เฉลย การจัดการทรัพยากรพลังงานและสิ่งแวดล้อมรหัสวิชา3000-1312

รายละเอียด

คำอธิบายรายวิชา


ศึกษาและปฏิบัติการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม เกี่ยวกับ
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา แร่ธาตุ พลังงาน ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์สารเคมีในอุตสาหกรรม ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์และการจัดการพลังงาน และสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ

สามารถสมัครเข้าโครงการห้องเรียนปัญญาประดิษฐ์เพื่อเข้าถึงหนังสือเล่มนี้ได้ที่ : https://app.nuadu.com/login หรือ ติดต่อนำเสนอ  บริษัท เอแด๊ค ซอฟต์ จำกัด Tel : 095-731-2025 LINE ID : ADACSOFT

เข้าสู่ระบบ

ชื่อผู้ใช้

รหัสผ่าน

Remember username

ลืมชื่อผู้ใช้หรือรหัสผ่าน ?

เว็บบราวเซอร์ที่คุณใช้ต้องอนุญาตให้รับ cookies

บุคคลทั่วไปสามารถเข้าชมได้เฉพาะรายวิชาที่มี สัญลักษณ์หน้าคนติดอยู่ นั่นคือ อนุญาตให้บุคคลทั่วไปเข้าศึกษาได้ นอกนั้น สำหรับท่านที่เป็นสมาชิกเท่านั้น

แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) รหสั วิชา 30000-1301 วิชา การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและสงิ่ แวดลอ้ ม (Natural Resource, Energy and Environmental Management) ประเภทวชิ าสามัญ จัดทำโดย นางสาวสริ นิ ันท์ สทิ ธิชยั วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเพชรบรุ ี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้  เหน็ ควรอนญุ าตให้ใช้ทำการสอนได้  เหน็ ควรปรับปรุงเกีย่ วกบั .................................................................................................................................... ลงชื่อ.......................................................................... (นางสาวฐติ กิ าญจน์ คงชยั ) หวั หนา้ แผนกวชิ าสามญั สมั พันธ์ .............. / ............................. / ...............  เห็นควรอนุญาตใหใ้ ช้ทำการสอนได้  ควรปรับปรงุ ดงั เสนอ...........................................................................................................................................  อน่ื ๆ .................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .......................................................................... (นางสาวประภาศรี ตระกลู สขุ ทรพั ย์) หวั หนา้ งานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน .............. /............................. /...............  เห็นควรอนุญาตให้ใช้ทำการสอนได้ เห็นควรปรับปรงุ ดงั เสนอ....................................................................................................................................  อื่น ๆ .................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................................... (นายกู้เกยี รติ ดวงพลพรม) รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ .............. /............................. /...............  อนุญาตให้ใชท้ ำการสอนได้  อน่ื ๆ .................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................................... (นายวรากร ชยุติกุล) ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเพชรบรุ ี .............. /............................. /...............

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นฐานสมรรถนะและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 30000-1301 ท.ป.น. 2-2-3 หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ฉบับน้ีจัดทำข้ึนเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนควบคู่กับหนังสือเรียนวิชา การ จดั การทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและส่งิ แวดล้อม รหัสวชิ า 30000-1301 แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้มีทั้งหมด 6 หน่วย และมีการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตาม นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ มีเน้ือหาครอบคลุมคำอธิบายรายวิชา มีการวัดผลประเมินผลตรงตามจุดประสงค์ รายวิชา และมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะรายวิชาตรงตามที่หลักสูตรกำหนด อีกทั้งยังมีกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความสามารถเต็มตามศักยภาพ สามารถนำประสบการณ์ท่ีเกิดจากการเรียนรู้ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม ผู้จัดทำหวังเปน็ อย่างย่ิงวา่ แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเนน้ ฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วิชา การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและส่งิ แวดล้อม รหสั วชิ า 30000-1301 ฉบบั น้จี ะเป็น ประโยชนต์ ่อผู้เรยี น ท่จี ะนำไปใช้กำหนดแนวทางการจดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ.. สิรินันท์ สทิ ธชิ ยั

สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ หนา้ สารบัญ 1 จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวชิ า คำอธบิ ายรายวิชา 12 ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา 25 ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรียนรแู้ ละเวลาทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ 38 แผนการจัดการเรยี นรู้ 62 75 หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นและรายการสอน 1 การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม............................. 2 ทรัพยากรแรธ่ าตุ......................................................................................................... 3 ปโิ ตรเลยี มและผลิตภณั ฑ์ .......................................................................................... 4 สารเคมใี นอุตสาหกรรม.............................................................................................. 5 การอนรุ ักษ์ การจดั การพลังงานและทรัพยากรธรรมชาต.ิ ......................................... 6 นิเวศวิทยา การอนรุ ักษ์และจัดการสิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ....................................... ภาคผนวก 91 แบบบูรณาการความรทู้ ่ีได้จากการเรยี นรู้ กับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

หลักสูตรรายวชิ า ช่ือวิชา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสง่ิ แวดลอ้ ม รหัสวชิ า 30000-1301 ท.ป.น.2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้ัน ปวส. จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้ 1. เข้าใจหลกั การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม 2. สามารถคำนวณ ทดลอง แกป้ ัญหา วางแผน ตรวจสอบ และประยุกตใ์ ชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ น งานอาชพี 3. มเี จตคตทิ ดี่ ีต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม และงานอาชีพท่ีเก่ยี วขอ้ ง สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม นเิ วศวทิ ยา แร่ธาตุ พลงั งาน ปิโตรเลียมและ ผลติ ภัณฑ์ สารเคมีในอุตสาหกรรม ผลกระทบจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติและพลังงาน การอนุรักษ์ และการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์และการจัดการพลงั งาน 2. คำนวณข้อมลู เก่ียวกับผลกระทบจากการใชท้ รัพยากรธรรมชาติและพลังงานตามหลักการและทฤษฎี 3. ทดลอง ตรวจสอบและแก้ปญั หาเก่ียวกบั ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสง่ิ แวดลอ้ มตามกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ 4. ประยกุ ตใ์ ช้ความรเู้ รอื่ งการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งานและสิ่งแวดล้อมในงานอาชพี คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งานและสิง่ แวดล้อม เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม นเิ วศวทิ ยา แร่ธาตุ พลงั งาน ปิโตรเลยี มและผลิตภณั ฑ์ สารเคมีในอุตสาหกรรม ผลกระทบจากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและพลงั งาน การอนุรักษ์และการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์และการจดั การพลงั งาน และส่งิ แวดลอ้ มในงานอาชพี

โครงการจดั การเรยี นรู้ ชือ่ วิชา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม รหสั วชิ า 3000-1312 ท.ป.น.2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้ัน ปวส. สปั ดาห์ท่ี หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วย/รายการสอน จำนวนคาบ 1-3 1 การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดล้อม 10 1.ทรพั ยากรธรรมชาติ 1.1 ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ 1.2 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 2. พลังงาน 2.1 ความหมายของพลงั งาน 2.2 ประเภทของทรัพยากรพลังงาน 2.3 ความสำคญั ของพลังงานตอ่ การดำรงชีวติ 3. ส่ิงแวดล้อม 3.1 ความหมายของสงิ่ แวดล้อม 3.2 ประเภทของสิ่งแวดล้อมได้ 3.3 สมบตั ิและความสำคัญของสิง่ แวดลอ้ ม 4. ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลงั งาน 4.1 ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม 4.2 สภาวะโลกร้อน 4.3 ผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวติ จากการใช้พลังงานและทรัพยากร 4.4 แนวทางในการลดปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจก 3-6 2 ทรัพยากรแร่ธาตุ 12 1. ความหมายของแรแ่ ละสนิ แร่ 2. ประเภทของแร่ 3. แหล่งของแร่ในประเทศไทย 4. สมบตั ขิ องแร่ 5. องคป์ ระกอบทางเคมีและลกั ษณะของแร่ 6. การสกัดโลหะออกจากแร่ 7. ความสำคญั ของแรธ่ าตุต่าง ๆ

