม....

    หลักการแรกในการพูดรายงานคือข้อใด

    หลักการพูดรายงาน ๑) ทำความเข้าใจกับเรื่องที่จะพูด ๒) ลำดับความสำคัญของเรื่องที่จะพูดให้เหมาะสมกับเวลา ๒.พูดเสนอรายงาน ๑) กล่าวคำทักทาย พูดแนะนำตัว (ชื่อผู้ทำรายงาน)

    การพูดรายงานควรปฏิบัติอย่างไรป4

    A : การพูดรายงานควรปฏิบัติตัวอย่างไร.
    พูดแนะนำชื่อผู้ทำรายงาน.
    พูดแนะนำรายงาน อันประกอบด้วย ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีค้นคว้า สาระของรายงานหนังสืออ้างอิง และประโยชน์ที่ได้รับ.
    พูดโดยใช้น้ำเสียงดังพอสมควร ออกเสียงคำและเว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง ตามองผู้ฟัง.
    พูดโดยมีเอกสารแสดงให้ผู้ฟังได้รับรู้ข้อมูลของรายงาน.

    การพูดรายงานมีความสำคัญอย่างไร

    การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้า คือ การบอกเล่า ชี้แจง แสดงผลจากเรื่องที่ไปศึกษา ค้นคว้า การพูดรายงานมีความสำคัญในฐานะที่เป็นการเผยแพร่ความรู้ความคิด เพื่อสร้าง ความเจริญงอกงามทางสติปัญญา ดังนั้น จึงถือว่าเป็นทักษะที่ควรศึกษาเรียนรู้และฝึกฝนให้ เกิดความชำนาญ

    การพูดรายงาน จัดเป็นการพูดแบบใด

    การกล่าวรายงานเป็นการพูดอย่างเป็นพิธีการ ประธานคณะกรรมการดำเนินการ จัดงานจึงจำเป็นจะต้องมอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรืออาจเป็นคณะบุคคลเป็นผู้ร่างและ จัดทำคำกล่าวทั้งหมด การร่างคำกล่าวควรศึกษารูปแบบและตัวอย่างของงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง