มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ล่าสุด

และ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ ของส่วนร่วมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข

2.  มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา

10.  คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา

สาระความรู้

    1)  คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร

    2)  จรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา

    3)  การพัฒนาจริยธรรมผู้บริหารให้ปฏิบัติตนในกรอบคุณธรรม

    4)  การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)

สมรรถนะ

   1) เป็นผู้นำเชิงคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

   2) ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา

   3) ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้ร่วมงานมีคุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสม

มาตรฐานการปฏิบัติตน

จรรยาบรรณต่อตนเอง

  1.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา      ต้องมีวินัยในตนเอง      พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ

บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

  2.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา      ต้องรัก    ศรัทธา    ซื่อสัตย์สุจริต    และ

รับผิดชอบต่อวิชาชีพ  และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ

  3.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่  ช่วยเหลือ ส่งเสริม

ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า 

4.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้  ทักษะ และนิสัย

ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์  และผู้รับบริการ  ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ

  5.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  ทั้ง

ทางกาย วาจา และจิตใจ

  6.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา  ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ

ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ

  7.   ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค  โดยไม่

เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ

  8.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์

โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

จรรยาบรรณต่อสังคม

  9.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์

และพัฒนาเศรษฐกิจ  สังคม  ศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  ภูมิปัญญา  สิ่งแวดล้อม  รักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวม  และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

3. มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา

10. คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหารการศึกษา

สาระความรู้

   1) คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร

   2) จรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา

   3) การพัฒนาจริยธรรมผู้บริหารให้ปฏิบัติตนในกรอบคุณธรรม

   4) การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)

สมรรถนะ

   1) เป็นผู้นำเชิงคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

   2) ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา

   3) ส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้ร่วมงานมีคุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสม

มาตรฐานการปฏิบัติตน

จรรยาบรรณต่อตนเอง

  1.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา      ต้องมีวินัยในตนเอง      พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ

บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

  2.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา      ต้องรัก    ศรัทธา    ซื่อสัตย์สุจริต    และ

รับผิดชอบต่อวิชาชีพ  และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ

  3.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่  ช่วยเหลือ ส่งเสริม

ให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า 

  4.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้  ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์  และผู้รับบริการ  ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ

  5.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา  ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  

ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ

4. มาตรฐานวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น (ศึกษานิเทศก์)

9.  คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับศึกษานิเทศก์

สาระความรู้  

   1) คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับศึกษานิเทศก์ 

   2) จรรยาบรรณของวิชาชีพศึกษานิเทศก์

   3) การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี  (Good Governance) 

สมรรถนะ

   1) ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพศึกษานิเทศก์

   2) มีหลักธรรมในการนิเทศและประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดี

มาตรฐานการปฏิบัติตน

จรรยาบรรณต่อตนเอง

  1.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา      ต้องมีวินัยในตนเอง      พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ

บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ

จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ

  2.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา      ต้องรัก    ศรัทธา    ซื่อสัตย์สุจริต    และ

รับผิดชอบต่อวิชาชีพ  และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ

จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ

  3.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่  ช่วยเหลือ ส่งเสริม

ให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า 

  4.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้  ทักษะ และนิสัย

ทีถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์

ใจ

  5.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี   ทั้ง

ทางกาย วาจา และจิตใจ

6.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา  ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ

ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ

  7.   ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค  โดยไม่

เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ

จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ

  8.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์

โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ

จรรยาบรรณต่อสังคม

  9.  ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์

และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

มาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษามีอะไรบ้าง

1. การพัฒนาวิชาชีพ 2. ความเป็นผู้นําทางวิชาการ 3. การบริหารสถานศึกษา 4. หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ 5. กิจการและกิจกรรมนักเรียน 6. การประกันคุณภาพการศึกษา 7. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ การพัฒนาข้าราชการครู

มาตรฐานที่ 4 ของมาตรฐานความรู้ของผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาว่าด้วยเรื่องอะไร

4. ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ

มาตรฐานวิชาชีพครูมีกี่มาตรฐาน 2564

ประกอบด้วยมาตรฐาน ๓ ด้าน คือ มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และ มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณของวิชาชีพ) โดยจรรยาบรรณของวิชาชีพได้มีการกาหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพื่อประมวล พฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างของการประพฤติปฏิบัติ ประกอบด้วย พฤติกรรมที่พึงประสงค์ และพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์

ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีมาตรฐานความรู้อย่างไรบ้าง

(ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้ ๑) การพัฒนาวิชาชีพ ๒) ความเป็นผู้นําทางวิชาการ ๓) การบริหารการศึกษา ๔) การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ๕) การประกันคุณภาพการศึกษา ๖) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