สัปดาหท์ ี่ หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วย/รายการสอน จำนวนคาบ 12 6-9 3 ปิโตรเลียมและผลติ ภัณฑ์ 1. ธรรมชาติและการกำเนิดปโิ ตรเลยี ม 2 2. การสำรวจแหล่งพลงั งานปิโตรเลียม 12 3. การเจาะหลมุ ผลติ ปิโตรเลียม 4. การกล่นั แยกปิโตรเลยี ม 10 4.1 นำ้ มันดบิ 4.2 กา๊ ซธรรมชาติ 5. ผลติ ภณั ฑ์จากปโิ ตรเลยี ม 6. เชือ้ เพลิงชวี มวลสำหรับยานยนต์ 7. แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย 8. อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี 9 ทบทวน เก็บคะแนนตกหลน่ ทีน่ กั ศึกษาบางคนขาดการสอบไป ระหว่างภาคเรยี น 10-12 4 สารเคมีในอตุ สาหกรรม 1. ความหมายของอตุ สาหกรรม 2. ประเภทของอุตสาหกรรม 3. สารเคมีท่ีใชใ้ นอตุ สาหกรรม 4. สารเคมีอน่ื ๆ ท่ใี ช้ในอุตสาหกรรมหลายประเภท 5. สารเคมีทถ่ี ูกปลดปลอ่ ยจากโรงงานอตุ สาหกรรม 13-15 5 การอนรุ ักษ์ การจัดการพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ 1. การอนุรักษ์และการจดั การพลงั งาน 1.1 การอนุรักษ์พลงั งาน 1.2 การจัดการพลังงานในภาคส่วนต่างๆ 2. การอนรุ กั ษ์และการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ 2.1 การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ 2.2 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3. ประโยชนข์ องการอนรุ กั ษ์และการจัดการพลังงานและ ทรัพยากรธรรมชาติ

สัปดาห์ท่ี หนว่ ยท่ี ช่ือหน่วย/รายการสอน จำนวนคาบ 15-18 6 นเิ วศวทิ ยา การอนรุ กั ษ์และจัดการส่ิงแวดลอ้ มในงานอาชพี 12 1.นเิ วศวทิ ยากับอาชีพ 1.1 นเิ วศวิทยา 1.2 สมดลุ ของระบบนเิ วศ 1.3 การสญู เสยี สมดุลของระบบนิเวศ 1.4 การรักษาความสมดุลของระบบนิเวศในอาชพี 2. การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 2.1 ความหมายของการจัดการสิง่ แวดล้อม 2.2 แนวคดิ การจัดการสง่ิ แวดล้อม 2.3 แนวทางการจัดการส่งิ แวดล้อมอย่างย่ังยืน 3. การจัดการสง่ิ แวดล้อมในระดับสากล 3.1 องค์ประกอบของมาตรฐาน ISO 14000 3.2 ประโยชน์ของการทำมาตรฐาน ISO 14000 4. การดำเนนิ กจิ กรรมการจัดการส่ิงแวดลอ้ มในงานอาชีพ 4.1 ขั้นตอนการดำเนนิ กิจกรรมเพื่อขอรับรองมาตรฐาน ISO 14001 4.2 ตัวอย่างการดำเนินกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมในงานอาชพี 18 - สอบปลายภาค 2

สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ชือ่ วิชา การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและสิง่ แวดล้อม รหัสวิชา 30000-1301 ท.ป.น. 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้ัน ปวส. ชอื่ เรือ่ ง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ หน่วยท่ี 1 การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) และผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม แสดงความรู้ เก่ยี วกับการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ 1.ทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม 1.1 ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ 1.2 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) 2. พลังงาน ด้านความรู้ 2.1 ความหมายของพลังงาน 1. บอกความหมายของทรพั ยากรธรรมชาตไิ ด้ 2.2 ประเภทของทรัพยากรพลงั งาน 2. จำแนกประเภทของทรัพยากรธรรมชาตไิ ด้ 2.3 ความสำคญั ของพลงั งานต่อการดำรงชวี ติ 3. บอกความหมายของพลงั งานได้ 3. ส่ิงแวดล้อม 4. ระบปุ ระเภทของทรัพยากรพลังงานได้ 3.1 ความหมายของส่งิ แวดล้อม 5. อธิบายความสำคญั ของพลงั งานทม่ี ีต่อการดำรงชีวติ ได้ 3.2 ประเภทของสิ่งแวดล้อมได้ 6. บอกความหมายของส่ิงแวดล้อมได้ 3.3 สมบตั แิ ละความสำคัญของส่ิงแวดล้อม 4. ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 7. จำแนกประเภทของสง่ิ แวดล้อมได้ และพลงั งาน 8. ระบปุ ระเภทของสง่ิ แวดล้อมได้ 4.1 ปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม 9. บอกความสำคัญของสง่ิ แวดล้อมได้ 4.2 สภาวะโลกรอ้ น 10. อธบิ ายความหมายของปัญหาส่ิงแวดลอ้ มได้ 4.3 ผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวิตจากการใช้ 11. ประเมินระดับของปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มได้ พลงั งานและทรัพยากร 12. อธบิ ายเกยี่ วกบั สภาวะโลกรอ้ นและก๊าซเรอื นกระจกได้ 4.4 แนวทางในการลดปริมาณกา๊ ซเรอื น 13. วิเคราะห์สภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการใช้ พลังงานและทรพั ยากรธรรมชาติได้ กระจก 14. เสนอแนวทางลดปริมาณก๊าซเรอื นกระจกได้

หนว่ ยท่ี 1 ตอ่ ใบกจิ กรรมทบทวนบทเรยี น แบบทดสอบก่อน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) และหลังเรยี น ทดลอง ตรวจสอบและแก้ปญั หาเกย่ี วกับ กิจกรรมเสรมิ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การทดลองท่ี 1.1 และ 1.2 ทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ มตามกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ จุดประสงค์การปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ด้านทกั ษะ 1. ประเมนิ วัฏจักรชวี ิตผลติ ภัณฑ์และวเิ คราะหผ์ ลกระทบ ตอ่ ส่ิงแวดล้อมได้ 2. ตรวจสอบการเกดิ ฝนกรดจากการใชถ้ ่านหินเปน็ เช้อื เพลงิ ได้ การบรู ณาการความรู้ที่ไดจ้ ากการเรยี นรู้ ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ -พอเพียง หนว่ ยที่ 1 กบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตระหนักถึงคุณค่า บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและคุณลักษณะ 3D นำไปประยุกต์ใช้ใน วิชาชีพและชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม

ช่อื เรื่อง สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ หนว่ ยที่ 2 ทรพั ยากรแร่ธาตุ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 1. ความหมายของแร่และสนิ แร่ แสดงความรเู้ กี่ยวกับแร่ธาตแุ ละประยุกต์ใชใ้ นงานอาชีพ 2. ประเภทของแร่ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 3. แหล่งของแร่ในประเทศไทย ดา้ นความรู้ 4. สมบตั ขิ องแร่ 5. องคป์ ระกอบทางเคมีและลักษณะของแร่ 1. บอกความหมายของแร่ได้ 6. การสกดั โลหะออกจากแร่ 2. จำแนกประเภทของแรไ่ ด้ 7. ความสำคญั ของแรธ่ าตตุ า่ ง ๆ 3. ระบปุ ระเภทของแร่ได้ 4. บอกแหล่งของแรช่ นดิ ตา่ ง ๆในประเทศไทยได้ 5. บอกสมบตั ิพื้นฐานของแร่ได้ 6. บอกองค์ประกอบทางเคมีของแรช่ นดิ ต่าง ๆได้ 7. อธบิ ายกระบวนการสกัดโลหะออกจากแร่ได้ 8. ประเมินความสำคัญของแร่ธาตตุ า่ ง ๆ ในเชิง เศรษฐศาสตร์ได้ ใบกิจกรรมทบทวนบทเรียน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น ทดลองและตรวจสอบเก่ียวกบั แร่ธาตุ กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทาง จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) วิทยาศาสตร์ ด้านทักษะ การทดลอง เรื่อง การทดสอบแร่บางชนิดด้วย สังเกตสเี ปลวไฟแล้วระบุธาตุองค์ประกอบของแร่ได้ การสงั เกตสีเปลวไฟ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ -พอเพยี ง มีคุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ การบูรณาการความรู้ท่ีไดจ้ ากการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ประสงค์ ตระหนักถึงคณุ คา่ บูรณาการหลักปรัชญาของ 2 กบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง นำไปประยกุ ต์ใช้ในวิชาชพี และ ชีวิตประจำวันได้อยา่ งเหมาะสม

