สรุป บทที่ 4 วัสดุและเครื่องมือพื้นฐาน

บทท4ี่ วสั ดแุ ละเครอ่ื งมอื พนื้ ฐาน

4.1วสั ดุ

วัสดมุ ีอยหู่ ลายประเภท ทงั้ จากธรรมชาติ และมนุษยส์ รา้ งข้ึนหรอื ทเ่ี รียกวา่ "วสั ดุสังเคราะห"์ วัสดบุ างประเภทอาจนำมาใชไ้ ด้ทันทีโดยไมม่ กี ารแปรรปู หรอื มกี ารแปรรปู ให้เหมาะสมต่อการนำไปใช้งานโดยกระบวนการในการแปรรปู จะแตกตา่ งกันตามเหมาะสมของสมบัตวิ สั ดุ และความตอ้ งการในการใช้งาน ในอดีตวสั ดปุ
เขาสตั ว์ หนังสัตว์ ใบไม้ นำมาสรา้ งเป็นส่ิงของเครื่องใช้ ต่อมาได้มีการนำวัสดมุ าพัฒนาเพื่อนำไปใชป้ ระโยชน์ไดม้ ากข้ึน เช่น โลหะ ไม้ เซรามิก คอมโพสิต และวัสดุใหม่

ตวั อยา่ งประเภทเหล็กในงานชา่ ง
- เหล็กฉาก

- เหลก็ เสน้ กลม

- เหล็กกลอ่ ง

- เหล็กแผน่

- เหล็กทอ่ ดำ

ตวั อยา่ งโลหะประเภทไมใ่ ช่เหลก็ ท่ใี ชใ้ นชีวติ ประจำวัน
- สงั กะสี

- ทอง

- อะลมู ิเนยี ม

- สเตนเลส

แบ่งเปน็ 2ประเภทใหญๆ่ คอื
1. ไมส้ งั เคราะห์พลาสติก

2. ไมส้ งั เคราะหไ์ ฟเบอร์ซเี มนต์

นอกจากนี้ แกว้ ที่เราใชใ้ นปจั จบุ ัน คอื เซรามกิ ชนดิ หนึ่งเกดิ จากการผสม ของ ดนิ หิน ทราย และแรธ่ าตตุ ่างๆ ซึ่งเปน็ วสั ดุท่ีมวี ามโปรง่ ใส ความแข็งแกรง่ และความมันแวววาว มีองค์ประกอบหลักคือ สารประกอบซิลิคอน ซงึ่ ผา่ นกระบวนการผลติ ที่อณุ หภมู ิสงู โดยเม่ือแก้วผา่ นกระบวนการปรับปรงุ
สมบัติ และข้นึ รปู เป็นแผน่ จะเรยี กวา่ "กระจก" การผลติ กระจกเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการในการใช้งานของมนุษย์ สามารถเป็นกระจกออกได้ 6 ประเภท

4.2เครอ่ื งมอื พืน้ ฐาน

ในการสร้างช้ินงานตามแบบร่างทอี่ อกแบบไว้ใหเมคี วามถูกตอ้ งทง้ั รปู รา่ ง มาตราส่วน และมีความสวยงามนนั้ นอกจากจะตอ้ งเลือกวสั ดทุ เ่ี หมาะสมแลว้
จะตอ้ งเลอื กใชเ้ ครือ่ งมอื ใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของงานและวัสดุด้วย เพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภยั และได้ชิ้นงานตามตอ้ งการเครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการสร้างเครอ่ื งมอื พื้นฐานท่ี
สำคญั ไดแ้ ก่ เคร่ืองมอื สำหรับการวัดขนาด เคร่ืองมอื สำหรบั การตัด และเครอ่ื งมือสำหรบั การเจาะ

4.2.1 เครอื่ งมือสำหรบั การวัด
- ไมโครมเิ ตอร์ เป็นเคร่อื งมอื วัดละเอียดชนดิ หน่งึ นิยมใชใ้ นการวดั

