แผนการ สอนภาษาไทย ม.2 วิวิธ ภาษา เทอม 1

คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย ม.2 >> อ่านต่อ
การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน >>>>>>>>>>> อ่านต่อ
โคลงสุภาษิต >>>>>>>>>>> อ่านต่อ
แผนจัดการเรียนรู้โคลงสุภาษิตที่ 1 >>>>>>>>>>> อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า >>>>>>>>>> อ่านต่อ
กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า ไทย-อังกฤษ >>>>>>>>> อ่านต่อ
กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้าแผนที่ 1 >>>>>> อ่านต่อ
กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้าแผนที่ 2 >>>>>>>>> อ่านต่อ

Advertisement

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

แผนการสอนหรือแผนจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนในทุกระดับชั้น เปรียบเสมือนแผนที่นำทางที่ช่วยให้ครูสามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนได้เหมาะสม ตรงตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ

การจัดทำแผนการสอนนั้น ครูผู้สอน จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษาอย่างถ่องแท้ เพื่อให้สามารถออกแบบแผนการสอนได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องครบถ้วน ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการจัดการศึกษาทั้งกับตัวผู้เรียนและตัวครูผู้สอนเอง โดยอาศัย โดยองค์ประกอบที่สำคัญของการออกแบบแผนการสอนนั้น จะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญดังนี้

              1. หัวเรื่อง คือ ส่วนที่ต้องกำหนด ชื่อของเรื่องหรือหน่วยการเรียนรู้  ขั้นที่สอนและเวลาที่ใช้สอน

              2. สาระสำคัญ คือ มโนทัศน์หลักหรือความคิดรวบยอดของการจัดการเรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งกำหนดเป็นภาพกว้างให้เห็นการเชื่อมโยงข้อมูลของสิ่งที่กำลังจะสอน

              3. มาตรฐานและตัวชี้วัด คือ คุณลักษณะสำคัญของผู้เรียนที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ จะหยิบยกมาเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและคาดว่าจะเกิดกับผู้เรียน ซึ่งการที่ลักษณะของผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางและส่วนที่เพิ่มเติมให้หลักสูตรสถานศึกษา

              4. จุดประสงค์การเรียนรู้ คือ เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดกับตัวผู้เรียนหลังจากที่เราได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ได้วางไว้แล้ว โดยในการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้นั้นจะต้องเกิดจากการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร

              5. สาระการเรียนรู้ คือเนื้อเรื่อง หรือองค์ความรู้ ทักษะ กระบวนการของผู้เรียนที่จะต้องเรียนรู้ในรายวิชานั้น ๆ

              6. การบวนการการเรียนรู้ คือ การระบุกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน และขั้นสรุป

              7. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ คือ เครื่องมือในการส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้ตามที่กำหนดในกิจกรรมการเรียนรู้

              8. การวัดและประเมินผล คือ การประเมินผลผู้เรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งควรระบุเครื่องมือวัดและเกณฑ์การให้คะแนน ซึ่งสามารถศึกษาได้จากคู่มือหลักสูตร

              9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ คือการบันทึกของครูผู้สอนจากสิ่งที่พบในการนำแผนจัดการเรียนรู้มาใช้ โดยแบ่งเป็น ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค์ และ ข้อเสนอแนะ

อย่างไรก็ตามคุณครูสามารถดาวน์โหลดตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้หรือแผนการสอนวิชาภาษาไทยได้จากลิงก์ด้านล่างครับ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๔ (ท2๒10๑) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาท่ี ๒ จัดทำโดย นำงสำวมณฑกำญจน์ ศิริมงคล โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต ๑ กระทรวงศึกษำธกิ ำร

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ ตามสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง คดั ลายมือด้วยตวั บรรจงครึง่ บรรทดั แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง ลายมือสวยดว้ ยความต้ังใจ เวลาเรียน ๒ คาบ รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไท โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นส่ือสาร เขยี นเรียงความ และเขยี นเรือ่ งราว ในรูปแบบ ต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ตัวช้วี ัด คัดลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทัด ท ๒.๑ ม. ๒/๑ มีมารยาทในการเขยี น ท ๒.๑ ม. ๒/๘ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรสู้ ูต่ วั ชี้วดั ๑. อธิบายหลกั การคัดลายมือ (K) ๒. คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (P) ๓. เห็นคณุ ค่าของลายมือทส่ี วยงาม และมีมารยาทในการเขยี น (A) สาระสาคญั (คาชี้แจง) การเขียนด้วยลายมือต้องเขียนตวั บรรจงให้ถูกต้อง สวยงาม และอ่านง่ายเพราะจะทาให้การสอ่ื สารสัมฤทธิผล การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นา ๑. ครูทักทายนักเรียนที่เข้าห้องเรียนออนไลน์แล้ว ในช้ันเรียน Google Classroom รหัสของ ช้ันเรียน คือ t34xnfl ตามลงิ้ คh์ ttps://meet.google.com/lookup/afq6oe7rux?authuser=1&hs=179 และเริ่มเช็คช่ือทางออนไลน์ โดยให้นักเรยี นที่เข้าห้องเรียนแลว้ คลิกว่า มาเรียน ตรงปุ่มที่ครูกาหนดให้ เมื่อ นักเรียนเริ่มเข้าเรียนจานวน คร่ึงหน่ึงของห้องแล้ว ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากน้ัน ครูแจง้ ข้อตกลงในการเรียน การสอนของรายวชิ าภาษาไทย 3 ๒. คาถามชวนคิด ครูสุ่มเลขที่ เพ่ือให้นักเรียนเปิดไมล์แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังน้ี - ลายมือท่ีสวยจะมีลักษณะอยา่ งไร (แนวการตอบ ตวั หนงั สอื เรียงเป็นระเบียบ ตวั หนังสอื เสมอกัน การวางสระและวรรณยุกต์ถูกต้อง ไมม่ กี าร ขีด ลบ หรือ รอยดาของหน้ากระดาษ )

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓. ครูอธิบายหลักและวิธีการเขียนตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ตามทฤษฎีให้นักเรียนได้เข้าใจ โดย ยกตวั อยา่ งประกอบ โดยการนาตัวหนงั สือทถ่ี กู ตอ้ งตามกระทรวงศึกษาธิการกาหนด มาให้นักเรียนดู ๔. ให้นักเรียนอาสาสมัคร ๑ คน เขียนขอ้ ความใดก็ได้บนกระดาษ โดยเขยี นใหส้ วยงามทสี่ ดุ แลว้ เปดิ กล้องใหค้ รแู ละเพอ่ื นๆ คนอืน่ ไดด้ ูดว้ ย ใหเ้ พ่ือนๆ สังเกตวิธีเขยี นและลกั ษณะตัวอกั ษรของแต่คนนนั้ แลว้ ช่วยกนั แสดงความคดิ เหน็ ครูใหเ้ วลาแสดงความคิดเห็น ๑ นาที ๕. ใหน้ ักเรียนศึกษาความรู้เพ่มิ เตมิ จากสื่อการสอนโดยวีดีโอ VDO เรือ่ ง การคัดลายมือ แล้วสรุปความเข้าใจ ให้เป็นแผนผังความคิดแล้วนาส่งแนบเป็นไฟล์รูปภาพ ในช่อง(งานชั้นเรียน Google Classroom ) ตามวันและเวลาที่กาหนด ๖. ให้นกั เรียนทาใบงานที่ ๓ คัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด เรอ่ื ง พระบรมราโชวาท รัชกาลท่ี ๙ ลงในกระดาษรายงาน แลว้ นามอื ถือถ่ายรปู ภาพชนิ้ งานของตนเองเปน็ ไฟลร์ ปู ภาพ ในช่อง (งานชน้ั เรยี น Google Classroom ) ตามวันและเวลาที่กาหนด รอการประเมนิ ผลงานจากครูเปน็ รายบุคคล ๗. ครูจะคัดเลอื กผลงานยอดเยยี่ มมาจดั แสดงบนปา้ ยนเิ ทศ จัดประกวดคดั ลายมือ (หากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด -19 ยุติลง ) ขน้ั สรุป ๘. ให้นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั นี้ - การเขยี นดว้ ยลายมือต้องเขียนตวั บรรจงให้ถูกต้อง สวยงาม และอ่านงา่ ย เพราะจะทาให้ การส่อื สารสัมฤทธิผล ๙. ครมู อบหมายให้นักเรยี นไปท่องจาโคลงบทท่เี ลือกมาคดั ลายมือเพื่อทากิจกรรมในชวั่ โมงตอ่ ไป สื่อการเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เรือ่ ง การคัดลายมือดว้ ยตวั บรรจงครงึ่ บรรทัดแบบราชบัณฑิตยสถาน(หวั กลม) ๒. ใบความรเู้ รื่อง หลกั การคดั ลายมอื ๓. สือ่ VDO หลักการคัดลายมอื การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผลงาน/ช้นิ งาน/ การ เครอื่ งมือท่ีใช้ ในการ แนวทางการให้ เกณฑก์ ารประเมนิ ปฏบิ ัตงิ าน ประเมิน คะแนน ๖ – ๘ คะแนน อยู่ในระดบั ดี การคดั ลายมือตวั บรรจง แบบประเมนิ คดั ลายมือไดค้ ะแนน ๓ – ๕ คะแนน อยู่ในระดบั พอใช้ ครง่ึ บรรทัดแบบ การคดั ลายมือตัวบรรจง ตง้ั แตร่ ะดบั คุณภาพดี ๑ – ๒ คะแนน อย่ใู นระดบั ควร ราชบณั ฑติ ยสถาน(หัวกลม) ครง่ึ บรรทัดแบบ ข้นึ ไป ถือวา่ ผา่ น ปรบั ปรุง ตัว ก – ฮ และสระ ราชบณั ฑิตยสถาน(หวั กลม) ตวั ก – ฮ และสระ

ใบความรู้ แบบราชบณั ฑิตยสถาน(หัวกลม)

ใบความรู้ แบบคดั ลายมอื ที่ถกู ต้อง(แบบอาลักษณ)์

ใบงาน แบบคัดลายมือ คาชแี้ จง : ใหผ้ ู้เขา้ แขง่ ขันเขียนด้วยตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั แบบราชบัณฑติ ยสถาน(หวั กลม) ๑ จบ ในเวลา ๑ ชั่วโมง พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช การสรา้ งสรรค์ตนเอง การสรา้ งบ้านเมอื งกต็ าม มิใช่วา่ สรา้ งในวนั เดียว ตอ้ งใชเ้ วลา ตอ้ งใช้ความเพียร ต้องใช้ความ อดทน เสียสละ แตส่ าคัญท่ีสดุ คือความอดทนคอื ไม่ย่อทอ้ ไมย่ อ่ ท้อในส่งิ ทด่ี งี าม สิง่ ที่ดงี ามนั้นทามันนา่ เบื่อ บางทีเหมือนวา่ ไมไ่ ดผ้ ล ไม่ดัง คอื ดูมันครึทาดนี ่ี แตข่ อรับรองว่าการทาใหด้ ี ไมค่ รึ ต้องมคี วามอดทน เวลาขา้ งหน้าจะเห็นผลแนน่ อน ในความอดทนของตนเอง พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักเรียน นักศึกษา ครู และอาจารยใ์ นโอกาสเข้าเฝา้ ฯ วนั ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๑๖

การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) คาชี้แจง : การประเมินใบงานนี้ใหผ้ ้สู อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอ่ื ง การคดั ลายมือด้วยตวั บรรจงคร่ึงบรรทัด ระดบั คะแนน ๔ ๓ ๒๑ เกณฑ์การประเมิน เขียนตัวอักษร เขยี นตวั อักษร เขียนตวั อกั ษร เขียนตัวอักษร การคดั ลายมือ ชดั เจน ถกู ต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ชัดเจน ถูกต้อง ถกู ต้องตาม ตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวิธี อักขรวิธี และ ขนาดตวั อักษร ขนาดตัวอักษร ขนาดตัวอักษร ผลงานสะอาด มีสดั ส่วนเหมาะสมและ บางตวั ผดิ สัดส่วน หลายตัวผดิ สดั ส่วน แตย่ ังต้องพัฒนา เสมอกัน บา้ ง แต่ผลงาน จงึ ไมค่ ่อยเป็น การควบคมุ ผลงานสะอาด สะอาดเรียบร้อย ระเบียบ แต่ผลงาน ขนาดของ เรียบรอ้ ย สะอาด ตวั อักษร และอตั ราเรว็ ในการเขียน

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความตง้ั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผรู้ ับการประเมนิ ในการทางาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมิน ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ ง ที่ตรงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๑. รักชาติ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติร้องเพลงชาตไิ ด้และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามสทิ ธแิ ละหน้าที่ของนักเรยี น กษัตริย์ ๑.๓ ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ๑.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมที่สรา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชุมชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีเ่ กย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริย์ ตามท่โี รงเรยี นและชุมชนจัดขึ้น ๒. ซ่อื สตั ย์ ๒.๑ ให้ข้อมลู ทีถ่ ูกตอ้ ง และเป็นจริง สุจริต ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่งิ ที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทีจ่ ะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ตี นให้ ไว้กับเพ่ือน พ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้อนื่ ดว้ ยความซ่อื ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางท่ีไมถ่ ูกต้อง ๓. มวี ินัย ๓.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครวั รบั ผดิ ชอบ และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรู้ได้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รพั ย์สนิ ของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ พอเพยี ง รักษาดแู ลอยา่ งดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอย่างดี ๕.๓ ปฏบิ ัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตผุ ล

คณุ ลักษณะ ๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผูอ้ ่ืนและไม่ทาใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อนพร้อมให้อภยั เมือ่ ผอู้ นื่ กระทาผิดพลาด ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ ๔๓๒๑ รายการประเมิน ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ ีวติ ประจาวันบนพน้ื ฐานของความรู้ ๖. มงุ่ มน่ั ในการ ขอ้ มูล ขา่ วสาร ทางาน ๕.๖ ร้เู ท่าทนั การเปล่ยี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรบั ตัว อยู่ ๗. รกั ความเปน็ รว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสุข ไทย ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย ๘. มจี ติ ๖.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ สาธารณะ ๗.๑ มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘.๑ รู้จักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบง่ ปันส่ิงของให้ผอู้ ื่น ๘.๓ ดูแล รกั ษาทรัพย์สมบตั ิของห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ลงชื่อ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดีมาก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ ตามสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ การอ่านออกเสยี งรอ้ ยแก้ว และร้อยกรอง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง อา่ นออกเสยี งไพเราะเสนาะกรรณ เวลาเรยี น ๒ คาบ รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิริมงคล กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพื่อนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชวี ิต และมนี สิ ยั รักการอา่ น ตัวช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการอา่ น จดุ ประสงค์การเรียนรู้ส่ตู วั ชี้วดั ๑. อธบิ ายหลักการอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง (K) ๒. อ่านออกเสยี งโคลงสีส่ ภุ าพ (P) ๓. เห็นความสาคัญของการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองและมีมารยาทในการอ่าน (A) สาระสาคัญ (คาชแ้ี จง) การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเปน็ การสื่อสารโดยการใช้เสียงถา่ ยทอดอารมณ์ความรู้สกึ ไปยังผูฟ้ ัง และยงั เป็น การอนุรักษว์ ฒั นธรรมทางภาษาอยา่ งหนึ่งของไทยทเ่ี ยาวชนไทยควรรกั ษาให้คงอย่ตู ่อไป การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นา ๑. ครูทักทายนกั เรียนท่ีเข้าหอ้ งเรียนออนไลน์แล้ว ในช้นั เรียน Google Classroom รหัสของ ชัน้ เรยี น คอื t34xnfl ตามล้ิงคh์ ttps://meet.google.com/lookup/afq6oe7rux?authuser=1&hs=179 และเร่ิมเช็คชื่อทางออนไลน์ โดยให้นักเรียนที่เข้าห้องเรยี นแล้ว คลิกว่า มาเรียน ตรงปุ่มท่ีครูกาหนดให้ เม่ือ นักเรียนเริ่มเข้าเรียนจานวน คร่ึงหน่ึงของห้องแล้ว ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากนั้น ครูแจ้งจุดประสงค์ของการเรยี น เรื่อง การอ่านออก เสียงรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง ๒. คาถามชวนคิด ครูสุ่มเลขท่ี เพ่ือให้นักเรียนเปิดไมล์แสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ ๒.๑ นักเรยี นคดิ วา่ การรหู้ ลักการอ่านออกเสียงมปี ระโยชนต์ ่อเราอย่างไร ๒.๒ ใครที่สามารถอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรองไดไ้ พเราะบ้าง เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นน้นั

กิจกรรมการเรยี นรู้ ๓. ให้นกั เรียนดู ส่ือ YouTube การแสดงบทบาท การอ่านออกเสียงโดยแบง่ วรรคตอนผิด แลว้ สอบถาม นักเรียนร่วมกันสนทนา วิเคราะห์กับนักเรียนว่าน่ีคือเหตุผลที่คนเราจาเป็นต้องเรียนรู้เร่ืองการอ่านอย่างถูกต้อง หากอ่านผิดความหมายกผ็ ิดเชน่ กนั ๔. ครใู หน้ ักเรียนฟังเทปบันทกึ เสยี ง การอ่านร้อยกรอง โดยครใู ช้คาถาม ดังนี้ - การอ่านออกเสียงนี้ไพเราะหรือไม่ อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ไพเราะท้ังน้าเสียงท่ีอ่อนหวาน มีการเออื้ นเสยี งและทอดเสียงอย่างเหมาะสม นา้ เสียงแสดงอารมณ์ไดส้ อดคล้องกับเนื้อหาของบทร้อยกรอง) - การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองต้องคานึงถึงส่ิงใดอีกบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ การออกเสียง คาควบกล้าใหช้ ดั เจน คาทใี่ ช้ ร ล ออกเสยี งคาตามเสยี งวรรณยุกตใ์ หถ้ ูกต้อง แบ่งจงั หวะของบทร้อยกรอง ให้ถกู ต้องตามประเภทของบทรอ้ ยกรอง) ๕. ครูอธิบายเร่อื ง หลักการอ่านออกเสยี งรอ้ ยแก้ว แล้วระหว่างนนั้ ทักทายและสุ่มถามนกั เรยี นทาง บ้าน เพื่อเป็นการกระตุ้นไม่ให้นักเรียนเบ่ือ โดยสุ่มถามใครเปิดไมล์ตอบได้ครูให้คะแนนเพิ่ม เก่ียวกับเร่ืองท่ี ครูอธิบาย เช่น หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง แล้วร่วมกันสรุปความเข้าใจ เป็นแผนภาพความคิด จากนน้ั ครูอธบิ ายความรู้เพ่มิ เตมิ ๖. ครูให้ตัวแทนนักเรียน เปิดไมล์และเปิดกล้องอ่านออกเสียง ตัวอย่างจากเร่ืองท่ีอยู่ในภาพ Power point ให้เพื่อน ๆ และครูประเมินผลการอ่านออกเสียง แล้วนาผลมาแจ้งภายหลัง เพื่อให้นักเรียนนาไปปรับปรุง การอ่านในครงั้ ต่อไป ขนั้ สรปุ ๗. เมื่อครอู ธิบายหลกั การอ่านออกเสยี งร้อยแก้วและร้อยกรองแล้ว ครุใหน้ กั เรยี นสรปุ ความรู้ ดงั นี้ ๗.๑ การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเป็นการส่ือสารโดยการใช้เสียงถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกไปยัง ผู้ฟัง และยังเปน็ การอนุรักษว์ ฒั นธรรมทางภาษาอย่างหนงึ่ ของไทยทีเ่ ยาวชนไทยควรรกั ษาให้คงอยูต่ ่อไป ๘. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทาเป็นรายบุคคล เพ่ือหลีกเลี่ยงการแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ดงั นี้ ๘.๑ ให้นักเรียนศกึ ษาความรเู้ พ่มิ เตมิ จากสอื่ การสอนท่คี รูผลติ ขน้ึ มา ไดแ้ ก่ VDO เร่ือง การอ่านออกเสยี งรอ้ ยกรอง แล้วสรุปความเข้าใจลงสมดุ ๘.๒ ใหน้ กั เรยี นทางานรายบุคคล คือ อัดคลปิ วดี ีโอทตี่ นเองอ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง ตามบทอ่านที่ครูแทรกไว้ให้ในช่อง (งานชั้นเรียน Google Classroom ) จนจบ คนละ ๑ รอบ แล้วนาส่งเป็นคลิป วีดีโอมายังห้องเรียน ภาษาไทย3 Google Classroom หรือ ช่องทางไลน์กลุ่ม รายวิชาภาษาไทย 3 ตามวันและเวลาท่กี าหนด สอื่ การเรยี นรู้ ๑. เทปบนั ทึกเสียง การอ่านออกเสยี งร้อยกรอง บทเสภาสามคั คเี สวกและโคลงภาพ พระราชพงศาวดาร ๒. VDO เรอ่ื ง การอ่านออกเสียงรอ้ ยกรอง ๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านออกเสยี งร้อยแกว้ ๔. สือ่ Power point เร่อื ง การอ่านออกเสยี งร้อยแกว้