ช่อื เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบัติ หน่วยท่ี 3 ปิโตรเลยี มและผลิตภณั ฑ์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 1. ธรรมชาติและการกำเนิดปโิ ตรเลยี ม แสดงความรู้ ทดลองและตรวจสอบเก่ียวกบั ปิโตรเลียม 2. การสำรวจแหลง่ พลงั งานปโิ ตรเลยี ม 3. การเจาะหลุมผลิตปโิ ตรเลียม และผลิตภัณฑ์ 4. การกลัน่ แยกปโิ ตรเลยี ม จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) 4.1 นำ้ มนั ดบิ ด้านความรู้ 4.2 กา๊ ซธรรมชาติ 1. อธิบายธรรมชาติของการกำเนิดปิโตรเลียมได้ 5. ผลิตภณั ฑ์จากปิโตรเลียม 2. อธบิ ายขนั้ ตอนในการสำรวจแหลง่ พลงั งานปโิ ตรเลยี มได้ 6. เชอื้ เพลิงชวี มวลสำหรบั ยานยนต์ 3. อธิบายวิธีการเจาะหลมุ ผลติ ปโิ ตรเลียมแต่ละแบบได้ 7. แหลง่ ปิโตรเลยี มในประเทศไทย 4. บอกวธิ ีการแยกปโิ ตรเลียมได้ 8. อุตสาหกรรมปิโตรเคมี 5. บอกประโยชนข์ องผลิตภณั ฑ์ท่ไี ดจ้ ากปโิ ตรเลยี มได้ 6. บอกแหลง่ ปิโตรเลียมทสี่ ำคญั ในประเทศไทยได้ 7. อธบิ ายความหมายของอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมีได้ 8. ระบุประเภทของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจากผลิตภัณฑ์ท่ี กำหนดได้ -ใบกิจกรรมทบทวนบทเรียน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) -แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ทดลองและตรวจสอบเก่ยี วกับปโิ ตรเลียมและ -กจิ กรรมเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์การทดลอง ผลิตภัณฑ์ 1. การศึกษาสมบัติบางประการของน้ำมัน จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) เบนซิน 95 แกโซฮอล 95 แกโซฮอล E 20 และ แกโซฮอล E 85 ดา้ นทักษะ 2. การผลติ ไบโอดเี ซลแบบเขยา่ ดว้ ยมือ - กจิ กรรมเสรมิ การเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทียบสมบตั ิบางประการของนำ้ มนั เบนซิน 95 แก เร่อื งพลาสติกท่ีนำมารีไซเคิลได้ โซฮอล 95 แกโซฮอล E 20 และแกโซฮอล E 85 ได้ 2. ผลติ ไบโอดเี ซลแบบเขยา่ ด้วยมอื ได้ 3. ระบุและยกตวั อยา่ งพลาสติกทีน่ ำมารีไซเคิลได้ การบรู ณาการความรู้ท่ีได้จากการเรียนรู้ หน่วยที่ ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ -พอเพียง 3กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตระหนักถึงคุณค่า บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง นำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและ ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ช่อื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ หน่วยท่ี 4 สารเคมใี นอตุ สาหกรรม สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 1. ความหมายของอุตสาหกรรม แสดงความรแู้ ละปฏิบตั ิเก่ยี วกับสารเคมีในอุตสาหกรรม 2. ประเภทของอุตสาหกรรม 3. สารเคมที ี่ใช้ในอุตสาหกรรม จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 4. สารเคมีอ่นื ๆ ทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรมหลาย ประเภท ด้านความรู้ 5. สารเคมที ถ่ี ูกปลดปล่อยจากโรงงาน 1. บอกความหมายของอุตสาหกรรมได้ อตุ สาหกรรม 2. จำแนกประเภทอุตสาหกรรมได้ 3. บอกหน้าท่ีของสารเคมีชนิดตา่ งๆ ท่ีใช้ในอุตสาหกรรม ได้ 4. บอกอันตรายจากสารเคมีที่ถูกปลดปล่อยจากโรงงาน อุตสาหกรรมได้ 5. บอกค่ามาตรฐานของสารเคมีที่ยอมให้ปลดปล่อยจาก โรงงานอตุ สาหกรรมได้ - ใบกิจกรรมทบทวนบทเรียน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) - แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรยี น ปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั การทดสอบสารฟอกขาวชนิดโซเดียม - กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทาง ไฮโดรซัลไฟต์ วิทยาศาสตร์ การทดลอง เรือ่ ง การทดสอบสาร จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ฟอกขาวชนดิ โซเดยี มไฮโดรซัลไฟต์ ด้านทักษะ เพื่อศึกษาการเปลีย่ นแปลงของอาหารท่ีคาดวา่ มีสาร ฟอกขาวชนดิ โซเดยี มไฮโดรซัลไฟตเ์ มื่อทดสอบดว้ ย สารละลายคอปเปอร(์ II)ซัลเฟต(CuSO4.5H2O) การบรู ณาการความรู้ท่ีได้จากการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ-พอเพยี ง 4 กบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตระหนักถึงคุณค่า บูรณาการหลักปรัชญาของ เศรษ ฐกิจพ อเพี ยง น ำไป ประยุกต์ใช้ใน วิชาชีพ และ ชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ตั ิ หนว่ ยที่ 5 การอนรุ กั ษ์ การจดั การพลังงานและ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การอนรุ กั ษ์ การจัดการพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ 1.การอนรุ กั ษแ์ ละการจดั การพลงั งาน และทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 การอนรุ ักษ์พลงั งาน จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 1.2 การจดั การพลงั งานในภาคส่วนตา่ งๆ ด้านความรู้ 2. การอนรุ ักษแ์ ละการจดั การทรพั ยากร ธรรมชาติ 1. บอกความหมายของการอนุรกั ษ์พลังงาน 2.1 การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2. อธิบายความสำคัญของการอนุรกั ษ์และการจัดการ 2.2 การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ 3. ประโยชน์ของการอนรุ ักษ์และการจดั พลงั งานได้ การพลงั งานและทรพั ยากรธรรมชาติ 3. บอกวธิ กี ารอนุรักษ์พลงั งานแตล่ ะประเภทได้ 4. เสนอแนะแนวทางในการจัดการพลังงานในภาคส่วนต่างๆ ได้ 5. ทำกิจกรรมที่สามารถก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานใน ครัวเรือนหรือสถานศึกษาของตนเองได้ 6. บอกความหมายของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้ 7. เสนอแนะแนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติได้ 8. อธบิ ายแนวทางในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตติ ่างๆได้ - ใบกิจกรรมทบทวนบทเรียน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) - แบบทดสอบกอ่ นและหลงั เรียน คำนวณข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากการใช้ - กิจกรรมการศึกษาพลังงานไฟฟา้ ทใ่ี ช้ ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานตามหลกั การและทฤษฎี ภายในบา้ นเรือน จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - กิจกรรมการประหยัดไฟฟา้ เพ่ือ ดา้ นทักษะ ครอบครัว เพื่อชาติเพ่ือโลกของเรา สามารถคำนวณค่าพลังงานไฟฟา้ ท่ใี ชใ้ นบ้านเรือนได้ การบูรณาการความร้ทู ี่ไดจ้ ากการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ-พอเพยี ง 5 กับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตระหนักถึงคุณค่า บูรณาการหลักปรัชญาของ เศ รษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง น ำไป ป ระยุ ก ต์ ใช้ ใน วิช าชี พ แ ล ะ ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