ความกวา้ งยาวหรือหนาของวัตถทุ ีม่ ขี นาดเล็กและต้องการความละเอียด

- เวอรเ์ นียร์คาลเิ ปอร์ เคร่อื งวัดระยะท่ีมีความแมน่ ยำสูงมีความละเอียดในการวัด

ออกแบบมาใหส้ ามารถวัดไดท้ ัง้ ภายในและภายนอก เหมาะกบั งานตรวจสอบทต่ี ้องการความละเอยี ด
ความสะดวกและความแมน่ ยำสงู เชน่ งานกลงึ , งานชิ้นส่วนประกอบ

- ไม้บรรทัดวดั องศาหรอื ใบวัดมมุ สามารถใช้งานได้สะดวกรวดเรว็ ให้คา่ ความละเอียดพอประมาณ

วัดขนาดของมุม 0องศา ถึง 180 องศา เหมาะสำหรับใชว้ ดั มุมต่างๆ ของมีดกลงึ มีดใส ช้ินงานท่ีมลี ักษณะทำมมุ ไมเ่ กิน 180
องศา และบางคร้ังใช้สำหรบั การรา่ งเสน้ แบง่ มมุ บนโลหะแผ่น

4.2.2 เคร่ืองมอื สำหรับการตัด
- คีม

1.คีมตดั ข้าง (คมี ปากจระเข้)
เป็นเครือ่ งมือช่างทม่ี ีลักษณะการนำไปใช้งานไดอ้ ย่างหลากหลาย ปากคมี มี
คมไว้สำหรบั ตัดด้านข้าง และสามารถใช้จบั ชิ้นงานได้อยูภ่ ายในตวั เดียวกนั

2.คมี ปากแหลม (คีมปากจิ้งจก)
ใชส้ ำหรบั จบั โลหะแบนหรือสายไฟ ปากคมี มีลักษณะเรียวแหลม และ มี
ขนาดเลก็ เหมาะกบั การใช้งานในที่แคบ และ งานไฟฟา้

3.คีมปากขยาย
ปากคมี มีลกั ษณะโคง้ มนและสามารถขยายออก ลด ให้แคบลงได้ ลักษณะ
ด้านใน จะทำโค้งเวา้ ไว้ทง้ั สองข้างและมรี ่องฟัน เพื่อใชใ้ นการจับ งานกลม
บริเวณปลายปากจะแบนเรียบมรี ่องฟนั สามารถปรับปากให้แคบ

4.คีมปากกลม

ปากดา้ นนอกมลี กั ษณะกลม สว่ นปากดา้ นในจะเจียระไนให้มลี กั ษณะแบนท้งั สองขา้ ง ด้ามหมุ้ ดว้ ย
ปลอกพลาสตกิ ห้มุ เหมาะสำหรับงานดัด งานทีเ่ ปน็ รหู ว่ ง หรอื ดดั ห่วง และงานที่มีความละเอยี ด เช่น
งานไฟฟา้ งานอเิ ลก็ ทรอนิกส์

5.คมี ปากนกแกว้ หรือ คีมตดั

เป็นเครื่องมือชา่ งทใ่ี ช้สำหรับงานตัดโดยเฉพาะ ปากคมี มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ปากนกแกว้ สว่ นปลาย
ของปากจะมีลกั ษณะเป็นคมตดั โดยหันขวางกบั ด้านคม ท่ดี ้ามจับมีฉนวนหมุ้ เพื่อความปลอดภัย
ของผใู้ ชง้ าน ใช้สำหรบั ตัดเหลก็ เส้นลวด คมี ชนิดน้ีไม่สามารถจับช้ินงานได้