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผลงาน/ช้นิ งาน/ การ เคร่อื งมือที่ใช้ ในการ แนวทางการให้ เกณฑก์ ารประเมิน ปฏิบัตงิ าน ประเมิน คะแนน ๖ – ๘ คะแนน อยู่ในระดับ ดี หลักการอา่ นออกเสยี ง แบบประเมนิ การอ่านออกเสียง ๓ – ๕ คะแนน อยใู่ นระดบั พอใช้ ร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง หลกั การอ่านออกเสยี ง รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง ๑ – ๒ คะแนน อยใู่ นระดับ ควร รอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง ได้คะแนน ตง้ั แต่ระดบั คณุ ภาพดี ข้ึนไป ถือวา่ ปรับปรงุ ผ่าน

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมนิ กิจกรรมน้ใี ห้ผสู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอื่ ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยกรอง ระดับคะแนน ๔๓๒ ๑ เกณฑ์การประเมิน อา่ นออกเสียงได้ไพเราะ อ่านออกเสียงได้ไพเราะ อ่านออกเสยี งไดไ้ พเราะ อ่านออกเสียงได้ ตามท่วงทานอง การอา่ นออกเสียง ตามทว่ งทานอง ตามท่วงทานอง ตามท่วงทานอง การออกเสยี งบางคา บทร้อยกรอง ไมช่ ดั เจน ถกู ต้องชัดเจนตาม ถกู ต้องชดั เจนตาม ถูกต้องชดั เจนตาม ขาดน้าเสียง ในการแสดงอารมณ์ อักขรวิธี น้าเสยี ง อักขรวธิ ี นา้ เสยี ง อักขรวธิ ี แต่ยงั แสดงอารมณ์ ในการแสดงอารมณ์ ขาดน้าเสียง ไดเ้ หมาะสมกับเน้ือหา ตอ้ งปรับปรงุ เล็กนอ้ ย ในการแสดงอารมณ์ เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ชว่ งคะแนน ดมี าก ๔ ดี ๓ พอใช้ ๒ ๑ ปรับปรงุ เกณฑ์การผ่าน ต้งั แต่ระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความตง้ั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผรู้ ับการประเมนิ ในการทางาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมิน ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดับคะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พงึ ประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๑. รกั ชาติ ๑.๑ ยนื ตรงเมือ่ ไดย้ ินเพลงชาติรอ้ งเพลงชาตไิ ด้และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นตามสิทธิและหน้าท่ีของนักเรยี น กษตั รยิ ์ ๑.๓ ใหค้ วามรว่ มมือ รว่ มใจ ในการทางานกบั สมาชิกในโรงเรียน ๑.๔ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจดั กิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียนและชมุ ชน ๑.๕ เข้าร่วมกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถอื ปฏิบตั ติ นตามหลกั ของศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมทีเ่ กย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษัตริย์ ตามทโี่ รงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ๒. ซอื่ สตั ย์ ๒.๑ ใหข้ ้อมูลท่ีถูกต้อง และเปน็ จริง สจุ ริต ๒.๒ ปฏิบตั ิในส่งิ ท่ีถกู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวทจี่ ะทาความผิด ทาตามสญั ญาทตี่ นให้ ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรอื ผ้ปู กครอง และครู ๒.๓ ปฏบิ ตั ิต่อผอู้ ่ืนด้วยความซอ่ื ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางท่ีไม่ถูกตอ้ ง ๓. มวี ินัย ๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั รับผดิ ชอบ และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวัน และ รับผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรียนรตู้ ่างๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรปุ ความรู้ได้อยา่ งมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รัพยส์ นิ ของตนเอง เช่น สิ่งของ เครอ่ื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ พอเพียง รักษาดแู ลอยา่ งดี และใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใช้ทรัพยากรของสว่ นรวมอย่างประหยดั คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดูแลอยา่ งดี

คุณลกั ษณะ ๕.๓ ปฏบิ ัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตุผล ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ ๕.๔ ไมเ่ อาเปรยี บผู้อื่นและไมท่ าใหผ้ อู้ น่ื เดือดร้อนพร้อมใหอ้ ภยั เม่อื ผ้อู น่ื กระทาผดิ พลาด ๔๓๒๑ ดา้ น รายการประเมนิ ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๕.๕ วางแผนการเรยี น การทางานและการใชช้ ีวิตประจาวนั บนพื้นฐานของความรู้ ทางาน ขอ้ มลู ข่าวสาร ๗. รักความเป็น ๕.๖ รเู้ ทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรับตวั อยู่ ไทย ร่วมกบั ผ้อู นื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข ๘. มีจิต ๖.๑ มีความต้งั ใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย สาธารณะ ๖.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ ๗.๑ มีจติ สานกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย ๘.๑ รจู้ ักช่วยพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ช่วยทา และแบ่งปนั สิ่งของใหผ้ ู้อนื่ ๘.๓ ดูแล รกั ษาทรัพยส์ มบตั ิของห้องเรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ลงชื่อ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดีมาก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรบั ปรุง

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๓ ตามสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เรือ่ ง จบั ใจความ จบั ความคิด เวลาเรียน ๒ คาบ รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดสิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ยั รักการอา่ น ตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๒ จับใจความสาคัญ สรปุ ความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเร่ืองท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้สตู่ วั ชี้วัด ๑. อธบิ ายหลกั การอา่ นจับใจความ การสรุปความ และการอธิบายรายละเอยี ดจากเรื่องที่อ่าน (K) ๒. จบั ใจความ สรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเร่ืองที่อา่ น (P) ๓. เห็นความสาคัญของการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน (A) สาระสาคัญ (คาช้แี จง) การอ่านจบั ใจความ สรุปความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเรอื่ งทอ่ี ่าน เป็นสิ่งสาคัญทจ่ี ะทาให้การอ่านมี ประสทิ ธิภาพและเป็นพ้ืนฐานการอ่านในระดับทีย่ ากขนึ้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นา ๑. ครทู ักทายนักเรยี นทเ่ี ขา้ หอ้ งเรยี นออนไลน์แลว้ ในชั้นเรียน Google Classroom รหัสของ ช้นั เรียน คอื t34xnfl ตามล้ิงค์https://meet.google.com/lookup/afq6oe7rux?authuser=1&hs=179 และเริม่ เช็คชื่อทางออนไลน์ ใหน้ ักเรยี นเปิดไมล์และร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คาถามท้าทาย ดงั นี้ ๑.๑ นักเรยี นคดิ วา่ ระหวา่ งการอ่านกับการฟัง ทักษะใดใหค้ วามรู้มากกวา่ กัน เพราะเหตใุ ด กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. ครูสุ่มใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนเลอื กศึกษาความรทู้ ี่ครกู าหนดให้ ต่อไปน้ี - เลขที่ ๑ ใหศ้ กึ ษาความรู้ เร่ือง การอ่านจบั ใจความ - เลขท่ี ๒ ให้ศึกษาความรู้ เรอื่ ง การสรปุ ความ

- เลขที่ ๓ ใหศ้ กึ ษาความรู้ เรอ่ื ง การอธบิ ายรายละเอียดจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน เรยี งกลับมาแบบนี้ไปจนครบทกุ เลขที่ ๓. ครเู ลอื กนกั เรยี น ๒ - ๓ คน เปิดไมล์ สรปุ ความรู้ให้เพื่อน ๆ ฟงั ครูอธิบายเพมิ่ เตมิ ๔. ให้นักเรียนศกึ ษาตัวอยา่ งการจบั ใจความสาคัญ การสรุปความ และการอธบิ ายรายละเอยี ดจาก เรอื่ ง ครไู หวใจรา้ ย ตอน ผบู้ อกเวลา แล้วร่วมกนั แลกเปล่ียนความรู้ ความเข้าใจ ๕. ใหน้ กั เรยี นอา่ นแถบข้อความที่ ๑ แม่จากไปเม่ือฉนั เปน็ เณรได้สองพรรษา ฉนั คิดว่าความตายกรณุ าแม่ ชว่ ยปลดเปล้ืองความทกุ ข์ทรมานใหแ้ ม่ แต่ฉนั กต็ ้องร้องไห้อย่างมากมาย พยายามระงบั ดบั ปลงอย่างไรก็ไม่ไหว พลอยให้ญาตหิ ญงิ คนหนึ่งสะอน้ื ไห้ และเผลอตวั เขา้ มาโอบประคอง ฉันร้องไหด้ ว้ ยคดิ ว่า ต่อแต่นีฉ้ ันจะต้อง อยู่เพยี งลาพัง หรือไมก่ ็ถกู ทอดท้ิงให้อยู่กับคนแปลกหน้าไปชัว่ ชีวติ แพร เยือ่ ไม้ แล้วชว่ ยกนั ระดมความคดิ ในประเด็นต่อไปนี้ - ใจความสาคญั ของเรื่องคืออะไร (แม่จากไปเม่อื ฉนั เป็นเณรได้สองพรรษา) - สรุปความได้ว่าอย่างไร (แมเ่ ขาเสยี ชีวิตขณะท่ีเขาเป็นเณร เขาเสยี ใจมากและคิดวา่ เขาต้องอยเู่ พยี งลาพัง) - รายละเอยี ดของเร่ืองเปน็ อยา่ งไร (แมจ่ ากไปเมื่อเขาเป็นเณรไดส้ องพรรษา เขารอ้ งไห้เสยี ใจ มาก ญาติผู้หญงิ คนหนึง่ มากอดเขาไว้ เขาคิดว่าต่อจากนเี้ ขาต้องอยู่คนเดยี วหรอื อยู่กับคนแปลกหนา้ ไป ตลอดชีวิต) ๖. ให้นกั เรียนอ่านแถบขอ้ ความที่ ๒ ตอนกลางคืนหน้ารอ้ นทตี่ ้นลาพูมีหงิ่ ห้อยบนิ วอ่ นอยูเ่ ตม็ ทุกตน้ หิ่งหอ้ ยน้ี เปน็ แมลงตวั เลก็ ๆ ทีม่ ีแสงในตัวเอง เวลามนั บนิ แลดู วิบแว๊บ วบิ แวบ๊ สวยมาก บริเวณอน่ื มืดหมด ยกเว้นตน้ ลาพูท่มี ีหง่ิ ห้อยสอ่ งแสงสว่างอย่รู ะยิบระยบั ราวกบั งานวนั เฉลมิ ฯ สวยนา่ ดูมาก โดยเฉพาะในเวลากลางคนื ข้างแรมที่มเี ดือนมืด ตน้ ลาพจู ะสว่างดีมาก ทพิ ยว์ าณี สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา แลว้ ช่วยกนั ระดมความคิดในประเดน็ ต่อไปน้ี - ใจความสาคญั ของเร่ืองคืออะไร (ตอนกลางคนื หนา้ รอ้ นท่ตี น้ ลาพมู ีห่ิงห้อยบนิ ว่อนอยเู่ ต็มทกุ ต้น)