ชอื่ เร่อื ง สมรรถนะยอ่ ยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ หนว่ ยที่ 6 นเิ วศวิทยา การอนุรักษแ์ ละจัดการ สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) สงิ่ แวดล้อมในงานอาชีพ แสดงความรู้เกี่ยวกับนิเวศวิทยา ประยุกต์ใช้ความร้เู รอ่ื ง 1. นเิ วศวทิ ยากับอาชีพ การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและสิง่ แวดล้อมในงาน 1.1 นิเวศวิทยา อาชีพ 1.2 สมดลุ ของระบบนิเวศ จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance Objectives) 1.3 การสญู เสียสมดุลของระบบนเิ วศ ดา้ นความรู้ 1.4 การรักษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศในอาชพี 1. อธบิ ายความหมายของการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มได้ 2. บอกแนวคดิ ในการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มได้ 2. การจดั การสิง่ แวดล้อม 3. บอกแนวทางการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มอย่างยั่งยนื ได้ 2.1 ความหมายของการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม 4. บอกความหมายของนเิ วศวิทยาได้ 2.2 แนวคดิ การจัดการสงิ่ แวดล้อม 2.3 แนวทางการจดั การสง่ิ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน 5. อธิบายความหมายของสมดลุ ของระบบนิเวศได้ 6. อธิบายสาเหตขุ องการสูญเสยี สมดุลของระบบนิเวศได้ 3. การจัดการส่ิงแวดลอ้ มในระดบั สากล 7. อธิบายวิธีการรกั ษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศในอาชีพตา่ งๆได้ 3.1 องคป์ ระกอบของมาตรฐาน ISO 14000 8. อธิบายกระบวนการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มในระดับสากลได้ 3.2 ประโยชนข์ องการทำมาตรฐาน ISO 14000 9. ดำเนนิ กจิ กรรมการจดั การสงิ่ แวดล้อมในงานอาชีพได้ 4. การดำเนินกิจกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมในงาน อาชีพ 4.1 ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมเพ่ือขอรับรอง มาตรฐาน ISO 14001 4.2 ตัวอย่างการดำเนิ นกิจกรรมการจัดการ สิง่ แวดลอ้ มในงานอาชีพ - ใบกจิ กรรมทบทวนบทเรยี น สมรรถนะย่อย (Element of Competency) - แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ปฏิบตั ิเกยี่ วกับการจัดการสิ่งแวดลอ้ มและนเิ วศวทิ ยาในงาน อาชีพ จดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance Objectives) ด้านทกั ษะ ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ จากการศกึ ษา การจดั การทรัพยากร พลงั งาน การบรู ณาการความรู้ทไี่ ด้จากการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 6 และสงิ่ แวดล้อมในงานอาชีพ กับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ-พอเพียง มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตระหนักถึงคุณค่า บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำไป ประยุกตใ์ ชใ้ นวชิ าชีพและชวี ติ ประจำวนั ได้อยา่ งเหมาะสม

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา ชื่อวิชา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ ม รหัสวชิ า 30000-1301 ท.ป.น.2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชั้น ปวส. พทุ ธพิ สิ ยั พฤติกรรม ความรู้ความจำ ความเข้าใจ ช่ือหน่วย ประ ุยก ์ต-นำไปใ ้ช ิวเคราะห์ สูงก ่วา ทักษะพิ ัสย จิตพิสัย รวม ลำดับความสำ ัคญ จำนวนคาบเ ีรยน ปิโตรเลยี มและผลิตภัณฑ์ 10 9 9 8 - 5 5 46 2 10 สารเคมีในอุตสาหกรรม 10 9 9 9 - 5 5 47 1 12 การอนุรักษ์ การจดั การพลงั งานและ 10 9 9 9 - 5 5 47 1 12 ทรพั ยากรธรรมชาติ 10 9 9 9 - 5 5 47 1 12 นิเวศวทิ ยา การอนรุ ักษแ์ ละจัดการ 10 9 9 8 - 5 5 46 2 10 สิ่งแวดล้อมในงานอาชีพ สอบซ่อมเก็บคะแนน 10 9 9 9 - 5 5 47 1 12 สอบปลายภาค 60 54 54 52 35 35 290 2 รวม 1223 44 2 ลำดบั ความสำคัญ 72 หมายเหตุ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะ จะมคี วามสอดคลอ้ งกับจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) ตามหลกั สตู รเดมิ เพยี งแตร่ ปู แบบการเขยี นตา่ งกนั แตจ่ ดุ หมายปลายทางเหมือนกนั

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ 1 หลกั สูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชน้ั สูง สอนครั้งที่ 1 (10 คาบ) รหัส 30000-1301 การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม ท-ป-น 2-2-3 ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อม 1. สาระสำคญั พลังงาน เปน็ ปัจจยั พืน้ ฐานที่สำคญั ในการดำรงชีพของมนษุ ย์ เม่ือประชากรเพิ่มจำนวนมากขน้ึ ความ จำเปน็ ขนั้ พน้ื ฐานในการใช้พลังงานยอ่ มเพ่ิมมากตามไปด้วย อาทิ การใช้พลงั งานเพื่อการคมนาคมขนส่ง กระบวนการ ผลติ ในอุตสาหกรรม พลงั งานไฟฟ้า การหงุ ต้มในครัวเรือน ท่อี ยู่อาศัย เป็นตน้ และแนน่ อนว่าพลงั งานต่าง ๆ นนั้ ได้มา จากการแปรรปู ทรัพยากรธรรมชาติทม่ี ีอยู่ และกระบวนการได้มาซ่ึงพลังงานเหลา่ น้ยี อ่ มสง่ ผลทงั้ ทางตรงและทางอ้อม ต่อสง่ิ แวดล้อม หากไม่มีการควบคุมการใช้ ดังน้ันจงึ ควรสร้างความตระหนักและส่งเสริมใหม้ ีการอนุรักษ์พลงั งานและ ส่งิ แวดล้อมทุกภาคสว่ น รวมถึงประชาชนทุกระดบั 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย แสดงความรู้ เก่ียวกับการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ พลงั งานและผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดล้อม 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติได้ 2. จำแนกประเภทของทรัพยากรธรรมชาติได้ 3. บอกความหมายของพลงั งานได้ 4. ระบปุ ระเภทของทรพั ยากรพลงั งานได้ 5. อธบิ ายความสำคัญของพลงั งานที่มตี ่อการดำรงชวี ติ ได้ 6. บอกความหมายของสงิ่ แวดลอ้ มได้ 7. จำแนกประเภทของสิง่ แวดลอ้ มได้ 8. ระบุประเภทของสิ่งแวดล้อมได้ 9. บอกความสำคญั ของสงิ่ แวดลอ้ มได้ 10. อธิบายความหมายของปญั หาสงิ่ แวดล้อมได้ 11. ประเมนิ ระดบั ของปัญหาส่งิ แวดลอ้ มได้ 12. อธบิ ายเกย่ี วกับสภาวะโลกร้อนและกา๊ ซเรือนกระจกได้ 13. วิเคราะห์สภาพปญั หาและผลกระทบทเี่ กดิ จากการใช้พลงั งานและทรัพยากรธรรมชาติได้ 1

14. เสนอแนวทางลดปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ 3. ความหมายของพลังงาน 4. ประเภทของทรัพยากรพลังงาน 5. ความสำคญั ของพลังงานที่มตี ่อการดำรงชีวิต 6. ความหมายของส่ิงแวดล้อม 7. ประเภทของสิ่งแวดล้อม 8. ประเภทของสงิ่ แวดล้อม 9. ความสำคญั ของส่ิงแวดลอ้ ม 10. ความหมายของปญั หาสิ่งแวดล้อม 11. การประเมินระดับของปัญหาสิ่งแวดล้อม 12. สภาวะโลกร้อนและก๊าซเรอื นกระจก 13. การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาและผลกระทบทเ่ี กิดจากการใชพ้ ลงั งานและทรัพยากรธรรมชาติ 14. แนวทางลดปรมิ าณกา๊ ซเรือนกระจก ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งทป่ี รากฏอยูต่ ามธรรมชาตหิ รอื สง่ิ ทีเ่ กิดขนึ้ เอง อำนวยประโยชน์แกม่ นุษย์ และธรรมชาตดิ ้วยกนั เอง แต่ถ้าสิง่ น้ันยงั ไม่อำนวยประโยชน์ตอ่ มนษุ ย์ ก็ไมถ่ ือวา่ เปน็ ทรัพยากรธรรมชาติ นักอนรุ กั ษ์ วทิ ยาไดแ้ บง่ ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติไว้ 3 ประเภทคอื 1) ทรัพยากรธรรมชาติท่ใี ช้แลว้ ไม่หมดไป เช่น อากาศ ดนิ น้ำ 2) ทรัพยากรท่ใี ช้แล้วหมดไป เชน่ แร่ธาตุ จำพวกโลหะ อโลหะ กา๊ ซธรรมชาติ น้ำมันดบิ ถ่านหนิ นำ้ ตก เกาะ แกง่ หาดทราย แนวปะการัง 3) ทรัพยากรธรรมชาติทส่ี ามารถทดแทนได้ เชน่ ป่าไม้ สัตว์ป่า พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทำงานหรืออำนาจท่ีแฝงอยู่ในวัตถุซึ่งสามารถเปล่ียนรูปได้ หรือ สามารถกล่าวได้ว่า วัตถุใดที่มีพลังงาน วัตถุนั้นจะสามารถทำงานได้ ต้นกำเนิดของพลังงานเกือบทั้งหมดบนโลกของ เรามาจากดวงอาทิตย์ ในรูปของพลังงานแสงซ่ึงจะถูกเปล่ียนไปเป็นพลังงานเคมีในรูปของสารอาหาร โดยผ่าน ขบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง พลังงานเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อมนุษย์มาก ทั้งในอดตี และปัจจุบัน ตั้งแต่มนุษย์เกิด จนกระทั่งตาย มีเพียงรูปแบบการใช้ของพลังงานเท่าน้ันท่ีอาจเปลี่ยนไปตามยุคสมัย แหล่งทรัพยากรพลังงาน สามารถ จำแนกเปน็ 2 ประเภทคือทรพั ยากรพลงั งานท่ีใชแ้ ล้วมวี นั หมดไป ได้แก่ปโิ ตรเลียม ถ่านหิน แร่นิวเคลียร์ กับ ทรพั ยากรพลังงานทใี่ ชแ้ ลว้ ไมม่ ีวันหมดไปหรอื พลงั งานทดแทน ได้แก่ แสงอาทติ ย์ ลม ความรอ้ นใตพ้ ภิ พ นำ้ ชีวมวล 2

