โครงสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย


 �Ţ���¡JS7153.3.A3 �678 2547 ISBN9744491086 (pbk.) �����������ʴ�� �Ѫ��� ��������ͧ���ҹء����û���ͧ��ͧ����� ��Ǵ��� 2 �ç���ҧ��¹͡ �ӴѺ��� 4 �ç���ҧ��ú������Ҫ����蹴Թ�Ѻ��û���ͧ��ͧ��� / �����¹ ������ʴ�� �Ѫ��� ; ʶҺѹ��л����� ��������ͧ���ᵡ��ҧCover title: ���ҹء����û���ͧ��ͧ����� ��Ǵ �ç���ҧ��¹͡ �ç���ҧ��ú������Ҫ����蹴Թ�Ѻ��û���ͧ��ͧ��� ��������ͧ���ᵡ��ҧ�ç���ҧ��ú������Ҫ����蹴Թ�Ѻ��û���ͧ��ͧ��� �����ѡɳ�������� : ʶҺѹ, 2547. �ٻ����50 ˹�� ; 21 ��. ���ͪش���ҹء����û���ͧ��ͧ����� ; ��Ǵ��� 2 �ӴѺ��� 4 �����˵���úѭ�ӴѺ��� 1 �Ѱ�����٭�Ѻ��û���ͧ��ǹ��ͧ���/ ���Դ ����侱����
-- �ӴѺ��� 2 ����Ҫ�ѭ�ѵԡ�˹�Ἱ��Т�鹵͹��á�Ш���ӹҨ�����ͧ��û���ͧ��ǹ��ͧ��� �ط��ѡ�Ҫ 2542/ �ز���� �ѹ�� ��и�þ�ó ����
-- �ӴѺ��� 3 ����������ǡѺ��û���ͧ��ͧ���/ ���Դ ����侱����
-- �ӴѺ��� 4 �ç���ҧ��ú������Ҫ����蹴Թ�Ѻ��û���ͧ��ͧ���/ ������ʴ�� �Ѫ��� �������ͧ��û���ͧ��ͧ���--�� �������ͧ��û���ͧ��ͧ���--��--���ҹء�� ����觹ԵԺؤ��ʶҺѹ��л����� ��úѭ��úѭ�س�ѧ�������͡�Թ �س����ö�աԨ���������Ѻ���䫵��� ���ͧ��͡�Թ��͹ ::�ӴѺ����������Ţ���¡/������ʶҹ���ʶҹ�1.
โครงสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย

˹ѧ��ͷ����JS7153.3.A3 �678 2547 v.2/4
  Barcode: 30100100036693���˹ѧ��ͷ���������
 
โครงสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
�����
��¡�������§
    ����� [������ʴ�� �Ѫ���]

    �������ͧ [��û���ͧ��ͧ��� ��]


�ѧ����¶١��������


 Copyright 2022. All Rights Reserved.
 พื้นที่การบริหารกรุงเทพมหานครแบ่งออกเป็นเขตและแขวง ในแต่ละเขตจะมีผู้อำนวยการเขตเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหาร โดยมีสภาเขต ( สข.)  เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนภายในเขตนั้น ซึ่งแต่ละเขตมีสมาชิกสภาเขตอย่างน้อยเขตละ  7  คน  ถ้าเขตใดมีประชากรเกิน 100,000  คน  ให้มีสมาชิกสภาเขตได้เพิ่มอีก  1  คน  เศษของแสนถ้าเกิน  50,000  คน  ให้นับเป็น  100,000  คน  มีวารการดำรงตำแหน่งคราวละ  4  ปี

พอถูกยุบพรรคก็เลยต้องเดินคู่ขนานกัน 2 ขา ระหว่าง พรรคก้าวไกล ที่ต้องขับเคลื่อนการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ผ่านกลไกด้านนิติบัญญัติ

ขณะที่คณะก้าวหน้าไปลุยเดินการเมืองท้องถิ่นเต็มตัว ด้วยการส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งท้องถิ่นทุกระดับชั้น

ตามนิยามขับเคลื่อน 2 ทางควบคู่กัน คือจาก “ล่างขึ้นบน” ผ่านการสร้างผู้บริหารท้องถิ่นที่มีศักยภาพ พิสูจน์ว่าท้องถิ่นพร้อม
บริหาร พร้อมพัฒนาเมืองตัวเอง

อีกทาง จาก “บนลงล่าง” ผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และแก้ไขกฎหมายเพื่อปลดล็อกข้อจำกัดการทำงานของท้องถิ่น จนเป็นที่มาของการเสนอ ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญปลดล็อกท้องถิ่น

เราลองไปดูชุดนโยบาย “ทุกจังหวัดไทยไทยก้าวหน้า” ที่แบ่งเป็น 4 ด้าน ทั้งหมด 13 นโยบาย ได้แก่

1.ผู้บริหารจังหวัดเรา เราเลือกเอง ประกอบด้วย ประชามติยกเลิกราชการส่วนภูมิภาค ไม่มีใครตกงาน-เสียประโยชน์ เลือกตั้งนายกจังหวัด ทุกจังหวัดทั่วประเทศ เลือกตั้งนายกเขต ทุกเขตในกทม. ข้าราชการทุกสังกัด ศักดิ์และสิทธิเท่ากัน โยกย้ายก้าวหน้าได้

2.งบจังหวัดเรา เราตัดสินใจเอง ด้วยการเพิ่มงบจังหวัดจัดการตนเองทุกปี ทั่วประเทศ 200,000 ล้านบาทต่อปี จังหวัดละ 250 ล้านบาทต่อปี เมืองละ 100 ล้านบาทต่อปี ตำบลละ 20 ล้านบาทต่อปี ทั้งหมดนี้อยู่ในกรอบ 4 ปี

ปรับสูตรกระจายงบให้เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำระหว่างพื้นที่ ท้องถิ่นมีช่องทางหารายได้ใหม่ กู้เงิน-ออกพันธบัตร-ร่วมทุน

3.บริการสาธารณะในพื้นที่เรา เราจัดการเอง ทำให้บริการสาธารณะถูก-เร็ว-ดี ท้องถิ่นจัดทำได้ทั้งหมด ยกเว้น ทหาร-ศาล-เงินตรา ถ่ายโอน ถนน-คูคลอง-แหล่งน้ำ-ขนส่ง-สิ่งแวดล้อม-พิสูจน์สิทธิที่ดิน-โรงงาน-โรงแรม-สถานบริการ ยกเลิกกฎระเบียบและคำสั่ง คสช. ที่ล็อกคอ-ล้วงลูกท้องถิ่น ภายใน 100 วัน

และ 4.ท้องถิ่นเรา เราร่วมตรวจสอบได้เอง ด้วยการทำให้ท้องถิ่นโปร่งใส เปิดเผยข้อมูลงบประมาณทุกบาท-จัดซื้อจัดจ้างทุกขั้นตอน ประชุมสภาพลเมือง ทุกคนมีส่วนร่วม ทุกท้องถิ่น ทุกไตรมาส รวมถึงประชาชนยังสามารถเข้าชื่อทางออนไลน์ เสนอโครงการ-ข้อบัญญัติ และถอดถอนท้องถิ่นได้

หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองมา 90 ปี ประเทศเรายังย่ำอยู่กับความเจริญและอำนาจรวมศูนย์ที่ส่วนกลาง ที่มีอำนาจตัดสินใจเรื่องใช้งบสูงถึง 80% ของงบประมาณทั้งหมด

ชุดนโยบาย ทุกจังหวัดไทยไทยก้าวหน้า จึงมีเป้าหมายปลดล็อกความกระจุกตัวของอำนาจ และความเจริญ ด้วยการทำให้ประชาชนทุกจังหวัดมีอำนาจและทรัพยากรเพียงพอ เพื่อกำหนดอนาคตของตัวเขาเอง

อย่างที่คนในพรรคก้าวไกล และคณะก้าวหน้า ใช้คำว่า “การระเบิดพลังทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่” เป็นการพลิกโฉมประเทศ ทั้งในระยะสั้น-กลาง-ยาว

COLA KKU ให้การต้อนรับ อาจารย์ นายทหารนักเรียนฯ และบุคลากร จากกรมยุทธศึกษาทหารเรือ

COLA KKU ให้การต้อนรับ อาจารย์ นายทหารนักเรียนหลักสูตรพรรคนาวิน รุ่นที่ 73 นายทหารนักเรียนหลักสูตรทั่วไป รุ่นที่ 56 ประจำปีการศึกษา 2566 ชั้นยศ เรือเอก-นาวาตรี และบุคลากร จากกรมยุทธศึกษาทหารเรือ ในโอกาสเข้าเยี่ยมชมวิทยาลัยและรับฟัง

โครงสร้างการปกครองส่วนท้องถิ่นคืออะไร

การปกครองส่วนท้องถิ่น คือ หน่วยงานปกครองที่ อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมาก ที่สุดรูปแบบหนึ่ง โดยปกติ การปกครองส่วนท้องถิ่นจะเปิดโอกาสให้ประชาชนใน เขตท้องถิ่นนั้น ๆ เลือกตั้งผู้แทนของตนเข้าไปทาหน้าที่ เป็นผู้บริหารท้องถิ่น หรือเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเพื่อ เลือกผู้บริหารท้องถิ่นอีกทีหนึ่ง (เรียกว่าการเลือกตั้ง โดยตรงหรือโดยอ้อม ...

รูปแบบการปกครองท้องถิ่นของไทย มีกี่รูปแบบ

การปกครองท้องถิ่นของไทย จะมี2 แบบ คือ แบบทั่วไป และแบบพิเศษ 1). แบบทั่วไปได้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาล และ องค์การบริหารส่วนตําบล (อบต.)

โครงสร้างการเมืองการปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยมีอะไรบ้าง

สาหรับการปกครองท้องถิ่นของไทยในปัจจุบัน มี2 รูปแบบด้วยกันคือ 1. รูปแบบการปกครองท้องถิ่นทั่วไป ได้แก่ 1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) 2) เทศบาล 3) องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) 2. รูปแบบการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งมี ฐานะเป็นทบวงการเมือง และนิติบุคคล โดยใน ประเทศไทยมีอยู่2 แห่งคือ 1) กรุงเทพมหานคร 2) เมืองพัทยา

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี 5 รูปแบบอะไรบ้าง

เนื้อหา.
1 ประเภท 1.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1.2 เทศบาล 1.3 องค์การบริหารส่วนตำบล 1.4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
2 สภาท้องถิ่น.
3 ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3.1 การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง.
4 อ้างอิง.
5 แหล่งข้อมูลอื่น.