- สรปุ ความไดว้ า่ อย่างไร (ในหนา้ รอ้ นตอนกลางคนื จะมีห่ิงห้อยซึ่งเปน็ แมลงเลก็ ๆ ท่ีมีแสงสวา่ งใน ตวั เองมาบินอยบู่ ริเวณตน้ ลาพสู วยงามมาก) - รายละเอียดของเร่ืองเป็นอย่างไร (ตอนกลางคนื หนา้ ร้อนตน้ ลาพูจะสวา่ งไปด้วยห่ิงห้อย ซึ่ง เป็นแมลงตวั เล็ก ๆ มีแสงสว่างในตัวเอง ดูระยิบระยบั ราวกับไฟวนั เฉลิม ฯ สวยงามมาก โดยเฉพาะในคืน เดือนมืดจะย่ิงสวา่ งมาก) ๗. ครเู ฉลยคาตอบพร้อมทง้ั อธิบายเพ่ิมเติม ขัน้ สรุป ๘. ให้นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ - การอ่านจับใจความ สรุปความ และอธบิ ายรายละเอียดจากเรื่องที่อา่ น เป็นสิ่งสาคญั ท่ีจะทาให้ การอา่ นมีประสิทธิภาพและเป็นพ้ืนฐานการอ่านในระดับท่ียากขน้ึ สือ่ การเรยี นรู้ ๑. แถบข้อความ ๒. ใบความรู้ เรอ่ื ง หลกั การจบั ใจความสาคญั ๓. ใบงาน เรือ่ ง หลักการจับใจความสาคัญ ๔. สื่อ Power point เรอ่ื ง หลักการจบั ใจความสาคัญ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผลงาน/ชนิ้ งาน/ การ เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการ แนวทางการให้ เกณฑ์การประเมนิ ปฏบิ ตั งิ าน ประเมิน คะแนน ๘– ๑๐ คะแนน อยู่ในระดบั ดีมาก หลกั การจับใจความสาคัญ ใบงาน เรือ่ ง หลักการอ่าน ทดสอบหลกั การอา่ น ๖ – ๗ คะแนน อยูใ่ นระดบั ดี จับใจความสาคัญ จบั ใจความสาคญั ๓– ๕ คะแนน อย่ใู นระดับ พอใช้ ไดค้ ะแนน ตงั้ แตร่ ะดับ ๑ – ๒ คะแนน อยู่ในระดบั คุณภาพดี ข้นึ ไป ถือว่า ผ่าน ควร ปรบั ปรงุ กจิ กรรมเสนอแนะ ให้นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของแต่ละคน ไดแ้ ลกเปลย่ี นความคิดกนั อย่างอิสระ จากนน้ั ครูจงึ ช่วย แนะนาให้นักเรยี นจับใจความได้ถูกต้อง

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความตง้ั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผรู้ ับการประเมนิ ในการทางาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมิน ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ ง ที่ตรงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๑. รักชาติ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติร้องเพลงชาตไิ ด้และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามสทิ ธแิ ละหน้าที่ของนักเรยี น กษัตริย์ ๑.๓ ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ๑.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมที่สรา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชุมชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีเ่ กย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริย์ ตามท่โี รงเรยี นและชุมชนจัดขึ้น ๒. ซ่อื สตั ย์ ๒.๑ ให้ข้อมลู ทีถ่ ูกตอ้ ง และเป็นจริง สุจริต ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่งิ ที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทีจ่ ะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ตี นให้ ไว้กับเพ่ือน พ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้อนื่ ดว้ ยความซ่อื ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางท่ีไมถ่ ูกต้อง ๓. มวี ินัย ๓.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครวั รบั ผดิ ชอบ และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรู้ได้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รพั ย์สนิ ของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ พอเพยี ง รักษาดแู ลอยา่ งดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอย่างดี ๕.๓ ปฏบิ ัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตผุ ล

คณุ ลักษณะ ๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผูอ้ ่ืนและไม่ทาใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อนพร้อมให้อภยั เมือ่ ผอู้ นื่ กระทาผิดพลาด ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ ๔๓๒๑ รายการประเมิน ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ ีวติ ประจาวันบนพน้ื ฐานของความรู้ ๖. มงุ่ มน่ั ในการ ขอ้ มูล ขา่ วสาร ทางาน ๕.๖ ร้เู ท่าทนั การเปล่ยี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรบั ตัว อยู่ ๗. รกั ความเปน็ รว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสุข ไทย ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย ๘. มจี ติ ๖.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ สาธารณะ ๗.๑ มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘.๑ รู้จักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบง่ ปันส่ิงของให้ผอู้ ื่น ๘.๓ ดูแล รกั ษาทรัพย์สมบตั ิของห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ลงชื่อ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดีมาก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ ตามสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เรื่อง สรปุ ความคิด พินจิ การอ่าน (๑) เวลาเรยี น ๒ คาบ รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิริมงคล กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพอื่ นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ิต และมนี ิสัยรกั การอา่ น ตัวช้วี ดั ท ๑.๑ ม. ๒/๒ จบั ใจความสาคญั สรปุ ความ และอธิบายรายละเอยี ดจากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ม. ๒/๔ อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ และขอ้ โต้แย้งเกยี่ วกับเรื่องท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มีมารยาทในการอา่ น จุดประสงค์การเรียนรูส้ ูต่ ัวชี้วัด ๑. สรปุ หลักการอา่ นจับใจความ การสรุปความ การอธิบายรายละเอยี ด และการอภปิ รายแสดงความ คิดเห็น (K) ๒. สรุปความและอธบิ ายรายละเอียดจากการอา่ นโคลงพระสรุ โิ ยทัยขาดคอช้าง (P) ๓. จบั ใจความสาคัญจากการอา่ นโคลงพระสรุ โิ ยทยั ขาดคอชา้ ง (P) ๔. แสดงความคิดเหน็ จากการอ่านโคลงพระสรุ ิโยทัยขาดคอชา้ ง (P) ๕. เห็นความสาคญั ของการอ่านจบั ใจความ การสรปุ ความ การอธบิ ายรายละเอยี ด การแสดงความคิดเห็น และมีมารยาทในการอา่ น (A) สาระสาคญั (คาชแี้ จง) การอ่านจบั ใจความ สรุปความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรือ่ งท่ีอ่าน เป็นส่ิงสาคัญที่จะทาให้การอา่ นมี ประสทิ ธิภาพและเป็นพ้ืนฐานการอ่านในระดับทีย่ ากขนึ้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นา ๑. ให้นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดังนี้ ๑.๑ เพราะเหตุใดเมื่อนกั เรียนอ่าน นวนยิ ายหรือข่าวบันเทิงแลว้ นักเรียนเขา้ ใจเรอ่ื งราว และแสดงความคิดเห็นได้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. ให้นักเรยี นทบทวนความรู้ เร่ือง การอ่านจบั ใจความ การสรปุ ความ การอธิบายรายละเอยี ด และการ แสดงความคดิ เหน็

๓. ให้นักเรียนอ่านโคลงพระสุรโิ ยทัยขาดคอชา้ งแลว้ ทากิจกรรมผ้งึ แตกรัง ซงึ่ มวี ธิ ปี ฏิบัติ ดังน้ี ๓.๑ ครกู าหนดหัวขอ้ การทากิจกรรมแลว้ แจ้งใหน้ ักเรียนทราบ ดงั น้ี ๑) เขียนโคลงสส่ี ุภาพบาททีเ่ ปน็ ใจความสาคัญของแต่ละบท ๒) สรปุ ความจากโคลงพระสรุ โิ ยทยั ขาดคอช้าง ๓) อธิบายรายละเอียดของเหตุการณใ์ นโคลงพระสรุ ิโยทัยขาดคอชา้ ง ๔) แสดงความคดิ เห็นว่าจะนาแบบอย่างความจงรกั ภกั ดแี ละความเสียสละของ สมเดจ็ พระสรุ โิ ยทัย ไปใชใ้ นชวี ติ จริงอยา่ งไร ๓.๒ แบ่งนกั เรียนเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ ๔ คน โดยใหน้ ักเรียนเลอื กสมาชกิ เองแต่ต้องมีนักเรียนเกง่ ปานกลาง และอ่อนรวมอยใู่ นกลมุ่ เดยี วกัน ๓.๓ แต่ละกลุ่มวางแผนให้เพอื่ นไปทากจิ กรรมตามหัวขอ้ ท่ีครกู าหนดไว้ ๔ หวั ข้อ ข้างตน้ ภายใน เวลาทก่ี าหนด ๓.๔ เม่ือหมดเวลาตัวแทนกลบั สู่กลุ่มเดิมเพ่ือนาส่งิ ที่ไดไ้ ปทารว่ มกับกลุ่มย่อยมานาเสนอให้ เพอื่ น ๆ ฟงั ๔. ใหน้ กั เรียนเขียนสรปุ ลงในใบงานท่ี ๑ เรื่อง การอา่ นจับใจความและแสดงความคิดเหน็ จากโคลง ภาพพระราชพงศาวดาร (ข้อ ๑) จากนัน้ ครูเฉลยคาตอบ ขน้ั สรุป ๕. ให้นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ - การอา่ นจับใจความ สรุปความ อธบิ ายรายละเอยี ด และแสดงความคิดเห็น เป็นส่ิงสาคญั ทจ่ี ะทาให้ การอา่ นมีประสทิ ธภิ าพ และเปน็ พ้นื ฐานการอา่ นในระดบั ที่ยากข้ึน สื่อการเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เรอ่ื ง การอ่านจบั ใจความและแสดงความคดิ เห็นจากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (ข้อ ๑) การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม(A) ทกั ษะและกระบวนการ(P) - สังเกตการณ์ตอบคาถาม ๑. ประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ ๑.ประเมินทักษะการอ่าน และการแสดงความคดิ เหน็ รายบุคคลในดา้ นความสนใจและ ๒. ประเมนิ ทักษะการเขียน - ตรวจผลการทากิจกรรม ตง้ั ใจเรยี น ๓. ประเมนิ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ และ มคี วามรบั ผดิ ชอบในการทากิจกรรม สงั เคราะหน์ าความรดู้ า้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมที่ ความมีระเบยี บวนิ ัยในการทางาน ได้รบั จากบทเรยี นไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวนั ๒. ประเมินความภาคภมู ใิ จในวรรณคดี ได้ และวรรณกรรมไทย ๔. ประเมินทักษะกระบวนการกลุ่ม กจิ กรรมเสนอแนะ ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุม่ ตามความสมัครใจ นักเรยี นจะไดร้ ว่ มกนั ทางานด้วยความตั้งใจและเต็มใจ มแี รงจงู ใจในการเรียนและมีความสนกุ สนานทไ่ี ด้ทางานกบั เพ่ือนในกลุม่ อื่น ๆ ด้วย

การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมินใบงานน้ีให้ผู้สอนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความและแสดงความคดิ เหน็ จากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑ์ประเมิน การอา่ นจบั ใจความ จับใจความสาคัญจาก จบั ใจความสาคัญจาก จับใจความสาคัญจาก จับใจความสาคัญจาก และแสดง โคลงทุกบทได้ถูกต้อง โคลงทุกบทได้ถูกต้อง โคลงได้ถูกต้อง โคลงไดถ้ ูกตอ้ ง ความคิดเหน็ สรปุ ความชดั เจน สรุปความชดั เจน เกือบทุกบท สรุปความ เปน็ สว่ นใหญ่ จากโคลงภาพ อธิบายรายละเอยี ดได้ อธบิ ายรายละเอียดได้ และอธิบายรายละเอียด สรปุ ความและอธบิ าย พระราชพงศาวดาร ถกู ต้องตามบทร้อยกรอง ถกู ต้องตามบทร้อยกรอง ไดด้ แี ม้จะมีขอ้ มูล รายละเอยี ดสนั้ ๆ ไมผ่ ดิ เพยี้ น ไมผ่ ดิ เพยี้ น บางส่วนขาดหายไปบา้ ง พอเขา้ ใจและแสดง แสดงความคิดเห็น แสดงความคดิ เห็นอยา่ ง และแสดงความคดิ เหน็ ความคดิ เห็นได้สัมพนั ธ์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ กบั บทร้อยกรองท่ีอา่ น สามารถนาไปใช้ ในชีวติ จรงิ ได้ เปน็ อยา่ งดี

ใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง การอา่ นจับใจความและแสดงความคดิ เห็นจากโคลงภาพ พระราชพงศาวดาร วนั ท่ี_________เดือน____________ พ.ศ. ______ ได้ ………………..คะแนน __________________ ชอ่ื _____________________ ชั้น ___________เลขท่ี _____ คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนอ่านโคลงพระสุริโยทัยขาดคอชา้ งแล้วทากิจกรรมตอ่ ไปน้ี ๑. โคลงพระสรุ ิโยทัยขาดคอชา้ ง ๑.๑ เขียนโคลงสส่ี ภุ าพบาทท่ีเปน็ ใจความสาคัญของแต่ละบท บทท่ี ๑ ___________________________________________________________________ บทท่ี ๒ ___________________________________________________________________ บทที่ ๓ ___________________________________________________________________ บทท่ี ๔ ___________________________________________________________________ บทที่ ๕ ___________________________________________________________________ บทที่ ๖ ___________________________________________________________________ ๑.๒ สรุปความจากโคลงพระสุริโยทัยขาดคอช้าง ________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ ๑.๓ อธิบายรายละเอยี ดของเหตุการณใ์ นโคลงพระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง _________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ ๑.๔ นกั เรยี นจะนาแบบอยา่ งความจงรกั ภักดีและความเสียสละของสมเด็จพระสรุ โิ ยทัย ไปใช้ในชีวิตจริงอยา่ งไร ________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ ตามสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่อื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ เรอ่ื ง สรปุ ความคดิ พนิ ิจการอ่าน (๑) เวลาเรยี น ๒ คาบ รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ วชิ าภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดสิงห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพ่อื นาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชวี ิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจริง ตวั ชวี้ ัด จับใจความสาคัญ สรปุ ความ และอธบิ ายรายละเอยี ดจากเรื่องท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม. ๒/๒ อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโตแ้ ย้งเก่ียวกับเรื่องทอี่ ่าน ท ๑.๑ ม. ๒/๔ มมี ารยาทในการอ่าน ท ๑.๑ ม. ๒/๘ สรุปเนือ้ หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ นในระดับทย่ี ากข้ึน ท ๕.๑ ม. ๒/๑ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ส่ตู ัวช้ีวดั ๑. สรปุ หลกั การอา่ นจับใจความ การสรุปความ การอธิบายรายละเอียด และการอภิปราย แสดงความคิดเห็น (K) ๒. สรุปความและอธิบายรายละเอยี ดจากการอ่านโคลงพันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชวี ิต (K) ๓. จบั ใจความสาคญั จากการอา่ นโคลงพันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชวี ิต (P) ๔. แสดงความคิดเหน็ จากการอา่ นโคลงพนั ท้ายนรสงิ ห์ถวายชีวิต (P) ๕. เหน็ ความสาคญั ของการอ่านจบั ใจความ การสรุปความ การอธบิ ายรายละเอียด การแสดงความ คิดเห็นและมีมารยาทในการอ่าน (A) สาระสาคัญ (คาชี้แจง) การอ่านจับใจความ สรุปความ และอธบิ ายรายละเอียดจากเรือ่ งท่อี ่าน เปน็ สิ่งสาคัญท่ีจะทาให้การอา่ นมี ประสิทธภิ าพและเป็นพื้นฐานการอ่านในระดับท่ียากขน้ึ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ๑. ให้นกั เรยี นดภู าพพันท้ายนรสิงหแ์ ลว้ รว่ มกันสนทนาเกี่ยวกบั ภาพ

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. ใหน้ กั เรยี นจบั คูก่ ับเพ่อื นอ่านโคลงพันท้ายนรสงิ ห์ถวายชวี ติ แลว้ ทากิจกรรมใน ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การอ่านจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (ข้อ ๒) ตามประเดน็ ต่อไปน้ี - เขยี นโคลงสส่ี ุภาพบาททเ่ี ปน็ ใจความสาคัญของแตล่ ะบท - สรปุ ความจากโคลงพันท้ายนรสิงหถ์ วายชีวติ - อธบิ ายรายละเอยี ดของเหตุการณ์ในโคลงพนั ท้ายนรสิงหถ์ วายชีวิต - แสดงความคดิ เห็นว่านักเรียนจะแสดงความจงรักภกั ดีต่อพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ไดอ้ ย่างไรบ้าง ๓. ให้นักเรยี นท่ไี ด้รับเลอื กออกมาอ่านกจิ กรรมท่ที าเสรจ็ แลว้ ให้เพื่อนฟงั หน้าชนั้ เรียน เพื่อนและครู ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครูเฉลยแล้วอธิบายเพ่มิ เติม จากน้ันเกบ็ ผลงานของนักเรยี นไปตรวจเปน็ รายบุคคล ข้นั สรุป ๔. ใหน้ กั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดังนี้ - การอ่านจับใจความ สรุปความ อธบิ ายรายละเอยี ด และแสดงความคิดเหน็ เปน็ สิง่ สาคญั ทีจ่ ะทา ใหก้ ารอา่ นมีประสิทธภิ าพ และเป็นพื้นฐานการอ่านในระดับทีย่ ากขน้ึ ๕. ใหน้ ักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามท้าทาย ดงั น้ี - นกั เรียนจะนาทักษะการอ่านจับใจความ การสรุปความ การอธิบายรายละเอยี ด และการแสดง ความคดิ เห็นไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ในสถานการณ์ใดได้บ้าง สื่อการเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความและแสดงความคดิ เห็นจากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (ข้อ ๒) ๒. ภาพ ๓. ใบงาน

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ด้านสมรรถนะ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม(A) ทกั ษะและกระบวนการ(P) - สงั เกตการณ์ตอบคาถาม ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ ๑.ประเมินทกั ษะการอ่าน และการแสดงความคดิ เหน็ รายบคุ คลในดา้ นความสนใจและ ๒. ประเมนิ ทักษะการเขยี น - ตรวจผลการทากจิ กรรม ต้งั ใจเรียน ๓. ประเมนิ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ และ มคี วามรบั ผดิ ชอบในการทากิจกรรม สังเคราะหน์ าความร้ดู า้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมที่ ความมีระเบยี บวนิ ัยในการทางาน ไดร้ บั จากบทเรยี นไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ๒. ประเมนิ ความภาคภมู ิใจในวรรณคดี ได้ และวรรณกรรมไทย ๔. ประเมินทักษะกระบวนการกลุ่ม กิจกรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนได้ทางานกับเพ่ือนที่นกั เรยี นสนทิ ท่สี ุด นักเรียนจะได้ร่วมกันทางานดว้ ยความตงั้ ใจ และมคี วามสุขกับการเรียน

การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) การประเมินใบงานน้ีให้ผู้สอนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความและแสดงความคดิ เหน็ จากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ เกณฑ์ประเมิน การอา่ นจบั ใจความ จับใจความสาคัญจาก จบั ใจความสาคัญจาก จับใจความสาคัญจาก จับใจความสาคัญจาก และแสดง โคลงทุกบทได้ถูกต้อง โคลงทุกบทได้ถูกต้อง โคลงได้ถูกต้อง โคลงไดถ้ ูกตอ้ ง ความคิดเหน็ สรปุ ความชดั เจน สรุปความชดั เจน เกือบทุกบท สรุปความ เปน็ สว่ นใหญ่ จากโคลงภาพ อธิบายรายละเอยี ดได้ อธบิ ายรายละเอียดได้ และอธิบายรายละเอียด สรปุ ความและอธบิ าย พระราชพงศาวดาร ถกู ต้องตามบทร้อยกรอง ถกู ต้องตามบทร้อยกรอง ไดด้ แี ม้จะมีขอ้ มูล รายละเอยี ดสนั้ ๆ ไมผ่ ดิ เพยี้ น ไมผ่ ดิ เพยี้ น บางส่วนขาดหายไปบา้ ง พอเขา้ ใจและแสดง แสดงความคิดเห็น แสดงความคดิ เห็นอยา่ ง และแสดงความคดิ เหน็ ความคดิ เห็นได้สัมพนั ธ์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ กบั บทร้อยกรองท่ีอา่ น สามารถนาไปใช้ ในชีวติ จรงิ ได้ เปน็ อยา่ งดี

ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง การอา่ นจับใจความและแสดงความคดิ เหน็ จากโคลงภาพ พระราชพงศาวดาร วนั ท่ี_________เดือน____________ พ.ศ. ______ ได้ ………………..คะแนน __________________ ชื่อ_____________________ ชนั้ ___________เลขที่ _____ คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน ใหน้ ักเรยี นอ่านโคลงพนั ท้ายนรสงิ ห์ถวายชีวิตแล้วทากจิ กรรมต่อไปน้ี ๒. โคลงพนั ทา้ ยนรสิงหถ์ วายชวี ติ ๒.๑ เขยี นโคลงส่สี ุภาพบาทที่เปน็ ใจความสาคญั ของแตล่ ะบท บทที่ ๑__________________________________________________________________ บทท่ี ๒ __________________________________________________________________ บทท่ี ๓ __________________________________________________________________ บทที่ ๔ _________________________________________________________________ ๒.๒ สรุปความจากโคลงพนั ท้ายนรสิงหถ์ วายชวี ิต ________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ ๒.๓ อธิบายรายละเอียดของเหตุการณ์ในโคลงพันท้ายนรสิงหถ์ วายชวี ติ _________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ _____________________________________________________________________________ ๒.๔ นักเรยี นจะแสดงความจงรกั ภกั ดตี อ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวได้อยา่ งไรบา้ ง ________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ ตามสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง คุณค่าข้อคิดเตือนจิตใจ เวลาเรียน ๒ คาบ ภาคเรยี นที่ ๑ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย๓ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ผสู้ อน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิริมงคล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวดั สงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคิดเพอื่ นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวติ และมนี ิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่าและนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ตัวชวี้ ัด อา่ นหนงั สือ บทความ หรือคาประพนั ธ์อย่างหลากหลาย และประเมนิ ท ๑.๑ ม. ๒/๗ คณุ คา่ หรือแนวคดิ ท่ไี ด้จากการอ่าน เพ่ือนาไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ิต วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่นิ ที่อ่าน ท ๕.๑ ม. ๒/๒ พรอ้ มยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท ๕.๑ ม. ๒/๓ สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากการอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ท ๕.๑ ม. ๒/๔ จดุ ประสงค์การเรียนรสู้ ตู่ วั ชี้วดั ๑. อธบิ ายหลกั การพิจารณาคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (K) ๒. วิเคราะห์คุณค่าของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (P) ๓. สงั เคราะหส์ รุปความร้แู ละข้อคิดจากโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (P) ๔. เหน็ คณุ คา่ ของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (A) สาระสาคัญ (คาชแ้ี จง) การอ่านมีความสาคัญและจะเกดิ ประโยชนเ์ ม่ือผ้อู า่ นสามารถประเมินคุณค่าหรือแนวคิดท่ีได้ จากการอ่านและนาไปใช้ในการดาเนินชวี ติ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นา ๑. ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใช้คาถามท้าทาย ดังนี้ นกั เรยี นคดิ วา่ หนังสอื ทุกเล่มมีคณุ ค่าหรือไม่ เพราะเหตใุ ด กิจกรรมการเรยี นรู้ ๒. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาการพจิ ารณาคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมแลว้ ร่วมกันสนทนาในประเด็นต่อไปนี้ การพจิ ารณาคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมสามารถพิจารณาได้กด่ี ้าน อะไรบ้าง (๔ ดา้ น ได้แก่ คุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์ คุณค่าดา้ นแนวคิด คุณค่าด้านเนือ้ หา คณุ ค่าดา้ นสังคม) - คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลปม์ ลี ักษณะอยา่ งไร (การใช้ภาษาที่ทาใหผ้ ู้อา่ นได้รบั รสทางภาษา) - คณุ ค่าด้านแนวคดิ มีลักษณะอยา่ งไร (มีการสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมให้ผู้อา่ นนาไป ประยุกต์ ใชใ้ นชีวติ จรงิ ) - คณุ ค่าดา้ นเนื้อหามีลกั ษณะอย่างไร (เนอ้ื ความท่ีทาใหผ้ ู้อ่านได้รบั ความรแู้ ละเกดิ อารมณ์ ความรู้สกึ ) - คุณคา่ ดา้ นสังคมมลี ักษณะอยา่ งไร (สิ่งท่ีทาใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจสภาพความเป็นอยู่ของสังคมในยุค นนั้ ) ๓. ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ ง ครอู ธิบายเพิม่ เติม ๔. ให้นักเรยี นแบ่งกลุม่ ๖ กลุ่ม และแตล่ ะกล่มุ ควรมเี ด็กเก่ง ปานกลาง และอ่อนอยู่ด้วยเพราะเพื่อน เกง่ จะได้ชว่ ยสอนเพ่ือนอ่อน หลงั จากนั้น ให้สง่ ตัวแทนออกมาจับฉลากหัวข้อเพื่อทากจิ กรรม ดังนี้ กล่มุ ที่ ๑ อธบิ ายคุณค่าด้านเนื้อหาของโคลงพระสรุ ิโยทยั ขาดคอช้าง กลุ่มที่ ๒ อธิบายคุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ของโคลงพระสุรโิ ยทัยขาดคอชา้ ง กลมุ่ ท่ี ๓ อธบิ ายคุณคา่ ด้านเนอ้ื หาของโคลงพันทา้ ยนรสิงหถ์ วายชวี ติ กลุ่มที่ ๔ อธิบายคุณคา่ ด้านวรรณศลิ ป์ของโคลงพันทา้ ยนรสงิ หถ์ วายชีวิต กลุ่มที่ ๕ สรปุ ความรู้และข้อคิดจากโคลงพระสรุ ิโยทยั ขาดคอช้าง กลมุ่ ที่ ๖ สรุปความร้แู ละขอ้ คิดจากโคลงพนั ท้ายนรสงิ ห์ถวายชีวติ ๕. ให้แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอหน้าชัน้ เรยี น ทุกคนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องและแสดง ความคดิ เห็น ครูอธิบายเพ่ิมเติมใหส้ มบรู ณ์ ๖. ใหน้ ักเรียนทาใบงานท่ี ๒ เร่ือง การประเมินคุณค่าและแนวคิดจากการอา่ น ครูตรวจสอบผลงานของ นักเรยี นเปน็ รายบุคคล ข้ันสรปุ ๗. ให้นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ การอ่านมคี วามสาคญั และจะเกิดประโยชน์เมื่อผอู้ า่ นสามารถประเมนิ คุณคา่ หรือแนวคดิ ที่ได้ จากการอา่ นและนาไปใช้ในการดาเนินชวี ติ

๘. ครมู อบหมายให้นักเรียนนาเร่ืองส้นั มาคนละ ๑ เรื่อง สาหรบั ใช้ทากจิ กรรมในชั่วโมงต่อไป สอื่ การเรยี นรู้ ๑. ใบงาน เรอื่ ง การประเมินคณุ ค่าและแนวคิดจากการอ่าน ๒. ฉลาก การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม(A) ทกั ษะและกระบวนการ(P) - สงั เกตการตอบคาถาม ๑.ประเมนิ ทกั ษะการอ่าน และการแสดงความคดิ เห็น ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ ๒. ประเมนิ ทักษะการเขยี น - ตรวจผลการทากิจกรรม รายบุคคลในด้านความสนใจและ ตั้งใจเรยี น ๓. ประเมินทักษะการคิดวเิ คราะห์ และ มคี วามรับผิดชอบในการทากิจกรรม สังเคราะหน์ าความรดู้ า้ นคุณธรรมจริยธรรมที่ ความมรี ะเบยี บวินัยในการทางาน ได้รับจากบทเรยี นไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจาวัน ๒. ประเมนิ ความภาคภูมใิ จในวรรณคดี ได้ และวรรณกรรมไทย ๔. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ กิจกรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนได้ทางานกบั เพ่ือนทนี่ กั เรียนสนทิ ที่สดุ นักเรียนจะได้รว่ มกันทางานดว้ ยความต้งั ใจ และมคี วามสุขกับการเรยี น

การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมินใบงานนี้ให้ผสู้ อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เร่อื ง การประเมินคุณคา่ และแนวคิดจากการอา่ น ระดับคะแนน ๔ ๓๒ ๑ เกณฑ์การประเมนิ อธบิ ายคุณค่า ของโคลงภาพ การประเมินคุณคา่ อธิบายคุณคา่ อธบิ ายคณุ คา่ อธิบายคณุ คา่ พระราชพงศาวดาร ไดถ้ ูกต้อง และแนวคิดจาก ของโคลงภาพ ของโคลงภาพ ของโคลงภาพ อย่างส้นั ๆ สรุปความรูแ้ ละข้อคิด การอา่ น พระราชพงศาวดาร พระราชพงศาวดาร พระราชพงศาวดาร ได้เฉพาะประเดน็ หลกั การวิเคราะห์ข้อคดิ ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง และการเสนอแนวทาง การปฏบิ ตั ิยงั ทาได้ ครอบคลุมและชดั เจน ครอบคลุมและชดั เจน มีการขยายความ ไม่ชัดเจน แตก่ ็พยายาม สรุปความรแู้ ละข้อคิดได้ สรปุ ความร้แู ละข้อคิด เลก็ น้อย สรุปความรู้ เสนอใหส้ มั พันธ์ กับชีวิตจริง หลากหลายประเด็น นา ไดห้ ลากหลายประเด็น และข้อคิดได้ ข้อคิดไปวเิ คราะห์อยา่ ง นาขอ้ คดิ ไปวิเคราะห์ หลายประเด็น ละเอียด อย่างละเอยี ด แมบ้ างประเด็น เสนอแนวทาง เสนอแนวทาง จะไม่ชดั เจนนัก การปฏบิ ัติ การปฏิบัติ นาข้อคิดมาวิเคราะห์ ท่ีทาไดจ้ ริงทกุ ข้อ ทีท่ าได้จริง ได้ตามทกี่ าหนด และเป็นประโยชน์ เปน็ ส่วนใหญ่ และเสนอแนวทาง ตอ่ ส่วนรวม และเปน็ ประโยชน์ การปฏิบตั ิหลายข้อ อย่างชดั เจน ตอ่ สว่ นรวม แตบ่ างข้อไม่ตรงกับ จุดประสงค์ เกณฑก์ ารประเมิน ๑) การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตง้ั แต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน ๑ รายการ ถือวา่ ไม่ผ่าน

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) การประเมนิ ใบงานนี้ให้ผูส้ อนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เรอ่ื ง การประเมินคณุ คา่ และแนวคดิ จากการอ่าน ระดบั การประเมนิ เลขท่ี ช่อื -สกลุ ช้ัน ม……/…….. ๔ ๓ ๒ ๑ สรปุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ผปู้ ระเมิน ………………………………………… (นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล) ครูผู้สอน