สิ่งแวดล้อม หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัวเรา ทั้งท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมท่ีสามารถจับ ตอ้ งมองเห็นได้กับท่ีเป็นนามธรรม เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือท้ังที่เกดิ ขึ้นตามธรรมชาติหรอื ที่มนุษย์สรา้ งข้ึน สามารถจำแนกได้หลายแบบ เช่น จำแนกตามองค์ประกอบของส่ิงแวดลอ้ ม ตามลักษณะการเกดิ หรือจำแนกตามการ มีชีวิต เป็นต้น ในท่ีนี้จะจำแนกส่ิงแวดล้อมตามลักษณะการเกิด จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ สิ่งแวดล้อมตาม ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างข้ึน สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด มนุษย์เรา น้ันมีความเกี่ยวข้องเช่ือมโยงกับสิ่งแวดล้อมในทุก ๆ ด้าน อาทิ สิ่งแวดล้อมให้ ปัจจัยสี่ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรค รวมไปถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ให้พลังงานที่นับได้ว่าเป็นปัจจัยที่ 5 ที่ขาดไม่ได้ในการ ดำรงชพี ของมนษุ ยใ์ นยคุ ปัจจบุ นั ผลกระทบจากการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละพลังงาน ปัญหาสงิ่ แวดล้อมหลาย ๆ ด้าน ส่วนหนึ่งมสี าเหตุ มาจากการใช้พลังงาน โดยเฉพาะเช้ือเพลงิ ซากดึกดำบรรพ์ และเน่อื งจากมนุษย์มคี วามจำเปน็ ต้องใช้พลังงานมากข้ึน การเสาะแสวงหาทรพั ยากรพลงั งาน เพอ่ื ตอบสนองความต้องการพลงั งานทสี่ ูงขึ้นเร่ือย ๆ จงึ ส่งผลกระทบต่อ สง่ิ แวดล้อมอย่างหลีกเลย่ี งไมไ่ ด้ การใช้พลงั งานอยา่ งประหยัด มีประสิทธภิ าพ การใช้เทคโนโลยี ในการควบคมุ มลพษิ เปน็ หนทางหนึง่ ทีจ่ ะลดปญั หาให้เหลอื นอ้ ยทส่ี ดุ และอยใู่ นระดบั ท่จี ะไม่เปน็ อันตราย ต่อชุมชนและสภาพแวดลอ้ ม ที่ สำคญั คือการปลูกฝังจิตสำนึกให้ทกุ ฝา่ ยตระหนกั ถึงความสำคัญในส่วนน้ี 5. กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่...1-3........) - ครตู รวจสอบรายชอ่ื ผูเ้ ขา้ เรียน - ชี้แจงลักษณะการเรยี นการสอนและการเก็บคะแนน - นำเข้าสู่บทเรียน - ให้ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ให้ความร้ใู นสาระการเรยี นรู้ - ใบกจิ กรรมทบทวนบทเรียน - กจิ กรรมเสริมทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ี่ 1.1 เรอ่ื ง การประเมินวัฏจักรชีวติ ผลติ ภัณฑ์ - กิจกรรมเสริมทักษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ที่ 1.2 เรือ่ ง การเกิดฝนกรดจากการใช้ถา่ นหิน อภิปรายผลการทดลอง และลงข้อสรุปรว่ มกัน - ทำแบบทดสอบหลงั เรียน 6. สอื่ และแหล่งการเรียนรู้ 1.หนังสือเรียนวชิ าการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและส่ิงแวดล้อม 30000-1301 ของสำนกั พมิ พศ์ นู ย์ส่งเสริมอาชีวะ 2.รูปภาพ 3.แผน่ ใส 4.สื่อ PowerPoint , วดิ ที ศั น์ 5.แบบประเมินผลการเรยี นรู้ 3

6.กิจกรรมการเรยี นการสอน - กจิ กรรมเสริมทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ่ี 1.1 เร่ือง การประเมินวัฏจักรชวี ิตผลิตภณั ฑ์ - กิจกรรมเสริมทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ 1.2 เร่อื ง การเกดิ ฝนกรดจากการใชถ้ า่ นหนิ 7.หลกั ฐานการเรียนรู้ 1.บันทึกการสอนของผู้สอน 2.ใบเชค็ รายชื่อ 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมินผลงาน 8.การวดั และประเมนิ ผล 8.1 วิธีการ 1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ 4 ตรวจกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบัติ 6. ตรวจกจิ กรรมใบงาน 7. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8.2 เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ (โดยครู) 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ 5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผ้เู รยี นรว่ มกัน ประเมนิ 8.3 เกณฑ์ 1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรับปรงุ 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 4. แบบประเมินผลการเรยี นรู้มเี กณฑผ์ ่าน และแบบฝกึ ปฏิบัติ 50% 5. แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมีเกณฑผ์ ่าน 50% 4

6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่ กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเร็จของผ้เู รียน - ใบกจิ กรรมทบทวนบทเรยี น - รายงานผลกจิ กรรมเสรมิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ี 1.1 เร่ือง การประเมินวฏั จักรชีวิตผลติ ภณั ฑ์ และกจิ กรรมเสรมิ ทักษะและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ท่ี 1.2 เรอ่ื ง การเกิดฝนกรดจากการใชถ้ ่านหิน - คะแนนทดสอบหลังเรียนร้อยละ 60 ขน้ึ ไป 5

9.บันทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................ ...... ............................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................................. ..................... ...................................................................................... ............................................................ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... 9.2 ปัญหาท่ีพบ ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... 9.3 แนวทางแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ..................... .......................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................................. ..................... 6

เอกสารอา้ งองิ นาท ตณั ฑวริ ฬุ ห์ และคณะ. (2528). วิทยาศาสตร์ส่งิ แวดลอ้ มและการบริหารทรัพยากร. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์ไทยวัฒนาพานชิ จำกดั . ปภาวี จรญู รัตน์. (2549). พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์ศนู ย์ส่งเสริมอาชวี ะ. ภาณี คสู ุวรรณ. (2551). พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพฯ : สำนักพมิ พเ์ อมพันธ์ วรรณา ก่อสกลุ . (2552). พลังงานและส่ิงแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พแ์ มค็ จำกัด. วชิ ัย เทยี นนอ้ ย และคณะ. (2536). มนุษย์กบั ส่งิ แวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์โอเดยี นสโตร์. วินัย วีระวฒั นานนท์ และคณะ. (2537). การศึกษาสงิ่ แวดลอ้ ม. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพโ์ อเดยี นสโตร์, สารานุกรมเสร.ี (2558). พลังงานทดแทน. [ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : http://th.wikipedia.org/wiki. (วันที่คน้ ข้อมลู : 18 กุมภาพันธ์ 2558). อนนั ต์ วงศ์กระจ่าง และคณะ. (2550). พลังงานและส่ิงแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์ศนู ย์ สง่ เสริมวชิ าการ. สำนักงานนโยบายและแผนพลงั งานกระทรวงพลังงาน.(2558).พระบดิ าแห่งการพฒั นาพลงั งานไทย. [ออนไลน์].แหลง่ ข้อมลู : http://www.eppo.go.th/royal/.(วันท่คี ้นข้อมูล : 20 กุมภาพนั ธ์ 2558) สำนกั นโยบายและแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม.(2558). 100 วิธดี แู ลรักษาสิ่งแวดล้อม. [ออนไลน์].แหล่งข้อมูล : http://www.onep.go.th/library. (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 20 กมุ ภาพันธ์ 2558) The LESA Project. (2010). Global-warming. [Online]. From : http://www.lesa.biz/earth/global-change/. 7