6.คีมลอ็ ค

ใช้จับนอตหรือชิ้นงานเพอ่ื ปอ้ งกันการหมุนหรือเลื่อนโดยปากปรับขยายให้กว้างได้ และ ลอ็ คให้แน่น
ออกแบบเป็นพเิ ศษ ใช้งานเฉพาะ ปลายดา้ มมีสกรูปรบั มแี บบธรรมดา แบบปากแหลม แบบใช้งาน
เชือ่ ม ใชส้ ำหรบั จบั หรือบบี ชิ้นงานที่แน่นมาก บบี ทอ่ น้ำยาแอร์

7.คีมปอกสายไฟ
เปน็ เครือ่ งมือทช่ี ว่ ยใหก้ ารทำงานต่าง ๆ เกย่ี วกบั สายไฟฟา้ ทำไดส้ ะดวกข้ึน คมี ดังกลา่ วออกแบบมา
เพือ่ การปอกฉนวนไฟฟา้ ท่หี มุ้ ลวดทองแดงอยู่ โดยจะตดั เฉพาะส่วนทเี่ ปน็ ฉนวนพลาสตกิ โดยไม่ตดั
เส้นลวดทองแดง และยงั ใชส้ ำหรับการตดั สายไฟ และใช้ในการยำ้ ขว้ั หางปลาให้ยึดติดกบั ปลาย
สายไฟฟา้ ดา้ ย

การใชค้ ีมด้วยความปลอดภัย

1. เลอื กใชค้ มี ให้ตรงกบั วตั ถุประสงค์ของคมี ชนิดนน้ั ๆ เชน่ คีมตัดไม่เหมาะกับการใช้จับ คมี ตดั
สายไฟฟา้ ไมเ่ หมาะท่ีจะใช้ตดั แผ่นโลหะ เป็นตน้
2. ฟนั ทป่ี ากของคมี จับต้องไมส่ ึกหรอ สว่ นปากของคีมตัดตอ้ งไมท่ ื่อ
3. การจับคมี ควรให้ดา้ มคมี อยู่ทีป่ ลายนิ้วท้งั 4 แล้วใชอ้ งุ้ มอื และนิ้วหวั แม่มือกดด้ามคมี อกี ด้าน จะ
ทำให้มกี ำลังในการจับหรือตัด
4. การปลอกสายไฟฟา้ ควรใช้คมี ปลอกสายไฟฟา้ โดยเฉพาะ เพราะจะมขี นาดของรปู เท่ากับขนาด
ของสายไฟฟ้าพอดสี ว่ นการตัดสายไฟฟา้ หรือเส้นลวดทีไ่ ม่ต้องการให้โผล่จากชน้ิ งานควรใช้คีมตดั
ปากทแยง

การใชค้ มี ดว้ ยความปลอดภยั (ตอ่ )
5. ไม่ควรใชค้ มี ตัดโลหะทีม่ ีขนาดใหญห่ รอื แข็งเกินไป แต่ให้ใช้กรรไกรแทน
6. ไม่ควรใช้คมี ขันหรือคลายหวั นอต เพราะจะทำใหห้ ัวนอตชำรดุ
7. ถ้าตอ้ งจับช้ินงานใหแ้ นน่ ควรใชค้ มี ล็อก
8. ถ้าชน้ิ งานมีขนาดใหญ่ ควรใชค้ มี ปากขยาย การใช้คมี ท่ปี ากเลก็ จะไม่มกี ำลงั ทีจ่ ะจบั ช้ินงานให้แนน่
เพราะ ดา้ มของคีมจะถา่ งมากไป
9. ถ้าต้องการเกบ็ คมี ไว้นาน ควรหยอดนำ้ มันทจี่ ุดหมนุ ของคมี และควรมีการหยอดน้ำมันเป็นระยะ
10.หลงั จากเลิกใช้งานประจำวัน ควรเชด็ ทำความสะอาด แล้วเก็บไวใ้ นท่ีที่จดั เตรยี มไวห้ รอื ท่ี
ปลอดภยั