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ✓ ลงในช่อง ทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชือ่ -สกลุ ความตง้ั ใจ ความ การตรงตอ่ ความสะอาด ผลสาเรจ็ รวม ท่ี ของผรู้ ับการประเมนิ ในการทางาน รับผิดชอบ เวลา เรยี บรอ้ ย ของงาน ๒๐ คะแนน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมิน ลงช่ือ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ให้ ๑ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมนอ้ ยครัง้ ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ ง ที่ตรงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๑. รักชาติ ๑.๑ ยนื ตรงเมื่อไดย้ ินเพลงชาติร้องเพลงชาตไิ ด้และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏบิ ัติตนตามสทิ ธแิ ละหน้าที่ของนักเรยี น กษัตริย์ ๑.๓ ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ๑.๔ เข้าร่วมกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมที่สรา้ งความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชุมชน ๑.๕ เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา ๑.๖ เข้าร่วมกจิ กรรมและมีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมทีเ่ กย่ี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริย์ ตามท่โี รงเรยี นและชุมชนจัดขึ้น ๒. ซ่อื สตั ย์ ๒.๑ ให้ข้อมลู ทีถ่ ูกตอ้ ง และเป็นจริง สุจริต ๒.๒ ปฏบิ ัติในส่งิ ที่ถกู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทีจ่ ะทาความผดิ ทาตามสัญญาท่ตี นให้ ไว้กับเพ่ือน พ่อแม่ หรอื ผปู้ กครอง และครู ๒.๓ ปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้อนื่ ดว้ ยความซ่อื ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางท่ีไมถ่ ูกต้อง ๓. มวี ินัย ๓.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับของครอบครวั รบั ผดิ ชอบ และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรู้ได้อย่างมเี หตผุ ล ๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รพั ย์สนิ ของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ พอเพยี ง รักษาดแู ลอยา่ งดี และใช้เวลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอย่างดี ๕.๓ ปฏบิ ัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตผุ ล

คณุ ลักษณะ ๕.๔ ไมเ่ อาเปรียบผูอ้ ่ืนและไม่ทาใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อนพร้อมให้อภยั เมือ่ ผอู้ นื่ กระทาผิดพลาด ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ ๔๓๒๑ รายการประเมิน ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใชช้ ีวติ ประจาวันบนพน้ื ฐานของความรู้ ๖. มงุ่ มน่ั ในการ ขอ้ มูล ขา่ วสาร ทางาน ๕.๖ ร้เู ท่าทนั การเปล่ยี นแปลงทางสังคม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรบั ตัว อยู่ ๗. รกั ความเปน็ รว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสุข ไทย ๖.๑ มีความตง้ั ใจและพยายามในการทางานท่ีได้รบั มอบหมาย ๘. มจี ติ ๖.๒ มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพื่อใหง้ านสาเร็จ สาธารณะ ๗.๑ มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย ๗.๒ เหน็ คุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ๘.๑ รู้จักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน ๘.๒ อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบง่ ปันส่ิงของให้ผอู้ ื่น ๘.๓ ดูแล รกั ษาทรัพย์สมบตั ิของห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๔ เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน ลงชื่อ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ให้ ๓ คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ ๒ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมน้อยคร้งั ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดีมาก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรบั ปรุง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๗ ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๗ เรอ่ื ง พฒั นาปัญญาดว้ ยหนงั สือ เวลาเรียน ๒ คาบ รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนมธั ยมวดั สงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาในการดาเนินชีวิต และมีนสิ ัยรกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างเหน็ คุณคา่ และนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง ตัวชีว้ ัด อา่ นหนงั สือ บทความ หรือคาประพันธ์อย่างหลากหลาย และประเมิน ท ๑.๑ ม. ๒/๗ คุณคา่ หรือแนวคดิ ท่ีได้จากการอ่าน เพ่ือนาไปใชแ้ กป้ ัญหาในชวี ิต วเิ คราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ทอ่ี ่าน ท ๕.๑ ม. ๒/๒ พรอ้ มยกเหตุผลประกอบ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน ท ๕.๑ ม. ๒/๓ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอา่ นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ท ๕.๑ ม. ๒/๔ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ู่ตัวช้ีวัด ๑. สรปุ หลกั การพิจารณาคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม (K) ๒. วเิ คราะห์คณุ ค่าของเร่ืองท่อี ่าน (P) ๓. สงั เคราะห์สรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเรื่องทอี่ ่าน (P) ๔. เห็นคณุ ค่าของการอ่านและมีมารยาทในการอ่าน (A) สาระสาคญั (คาชแ้ี จง) การอ่านทาให้มคี วามรแู้ ละความคิดกวา้ งไกล ความรแู้ ละความคิดสามารถสะสมได้ตลอดชีวิต การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นา ๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใชค้ าถามท้าทาย ดังน้ี - ความคิดของนักเรยี นเตบิ โตขึ้นจากสง่ิ ใดบ้าง

กิจกรรมการเรยี นรู้ ๒. ให้นักเรยี นร่วมกนั ทบทวนความรู้ เรื่อง การพิจารณาคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๓. ใหน้ กั เรยี นจับคู่กับเพ่ือนนาเรือ่ งส้นั มาแลกกนั อ่านแลว้ เลอื กเร่ืองส้ันคลู่ ะ ๑ เรอ่ื ง จากน้ันพจิ ารณา ตามหัวขอ้ ต่อไปนี้ ๓.๑ คุณค่าของเร่ือง ๓.๒ ความรูท้ ่ไี ด้จากเรอ่ื ง ๓.๓ ขอ้ คดิ ทีไ่ ด้รบั จากเร่อื ง ๓.๔ แนวทางการนาขอ้ คิดไปใช้ในชวี ิตจรงิ และผลท่ีเกิดข้ึน ๔. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะคู่ออกมานาเสนอการประเมินคุณค่าและแนวคิดของเร่ืองสน้ั หนา้ ช้ันเรียนเพื่อนๆ รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ และให้คาชมเชย ขั้นสรปุ ๕. ใหน้ กั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั นี้ การอ่านทาใหม้ ีความรู้และความคดิ กว้างไกล ความรู้และความคดิ สามารถสะสมได้ตลอดชีวิต สอื่ การเรียนรู้ ๑. หนังสอื นอกเวลา เร่ือง อูฐ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม(A) ทักษะและกระบวนการ(P) - สงั เกตการตอบคาถาม ๑.ประเมินทักษะการอ่าน ทัง้ ใบงานและตอบหน้าช้นั ๑. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเปน็ ๒. ประเมนิ ทักษะการเขยี น เรียนและการแสดงความ รายบคุ คลในด้านความสนใจและ คดิ เหน็ ต้ังใจเรียน ๓. ประเมินทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ และ - ตรวจผลการทากิจกรรม มีความรับผดิ ชอบในการทากิจกรรม สังเคราะหน์ าความรูด้ า้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมท่ี ความมีระเบยี บวนิ ัยในการทางาน ได้รบั จากบทเรยี นไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ๒. ประเมนิ ความภาคภมู ใิ จในวรรณคดี ได้ และวรรณกรรมไทย ๔. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลมุ่ กิจกรรมเสนอแนะ ให้นกั เรยี นร่วมกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านโดยให้นกั เรียนเลือกอ่านหนังสือเรอ่ื ง อูฐ แล้วประเมิน คุณค่า และแนวคิดของหนังสือเลม่ นน้ั ผลดั กนั มานาเสนอหน้าชนั้ เรยี นวนั ละ ๑ คน หรือให้นักเรียนนาเสนอ ดว้ ยการเขียน แล้วนาไปตดิ บนปา้ ยนิเทศ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดับคะแนน ลาดับ ชอื่ -สกลุ ความตัง้ ใจ ความ การตรงต่อเวลา ความสะอาด ผลสาเรจ็ ของ รวม ที่ ของผู้รับการ ในการทางาน รับผิดชอบ เรยี บร้อย งาน ๒๐ คะแนน ประเมิน ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ ประเมนิ ลงชื่อ .................................................... ผู้ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ ๔ คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ให้ ๑ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ๑๘ - ๒๐ ดีมาก ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยครง้ั ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ – ๑๓ พอใช้ ต่ากว่า ๑๐ ปรับปรงุ

แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในช่อง คณุ ลักษณะ ท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงค์ ระดบั คะแนน ด้าน รายการประเมิน ๔๓๒๑ ๑. รกั ชาติ ๑.๑ ยืนตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาตริ ้องเพลงชาตไิ ด้และอธิบายความหมายของเพลงชาติ ศาสน์ ๑.๒ ปฏบิ ัตติ นตามสิทธแิ ละหน้าท่ีของนักเรยี น กษตั ริย์ ๑.๓ ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทางานกบั สมาชกิ ในโรงเรียน ๑.๔ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมทีส่ รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนและชุมชน ๑.๕ เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ของศาสนา ๑.๖ เข้ารว่ มกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมท่เี ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามที่โรงเรียนและชมุ ชนจดั ข้ึน ๒. ซื่อสัตย์ ๒.๑ ให้ข้อมลู ที่ถูกต้อง และเปน็ จริง สุจริต ๒.๒ ปฏบิ ตั ิในสง่ิ ทถี่ กู ต้อง ละอาย และเกรงกลวั ทจ่ี ะทาความผดิ ทาตามสญั ญาทีต่ นให้ ไว้กับเพื่อน พ่อแม่ หรอื ผ้ปู กครอง และครู ๒.๓ ปฏิบตั ิตอ่ ผูอ้ นื่ ด้วยความซอ่ื ตรง ไมห่ าประโยชนใ์ นทางท่ีไมถ่ ูกต้อง ๓. มวี นิ ัย ๓.๑ ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคบั ของครอบครัว รบั ผิดชอบ และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจาวนั และ รบั ผดิ ชอบในการทางาน ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๔.๑ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรยี นรูต้ า่ งๆ ๔.๒ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ ๔.๓ สรุปความรูไ้ ด้อย่างมเี หตุผล

๕. อยู่อยา่ ง ๕.๑ ใชท้ รัพย์สินของตนเอง เช่น สงิ่ ของ เครอื่ งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด ค้มุ ค่า และเกบ็ พอเพยี ง รักษาดแู ลอย่างดี และใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม ๕.๒ ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดแู ลอยา่ งดี ๕.๓ ปฏิบัตติ นและตดั สนิ ใจด้วยความรอบคอบ มเี หตุผล ๕.๔ ไม่เอาเปรยี บผ้อู ื่นและไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อนพร้อมใหอ้ ภัยเม่อื ผอู้ น่ื กระทาผิดพลาด คณุ ลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ ๔๓๒๑ ด้าน ๕.๕ วางแผนการเรียน การทางานและการใช้ชวี ิตประจาวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร ๕.๖ รเู้ ทา่ ทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรับตวั อยู่ รว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งมีความสุข ๖. มุ่งมน่ั ในการ ๖.๑ มีความต้ังใจและพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย ทางาน ๖.๒ มีความอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ ๗. รักความเปน็ ๗.๑ มจี ติ สานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย ไทย ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทย ๘. มีจิต ๘.๑ ร้จู ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู างาน สาธารณะ ๘.๒ อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ชว่ ยทา และแบง่ ปนั ส่งิ ของใหผ้ ้อู น่ื ๘.๓ ดแู ล รกั ษาทรัพยส์ มบตั ิของห้องเรียน โรงเรยี น ชุมชน ๘.๔ เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์ องโรงเรียน