ใบความรทู้ ี่ 1 หนว่ ยท่ี 1 หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู สอนคร้ังท่ี 1 (10 คาบ) รหสั 30000-1301 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน เวลา......10............ชม. และสิ่งแวดล้อม ชอ่ื เร่ือง เร่อื ง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายของทรัพยากรธรรมชาติได้ 2. จำแนกประเภทของทรัพยากรธรรมชาติได้ 3. บอกความหมายของพลงั งานได้ 4. ระบุประเภทของทรัพยากรพลงั งานได้ 5. อธิบายความสำคัญของพลงั งานทมี่ ีต่อการดำรงชวี ติ ได้ 6. บอกความหมายของสง่ิ แวดลอ้ มได้ 7. จำแนกประเภทของสิง่ แวดลอ้ มได้ 8. ระบปุ ระเภทของสิ่งแวดล้อมได้ 9. บอกความสำคัญของส่ิงแวดล้อมได้ 10. อธิบายความหมายของปญั หาสง่ิ แวดล้อมได้ 11. ประเมนิ ระดับของปัญหาส่งิ แวดล้อมได้ 12. อธบิ ายเก่ยี วกับสภาวะโลกร้อนและก๊าซเรอื นกระจกได้ 13. วเิ คราะหส์ ภาพปญั หาและผลกระทบทเ่ี กิดจากการใช้พลงั งานและทรัพยากรธรรมชาติได้ 14. เสนอแนวทางลดปรมิ าณก๊าซเรือนกระจกได้ 2. สมรรถนะประจำหน่วย แสดงความรู้ เก่ียวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานและผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม 3. เน้ือหาสาระ ทรพั ยากรธรรมชาติเป็นส่วนหนง่ึ ของสง่ิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาตเิ ปน็ สง่ิ ทเี่ กิดข้ึนเองตามธรรมชาติและให้ ประโยชนแ์ ก่มนษุ ย์อาศยั ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปจั จยั ในการดำรงชวี ติ มาโดยตลอด การเพม่ิ ข้ึนของจำนวนประชากร และการใช้เทคโนโลยีเพอ่ื สรา้ งความสะดวกสบายให้แก่มนุษญ์ ทำให้มีการนำทรัพยากรธรรมชาตมิ าใช้จำนวนมาก 8

และมีการถ่ายเทของเสียออกสสู่ ง่ิ แวดล้อมจากกระบวนการผลติ กอ่ นใหเ้ กิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ซง่ึ จะส่งผลกระทบถงึ มนุษยใ์ นท่สี ดุ ความหมายของส่ิงแวดลอ้ ม สิง่ แวดล้อม (Environment) หมายถึง ทุกสง่ิ ทุกอยา่ งทอ่ี ยลู่ ้อมรอบตวั เรา ทงั้ ทีม่ ีชีวติ และไม่มชี วี ติ แบ่งเปน็ สิง่ แวดล้อมทเ่ี กิดข้นึ เองตามธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมท่ีมนุษยส์ รา้ งข้ึน 1) สิ่งแวดล้อมทีเ่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ยังแบง่ ออกเป็นส่งิ แวดล้อมท่ีมีชีวติ ได้แก่ คน สัตว์ พืช หรอื เรยี กว่า ส่งิ แวดลอ้ มระบบชีวภาพ และสิ่งแวดลอ้ มที่ไม่มชี ีวิต ไดแ้ ก่ นำ้ ภเู ขา หิน ดนิ แร่ธาตุ 2) ส่ิงแวดล้อมที่มนษุ ย์สรา้ งขึ้น แบ่งเปน็ ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพ หรอื สิ่งแวดลอ้ มที่สามารถจับ ตอ้ งได้ เช่น บา้ น อาคารทีอ่ ยู่อาศยั ถนนหนทาง โรงงานอตุ สาหกรรม ส่ิงก่อสรา้ ง ส่งิ ประดษิ ฐ์ตา่ ง ๆ และ สง่ิ แวดล้อมทางสังคม เปน็ ส่งิ แวดล้อมท่ีไม่สามารถมองเหน็ ได้ แต่สร้างขึ้นเพื่อความเป็นระเบียบทางสังคม หรอื สรา้ งข้นึ เพื่อใชใ้ นการอยู่ร่วมกันในสงั คม เช่น ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม ศาสนา กฎหมาย การศึกษา และความเชือ่ ต่าง ๆ ฯลฯ 1. ความหมายของพลังงานและสง่ิ แวดล้อม พลังงาน หมายถึง ความสามารถของสิ่งใดส่ิงหน่ึงที่จะทำงานได้ งาน (Work) เป็นผลของการกระทำ ของแรงเป็นเหตุให้ส่ิงนั้นเคล่ือนที่ เช่น เปลวไฟท่ีเผากาน้ำจะเปลี่ยนน้ำให้เป็นไอน้ำและแรงดันไอน้ำจะดันฝากาน้ำ เผยอข้ึนได้ งานเช่นนี้ เรียกว่า พลังงาน รถไฟเคลื่อนที่ได้เพราะมีพลังงานมนุษย์เดินได้เพราะพลังงาน พลังงาน สามารถแปรรูปไปเป็นงานได้ เช่น พลังงานความร้อน ทำให้นำ้ กลายเปน็ ไอและไอนี้ไปช่วยใหเ้ คร่ืองจักรไอนำ้ ทำงาน ได้ พลงั งานไฟฟา้ ใชใ้ นการปั่นมอเตอร์ พลังงานอะตอมใช้ในการขับเคลื่อนเรือรบและเรอื รบดำน้ำ ประเภทของพลังงาน พลังงานแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 2.1 พลังงานใช้แล้วหมด หรือท่ีนักวิชาการเรียกกันว่า พลังงานสิ้นเปลือง หรือพลังงานฟอสซิล ได้แก่ น้ำมัน รวมทั้งหินน้ำมัน ทรายน้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ ทเี่ รียกว่าใช้แล้วหมดก็เพราะหามาทดแทนไม่ทัน การใช้ พลังงานพวกนี้ปกติแล้วจะอยู่ใต้ดิน ถ้าไม่ขุดข้ึนมาใช้ตอนนี้ ก็เก็บไว้ให้ลูกหลานใช้ได้ในอนาคต บางทีจึง เรยี กวา่ พลังงานสำรอง 2.2 พลังงานใช้ไม่หมด หรือ พลังงานหมุนเวียน ได้แก่ ไม้ กระดาษ ฟืน แกลบ กาก (ชาน)อ้อย ชีวมวล (เช่น มูลสัตว์ และก๊าซชีวภาพ) น้ำ (จากเขื่อนไหลมาหมุนกังหันปั่นไฟ) แสงอาทิตย์ (ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ ผลิตไฟฟ้าได้) ลม (หมุนกังหันลมผลิตไฟฟ้า) และคล่ืน (กระแทกให้กังหันหมุนป่ันไฟ) และที่ว่าใช้ไม่หมดก็เพราะ สามารถหามาทดแทนได้ เช่น ปลูกป่าเอาไม้มาทำฟืน หรือปล่อยน้ำจากเข่ือนมาปั่นไฟ แล้วไหลลงทะเลกลาง เปน็ ไอและเป็นฝนตกลงมาส่โู ลกอีก หรอื แสงอาทติ ยท์ ่ีได้รบั จากดวงอาทิตยอ์ ย่างไมม่ ีวนั หมดสนิ้ ความสำคญั ของพลงั งาน มนุษย์นำพลังงานมาใช้ในการดำรงชีวิตต้ังแต่สมัยโบราณ เริ่มจากการใช้ไฟฟ้าที่เกิดจากการเสียดสี ของไม้หรือหินเพื่อให้เกิดความอบอุ่น แสงสว่างและการหุงต้มอาหาร มนุษย์เร่ิมรู้จักทำกังหันวิดน้ำ ทำกังหันลมมา 9