การบำรงุ รกั ษา

1. ใช้คีมให้ถกู ประเภทกับงาน
2. ไมค่ วรบีบคมี แรงเกนิ ไปเพราะจะทำใหค้ ีมหัก
3. ไม่ควรใช้ค้อนทุบคมี แทนการตดั
4. ไมใ่ ช้คีมแทนค้อนหรอื เครอ่ื งมืออื่นๆ
5. เชด็ ทำความสะอาด หยดนำ้ มนั ทจ่ี ดุ หมุน แล้วชโลมน้ำมนั หลงั การใชง้ าน

- เลอื ย เปน็ เครื่องมอื พนื้ ฐานอกี อย่างหน่ึงสำหรบั งานช่างในบ้าน
ประโยชน์หลกั ๆก็คือ ใชต้ ดั หรือซอยชิน้ งานให้ไดข้ นาดตามต้องการ

เลอื่ ยลันดา (Hand Saw)

เพราะสามารถใชไ้ ดท้ ้ังตดั และงานโกรกไม้ ชใช้สำหรับตัดขวางเนอ้ื ไมเ้ พื่อให้เกิดรอยตดั ทีเ่ รยี บ ส่วนฟันเลอื่ ยหยาบหรือฟันหา่ ง
สามารถตัดไม้ได้อย่างรวดเรว็ เหมาะกบั งานตัดตามแนวยาวของเนอื้ ไม้ โดยมคี วามยาวของใบเล่อื ยใหเ้ ลอื กใชง้ านตง้ั แต่ 14-28
นว้ิ ตามขนาดของหนา้ ตดั ของไม้

เลอื่ ยลอ (Dovetail Saw)

มีลกั ษณะคลา้ ยเลื่อยสนั แข็งต่างกนั ทด่ี า้ มจับซ่งึ เป็นดา้ มยาว ฟันเล่ือยมที ้ังชนดิ หยาบและละเอยี ด
เหมาะสำหรบั ใช้บากปากไมเ้ พ่อื ทำเดือยเข้าไมแ้ บบตา่ งๆ และงานไมท้ ต่ี ้องการความประณีตเป็นพิเศษ
ควรใชง้ านรว่ มกับปากกาจับชน้ิ งานเพื่อให้ทำงานได้สะดวกยิ่งขน้ึ นอกจากน้ียังสามารถใชร้ ่วมกบั
กลอ่ งตดั ปรบั มุมได้ดว้ ย

เล่ือยฉลุ (Coping Saw)

นิยมใช้ทำงานประดษิ ฐ์ของนกั เรียน ใบเล่ือยมีขนาดเล็กคลา้ ยเสน้ ลวด เวลาใชง้ านตอ้ งขงึ ใบเลื่อยกับ
ด้ามและคนั เลอื่ ยให้ตงึ มักใช้กบั งานไมท้ ่มี ีส่วนโค้ง มกี ารฉลลุ วดลาย และชน้ิ งานท่มี ขี นาดไมใ่ หญ่และ
หนามากนัก

เล่ือยตดั เหล็ก (Hack Saw)

มลี ักษณะคล้ายเล่อื ยฉลุ แตค่ นั เลอื่ ยโค้งไม่มาก การใชง้ านสว่ นใหญ่จะใช้
ตัดโลหะทวั่ ไป อาทิ ตะปู นอต สกรู เหลก็ ฉาก หรอื ท่อพีวซี ี

เลื่อยหางหนู (Wallboard Saw)

หรือเลอ่ื ยฉลุฝา้ ใชเ้ ลือ่ ยตัดช้ินงานเป็นแนวโคง้ วงกลมและลวดลายตา่ งๆ
สามารถใช้เจาะฝา้ หรอื ผนงั ยิปซัมกไ็ ด้ เพราะใบเล่ือยมีลักษณะเป็นแถบยาว
ปลายเรยี วแหลมและคมมากสามารถถอดเปลยี่ นใบเลอ่ื ยได้ นอกจากนี้ยงั
ประยุกตใ์ ชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ตัดแตง่ กงิ่ ไมท้ ีเ่ ลื่อยขนาดใหญ่เข้าไม่ถึงได้อีกด้วย