ลงช่ือ .................................................... ผู้ ประเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ ๔ คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ ๓ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ ๒ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยครงั้ ให้ ๑ คะแนน ๙๑ – ๑๐๘ ดีมาก ๗๓ – ๙๐ ดี ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ต่ากว่า ๕๔ ปรบั ปรุง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๘ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง เรียนรู้คาราชาศัพท์ เวลาเรียน ๒ ชว่ั โมง รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ มิ งคล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิ ของชาติ ตัวช้ีวัด ท ๔.๑ ม. ๒/๔ ใชค้ าราชาศพั ท์ จดุ ประสงค์การเรียนรสู้ ตู่ ัวชี้วดั ๑. บอกความหมายคาราชาศัพท์ (K) ๒. อธิบายหลกั การใชค้ าราชาศัพท์ (K) ๓. วเิ คราะห์ชนิดของคาราชาศพั ท์ (P) ๔. เห็นความสาคัญของการเรยี นรคู้ าราชาศพั ท์ (A) สาระสาคัญ (คาชแ้ี จง) สงั คมไทยมบี ุคคลซึ่งอยู่ในฐานะแตกต่างกันและมีค่านิยมในการเคารพผอู้ าวโุ ส เราจึงต้องเข้าใจความหมาย ของคาราชาศัพท์และใช้ให้ถูกต้องเพื่อแสดงการยกย่อง และยังเป็นการอนุรักษ์วฒั นธรรมทางภาษาให้คงอยู่ต่อไป การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขัน้ นา ๑. ให้นักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามทา้ ทาย ดงั น้ี ในชวี ติ ประจาวนั นักเรยี นต้องใช้คาราชาศัพทม์ ากนอ้ ยเพยี งใด กิจกรรมการเรยี นรู้ ๒. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม ๘ กลุ่มแล้วส่งตัวแทนจับฉลากหมายเลขกลุ่มเพ่อื ศึกษาตามหัวข้อตอ่ ไปนี้ ณ หอ้ งศนู ย์การเรยี นรูภ้ าษาไทย กลุ่มที่ ๑ คาราชาศัพท์ที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ กลมุ่ ท่ี ๒ คาราชาศัพทท์ ี่ใชก้ ับสมเด็จพระบรมราชินนี าถ กลมุ่ ท่ี ๓ คาราชาศัพทท์ ่ีใช้กับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช กลมุ่ ท่ี ๔ คาราชาศัพท์ท่ีใชก้ ับสมเด็จพระบรมราชกมุ ารี กลุ่มที่ ๕ คาราชาศัพท์สาหรับพระสงฆ์ กล่มุ ที่ ๖ คาราชาศัพทส์ าหรับสุภาพชน กลุ่มท่ี ๗ หลกั การใช้คานามราชาศพั ท์

กลุม่ ที่ ๘ หลกั การใช้คากริยาราชาศพั ท์ ๓. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนทราบถึงการทากิจกรรมว่าเม่ือนกั เรียนได้หัวข้อท่ีจะศกึ ษาแล้วให้เขา้ ห้อง ห้องศูนย์การเรยี นร้ภู าษาไทยเพื่อคน้ ควา้ ความรู้ เม่ือหมดเวลาท่ีครกู าหนดใหก้ ลบั มายังหอ้ งเรยี น ๔. เมือ่ นกั เรียนกลับมาห้องเรยี นแลว้ ให้นาขอ้ มลู ท่ไี ด้มาปรกึ ษากันภายในกล่มุ เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้องและจัดข้อมูลใหเ้ ป็นระบบสาหรบั นาเสนอในชว่ั โมงต่อไป ขน้ั สรปุ ๕. ใหน้ ักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดงั นี้ สังคมไทยมบี ุคคลซึง่ อยูใ่ นฐานะแตกต่างกัน และมีค่านิยมในการเคารพผู้อาวโุ ส เราจึงต้องเขา้ ใจ ความหมายของคาราชาศัพท์และใช้ให้ถูกตอ้ งเพ่ือแสดงการยกย่อง และยังเปน็ การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมทางภาษา ใหค้ งอยู่ต่อไป ๖. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นทกุ คนไปอา่ นข่าวจากหนงั สือพมิ พต์ า่ ง ๆ หรอื ขา่ วจากอนิ เทอรเ์ นต็ สังเกตการ ใชค้ าราชาศัพท์กับบุคคลท่ีอยู่ในฐานะแตกต่างกันแล้วตรวจสอบว่าถูกต้องหรือไม่ บนั ทกึ ข้อมลู ที่ไดจ้ ากการศกึ ษาแล้ว นาความรมู้ าแลกเปล่ยี นกนั ในชว่ั โมงตอ่ ไป ส่ือการเรยี นรู้ ๑. ฉลาก ๒. หนังสอื และสอื่ อืน่ ๆ ในห้องศนู ย์การเรียนรู้ภาษาไทย ๓. ใบความรูเ้ รอื่ ง คาราชาศัพท์ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดา้ นสมรรถนะ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม(A) ทกั ษะและกระบวนการ(P) - สังเกตการตอบคาถาม ๑.ประเมินทกั ษะการอ่าน และการแสดงความคิดเห็น ๑. ประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ ๒. ประเมินทักษะการเขียน - ตรวจผลการทากจิ กรรม รายบคุ คลในด้านความสนใจและ ตัง้ ใจเรยี น ๓. ประเมนิ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ และ มีความรับผิดชอบในการทากิจกรรม สงั เคราะหน์ าความร้ดู ้านคุณธรรมจรยิ ธรรมที่ ความมีระเบียบวินัยในการทางาน ไดร้ ับจากบทเรียนไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวนั ๒. ประเมนิ ความภาคภมู ิใจในวรรณคดี ได้ และวรรณกรรมไทย ๔. ประเมนิ ทักษะกระบวนการกลุ่ม กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๙ ตามสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(Covid-19) หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๙ เร่ือง ราชาศพั ท์ในวรรณคดี เวลาเรียน ๒ คาบ รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ผู้สอน นางสาวมณฑกาญจน์ ศิรมิ งคล กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นมัธยมวดั สงิ ห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิ ของชาติ ตัวชว้ี ดั ท ๔.๑ ม. ๒/๔ ใช้คาราชาศพั ท์ จดุ ประสงค์การเรยี นรูส้ ู่ตวั ช้ีวัด ๑. สรุปหลักการใช้คาราชาศพั ท์ (K) ๒. ใช้คาราชาศัพท์ (P) ๓. เหน็ ความสาคญั ของการใชค้ าราชาศัพท์อย่างถกู ต้อง (A) สาระสาคญั (คาชแ้ี จง) ในชีวติ ประจาวนั เราต้องใช้คาราชาศัพท์อยเู่ สมอจงึ ต้องเรียนร้แู ละใช้ให้ถูกต้อง การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ใช้กับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒/๑) ขั้นนา ๑. ให้นักเรยี นดูภาพกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค แล้วร่วมกันสนทนาเกยี่ วกับการจดั พระราชพธิ ี- เห่เรอื โดยพยายามใชค้ าราชาศพั ท์ให้ถกู ตอ้ งครชู ว่ ยแนะนา กิจกรรมการเรียนรู้ ๒. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอความรู้ เรือ่ ง คาราชาศัพท์ที่ได้ศกึ ษาในชัว่ โมงท่ีแล้ว ๓. เมอื่ ทกุ กล่มุ นาเสนอความรเู้ รยี บรอ้ ยแลว้ ครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เติมและร่วมกนั สรปุ ความเขา้ ใจ ๔. ใหน้ ักเรยี นช่วยกนั หาคาราชาศพั ท์ในโคลงภาพพระราชพงศาวดารอธบิ ายความหมาย แลว้ ตรวจสอบวา่ การใชค้ าราชาศัพท์น้ันถูกต้องหรือไม่ ๕. ใหน้ ักเรยี นทุกคนนาข้อมูลทไ่ี ดจ้ ากการสังเกตและตรวจสอบการใช้คาราชาศัพท์ ในขา่ วทางหนังสอื พมิ พ์ หรอื อินเทอร์เน็ต มาสนทนาในกลุ่มของตนเองเพ่อื แลกเปลี่ยนความร้กู ัน จากน้ันทกุ กลุ่มจงึ ร่วมกันอภปิ รายกลุ่มใหญ่ อกี คร้ัง

ขน้ั สรุป ๖. ให้นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี ในชีวติ ประจาวันเราตอ้ งใช้คาราชาศพั ท์อยู่เสมอจงึ ต้องเรยี นรู้และใช้ใหถ้ ูกตอ้ ง ๗. ให้นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดงั นี้ การทภี่ าษาไทยมีคาราชาศัพท์มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร สือ่ การเรยี นรู้ ๑. ภาพ ๒. ใบความร้เู รอ่ื ง คาราชาศัพท์ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดา้ นสมรรถนะ มคี ุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม(A) ทักษะและกระบวนการ(P) - สังเกตการตอบคาถาม ๑.ประเมนิ ทกั ษะการอ่าน และการแสดงความคิดเหน็ ๑. ประเมนิ พฤติกรรมในการทางานเปน็ ๒. ประเมนิ ทักษะการเขียน - ตรวจผลการทากจิ กรรม รายบคุ คลในด้านความสนใจและ ตั้งใจเรียน ๓. ประเมินทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ และ มคี วามรับผิดชอบในการทากิจกรรม สงั เคราะหน์ าความร้ดู า้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมที่ ความมรี ะเบียบวินัยในการทางาน ได้รับจากบทเรยี นไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ๒. ประเมนิ ความภาคภมู ใิ จในวรรณคดี ได้ และวรรณกรรมไทย ๔. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม กิจกรรมเสนอแนะ ใหน้ ักเรยี นเรยี นรแู ้ บบแลกเปลยี่ น เป็ นทง้ั ผูร้ บั ความรแู ้ ละผูใ้ หค้ วามรู ้ นักเรยี นจะเกดิ ความภาคภมู ใิ จและมกี าลงั ใจในการศกึ ษาคน้ ควา้