เพ่ือยกของหนักและบดเมล็ดธัญพืช พลังงานเป็นปัจจัยสำคัญ ในการส่งเสริมสวัสดิภาพและความผาสุกของ ประชาชนแต่ละประเทศทั่วโลก พลังงานมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับความมั่นคงของประเทศท้ังทางการเมือง การทหาร การเศรษฐกิจและสังคม ปัจจุบันมีการใช้พลังงานมากข้ึน ในการพัฒนาเศรษฐกิจทุกสาขา เช่น อุตสาหกรรม การคมนาคมขนสง่ การไฟฟ้า เปน็ ตน้ 2. ความสมั พนั ธ์ของพลังงานและสงิ่ แวดลอ้ มกบั การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์ พลงั งานกับการดำรงชวี ติ ของมนุษย์ - พลังงานไฟฟา้ ไฟฟ้าคือพลังงานรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงถูกแปรรูปเพ่ือจัดส่งไปยังที่ต่าง ๆ โดยใช้สายไฟฟ้าเป็นตัว นำไป พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานท่ีสำคัญและมนุษย์นำมาใช้มากที่สุด นับแต่ ทอมัส แอลวา เอดิสัน ประดิษฐ์ หลอดไฟสำเรจ็ เม่ือปี พ.ศ. 2422 แลว้ ไฟฟา้ ก็นับเป็นปัจจยั ทีส่ ำคัญในการดำรงชีวิตของคนโดยเฉพาะสงั คมในเมือง การติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง การให้ความรู้ การศึกษา การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเพ่ิมผลผลิต การ ค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหล่งบันเทิง การผลิตสินค้าและการขายสินค้า เหล่านี้ต้องอาศัย พลงั งานไฟฟ้าท้ังสิน้ สิ่งอำนวยความสะดวกที่เราใช้สอยในชีวิตประจำวัน ล้วนต้องการพลังงานในการทำงาน เช่น หลอดไฟก็ต้องการไฟฟา้ เพ่ือส่องสวา่ ง รถยนต์กต็ อ้ งการน้ำมันเพือ่ การขับเคลื่อน แมแ้ ตร่ ถจกั รยานยังตอ้ งการแรงถีบ แต่การจะส่งพลงั งานต่อไปยังพืน้ ท่ีห่างไกล การจะนำไปส่งใหอ้ ย่างงา่ ยทสี่ ุดคือ การแปลงพลังงานอ่ืน ๆ เป็นพลังงาน ไฟฟ้า และส่งไปตามสายไฟฟ้า นอกจากนี้เทคโนโลยีด้านเคร่ืองใช้ไฟฟ้าได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ดังท่ีเห็นได้ รอบตัวในทุกวันนี้ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าเหล่าน้ีใช้เปล่ียนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นพลังงานรูปอ่ืน เพื่อทำกิจกรรมใน ชีวิตประจำวัน การผลติ ไฟฟ้าในปัจจุบันและอนาคต การผลิตไฟฟ้าในปัจจุบันเป็นการผลิตร่วมกันของโรงไฟฟ้าประเภทต่าง ๆ เช่ือมโยงระบบส่งไฟฟ้า ด้วยสายส่งไฟฟ้า โดยมีศูนย์ควบคุมระบบกำลังไฟฟ้า คอยควบคุมระบบการผลิตและส่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ทำให้ สามารถเสริมกำลังผลิตแก่กันได้ โดยในการผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยในปี 2550 จะใช้เช้ือเพลิงจากก๊ าซ ธรรมชาติมากที่สุด รองลงมาคือลิกไนต์ ถ่านหิน พลังน้ำ รับซื้อจากต่างประเทศ น้ำมันเตา และพลังงาน หมนุ เวียน ตามลำดับ สำหรับในอนาคต ความต้องการใช้ไฟฟ้าในประเทศไทยยังคงเพ่ิมสูงขึ้น เน่ืองจากอุตสาหกรรม ภายในประเทศกำลังเจริญก้าวหน้าประกอบกับรฐั บาลมีนโยบายแน่นอนที่จะขยายการพัฒนาไฟฟ้าไปสู่ชนบท กฟผ. จึงต้องมีการวางแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าครอบคลุมระยะเวลา 17 ปี โดยแบ่งออกเป็นแผนหลักและแผน ทางเลอื กทดแทน แลว้ พิจารณาปรบั เปล่ียนแผนไปตามสภาพการณ์ในช่วงเวลานั้น ๆ นอกจากนี้ กฟผ. ได้ศกึ ษาและ วิจัยพลังงานตามธรรมชาติอ่ืน ๆ มาทดแทน เช่น ลม แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ สำหรับการผลิตไฟฟ้าใน อนาคตอกี ด้วย 10

- พลงั งานเช้อื เพลงิ สำหรับยานพาหนะ พลังงานเชื้อเพลิงทีไ่ ดใ้ ชเ้ ป็นน้ำมนั เชือ้ เพลิงชนิดตา่ ง ๆ เตมิ ยานพาหนะไดแ้ ตกต่างกนั ไป ดงั นี้ 1. ก๊าซปโิ ตรเลยี มเหลว หรือแอลพจี ี ใชส้ ำหรับรถยนต์ 2. น้ำมันเบนซิน (ก๊าซโซลีน) น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์เบนซิน เช่น รถยนต์ส่วน บคุ คล รถจักรยานยนต์ 3. น้ำมนั เครื่องบิน ใช้สำหรับเครอื่ งบินใบพัด เคร่ืองบนิ ไอพ่น 4. นำ้ มันดีเซล นำ้ มนั เชื้อเพลิงสำหรับเคร่อื งยนตด์ ีเซล แบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ 1) น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว หรือ น้ำมันโซล่า ใช้สำหรับเคร่ืองยนต์ดีเซลรอบหมุนเร็วท่ีใช้กับ ยานยนต์ เช่น รถยนต์ รถบรรทกุ เรือประมง รถแทรกเตอร์ และเคร่ืองจกั รกลหนัก 2) น้ำมันดีเซลหมุนช้า หรือ น้ำมันขี้โล้ สำหรับเครื่องยนต์ดีเซลรอบหมุนปานกลางหรือ รอบหมุนชา้ เช่น เครอื่ งยนต์ดเี ซลขบั ส่งกำลัง ตดิ ตั้งอยู่กบั ท่ตี ามโรงงานต่าง ๆ 5. ไบโอดีเซล เป็นเช้ือเพลิงดีเซลทางเลือกท่ีผลิตจากแหล่งทรัพยากรหมุนเวียน เช่น น้ำมัน พืช ไขมันสัตว์ หรือสาหร่าย มีคุณสมบัติการเผาไหม้เหมือนกับดีเซลจากปิโตรเลียมมาก สามารถใช้แทนกันได้ สามารถย่อยสลายไดเ้ อง ตามกระบวนการชีวภาพในธรรมชาติ และไมเ่ ปน็ พิษ 6. น้ำมันแก๊สโซฮอล์ หรือท่ีนิยมเรียกว่า E10 คือ น้ำมันเช้ือเพลิงสำหรับรถยนต์ ที่เกิดจาก การผสมระหวา่ ง นำ้ มนั เบนซิน 90% กับ แอลกอฮอล์ 10% 7. น้ำมันเตา นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับเรือและอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังสามารถใช้กับ เคร่ืองยนต์ดีเซลรอบปานกลาง น้ำมันเตาช่วยลดก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ จากการเผาไหม้ที่ออกสู่บรรยากาศของ โรงงานอุตสาหกรรม - พลงั งานเพอ่ื การประกอบอาหาร ในการประกอบอาหารจำเป็นต้องทำให้อาหารนั้นสุกเสียก่อน โดยใช้พลังงานความร้อน พลังงาน ความร้อนท่ีใชใ้ นอดีตมกั ใช้วัสดจุ ากธรรมชาติ เชน่ ฟืน ถ่านไม้ แกลบ เป็นตน้ แต่ในปจั จุบันนยิ มใช้พลังงานความ ร้อนท่ีได้มากจากเช้ือเพลิงฟอสซิล นั่นคือ ก๊าซหุงต้มในครัวเรือน หรือท่ีเรียกว่า ก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือ ก๊าซ แอลพจี ี (liquefied Petroleum Gas-LPG) 11

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 2 หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สูง สอนครง้ั ท่ี 2 (12 คาบ) รหสั 30000-1301 การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม ท-ป-น 2-2-3 ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ ทรัพยากรแรธ่ าตุ 1. สาระสำคญั แร่เปน็ ทรัพยากรท่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ มคี วามสำคัญและมบี ทบาททส่ี นองต่อความตอ้ งการ ทางดา้ น ปัจจยั ต่าง ๆ ของประชากร ทง้ั ทางดา้ นอุตสาหกรรมและพลงั งาน ความสำคัญและประโยชนข์ องแร่ธาตทุ ่ีจะ นำมาใช้ขึน้ อยกู่ ับระยะเวลาความเจรญิ ทางเทคโนโลยี ตลอดจนความตอ้ งการในการนำไปใช้ของมนษุ ยท์ รัพยากรแร่ ธาตุ ทม่ี นุษย์เราใชส้ ่วนใหญ่มาจากแผ่นดิน ซ่งึ คอ่ ย ๆ ลดจำนวนลงทำให้มกี ารสำรวจค้นควา้ หาแหลง่ ทรพั ยากรแร่ธาตุ ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ ปจั จบุ ันได้มีการบุกเบิกหาแหล่งทรัพยากรแร่เชือ้ เพลงิ ในทะเล เช่น นำ้ มันปิโตรเลยี มและกา๊ ซ ธรรมชาติ ความเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี และระยะเวลาทำใหค้ วามสำคัญของแร่ธาตเุ ปล่ยี นแปลงไปจากชนิดหนงึ่ ไปใช้อีกชนิดหน่งึ เชน่ จากการใชถ้ ่านหินมาใช้น้ำมันปิโตรเลยี มและก๊าซธรรมชาติจากการใช้เหลก็ มาใชอ้ ะลูมเิ นียม แทน ในบทน้จี ะขอกลา่ วถงึ แร่โลหะและแร่อโลหะ 2. สมรรถนะประจำหน่วย แสดงความรเู้ ก่ยี วกับแรธ่ าตแุ ละประยุกตใ์ ชใ้ นงานอาชีพ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของแรไ่ ด้ 2. จำแนกประเภทของแร่ได้ 3. ระบุประเภทของแร่ได้ 4. บอกแหลง่ ของแรช่ นดิ ตา่ ง ๆในประเทศไทยได้ 5. บอกสมบตั ิพน้ื ฐานของแร่ได้ 6. บอกองคป์ ระกอบทางเคมขี องแร่ชนดิ ต่าง ๆได้ 7. อธบิ ายกระบวนการสกดั โลหะออกจากแร่ได้ 8. ประเมินความสำคญั ของแร่ธาตุต่าง ๆ ในเชงิ เศรษฐศาสตรไ์ ด้ 4. สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายของแร่และสินแร่ 2.ประเภทของแร่ 3.แหลง่ ของแรใ่ นประเทศไทย 4.สมบัตขิ องแร่ 12

5.องค์ประกอบทางเคมีและลักษณะของแร่ 6.การสกัดโลหะออกจากแร่ 7.ความสำคัญของแร่ธาตุต่าง ๆ 1. แร่ (Mineral) คือธาตหุ รือสารประกอบอนนิ ทรยี ท์ ี่เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ มีโครงสร้างและส่วน ประกอบทางกายภาพและทางเคมที ่ีแน่นอนมสี มบตั ิตา่ ง ๆ เฉพาะตวั สินแร(่ Ore) คือ หิน หรอื แรป่ ระกอบหนิ หรือ เปน็ แร่ทางเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรม ซึ่งมีแรธ่ าตุทตี่ ้องการในปรมิ าณมากพอทส่ี ามารถถลงุ ออกมาใช้ประโยชนไ์ ด้ 2. ประเภทของแร่ สามารถจำแนกตามประโยชน์ในทางเศรษฐกิจเป็น 2 ประเภท คือ ก. แร่ประกอบหนิ (Mineral rock) ข. แร่เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (Industrial mineral) - แรโ่ ลหะ (Metallic mineral) - แร่อโลหะ (Nonmetallic mineral) 3. แหลง่ ของแร่ในประเทศไทย ประเทศไทย มที รัพยากรแรธ่ าตุมากมายหลายชนดิ ทงั้ แรโ่ ลหะ แรอ่ โลหะ แร่พลังงานหรือแร่เชือ้ เพลงิ แรก่ มั มนั ตภาพรงั สีและแรร่ ตั นชาติ มีอยกู่ ระจายทวั่ ไป ทว่ั ทุกภูมภิ าคของประเทศไทย ซ่งึ ไดท้ ำการขุดข้นึ มาใช้ บางชนิดมมี ากสามารถ สง่ ออกไปขายยังตา่ งประเทศ บางชนิดมีนอ้ ยต้องนำเข้าจาก ต่างประเทศ 4.สมบัติของแร่ สมบตั ิทางกายภาพของแร่ หมายถึง สมบตั เิ ฉพาะตวั ของแร่แต่ละชนิดที่สามารถ มองเหน็ สมั ผัส และพิสจู น์ตรวจสอบได้โดยใช้เครือ่ งมือง่ายไดแ้ ก่ รปู ผลึก ความหนาแน่น สี สผี งละเอยี ด ความวาว การให้ แสงผา่ น ความแข็ง สมบตั ิทางเคมีของแร่ ได้แก่ การทำปฏิกริ ยิ ากับกรด การละลายในกรด การตรวจดสู ีของเปลว ไฟ 5. องค์ประกอบทางเคมีและลักษณะของแร่ ใช้เป็นข้อมูลในการระบุและบ่งชปี้ ระเภทของแรว่ ่า เปน็ แรช่ นิด ใด ท้ังนีแ้ รท่ ่ีพบในธรรมชาติ จะมีองค์ประกอบทางเคมีแตกตา่ งกนั ไป 6. การสกดั โลหะออกจากแร่ อาจเรียกอีกอยา่ งหนึ่งว่า การถลงุ แร่ ทำโดยการนำแร่ไปผา่ นกรรมวธิ ตี า่ งๆ เพอ่ื ให้ได้โลหะที่บรสิ ุทธิ์ หรือเกอื บบรสิ ุทธ์ิตามต้องการซ่งึ มี 2 วธิ ีคือถลงุ ด้วยไฟฟ้า กบั ถลุงด้วยความร้อน มี 3 ขัน้ ตอน หลกั คือ การเตรียมแร่ การถลุงแร่ และการทำโลหะที่ไดจ้ ากการถลุงให้บริสุทธ์ิ 7. ความสำคญั ของแร่ธาตตุ ่าง ๆ นับไดว้ ่าแรธ่ าตุต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ โลหะหรืออโลหะ นัน้ ลว้ นมี ความสำคญั ต่อเศรษฐกิจอย่างมาก นำมาประดิษฐเ์ ครอื่ งใช้ไม้สอย นำมาผสมโลหะอ่ืนเพื่อให้มีสมบตั ติ ามการใช้งานท่ี ต้องการ ซึ่งนับว่าสรา้ งรายได้ให้กบั ประเทศเป็นอย่างมาก 13

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที.่ ..4-6........) - ครตู รวจสอบรายชอื่ ผู้เขา้ เรยี น - ชแี้ จงลกั ษณะการเรียนการสอนและการเก็บคะแนน - นำเข้าสู่บทเรยี น - ใหท้ ำแบบทดสอบก่อนเรียน - ใหค้ วามรใู้ นสาระการเรยี นรู้ - ใบกิจกรรมทบทวนบทเรยี น - ทำกิจกรรมการทดลอง 2.1 เรอ่ื งการทดสอบแรบ่ างชนดิ ด้วยการสงั เกตสีเปลวไฟ อภปิ รายผลการทดลอง และลงข้อสรุปร่วมกนั - ทำแบบทดสอบหลังเรยี น 6. สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1.หนงั สือเรียนวิชาการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งานและสิ่งแวดลอ้ ม 30000-1301 ของสำนกั พมิ พ์ศนู ย์ส่งเสริมอาชวี ะ 2.รูปภาพ 3.แผน่ ใส 4.สอ่ื PowerPoint , วิดที ศั น์ 5.แบบประเมินผลการเรียนรู้ 6.กิจกรรมการเรยี นการสอน - รายงานผลกิจกรรมเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ี 2.1 เร่ืองการทดสอบแรบ่ างชนดิ ดว้ ยการ สงั เกตสีเปลวไฟ อภิปรายผลการทดลอง 7.หลกั ฐานการเรียนรู้ 1.บนั ทึกการสอนของผ้สู อน 2.ใบเช็ครายชอื่ 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน 8.การวดั และประเมินผล 8.1 วธิ กี าร 1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ 3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 4 ตรวจกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏิบตั ิ 14

6. ตรวจกจิ กรรมใบงาน 7. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 8.2 เครอ่ื งมือ 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู) 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยผูเ้ รียน) 4. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 5. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รียนร่วมกัน ประเมิน 8.3 เกณฑ์ 1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ 2. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ข้ึนไป) 3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. แบบประเมนิ ผลการเรียนร้มู เี กณฑผ์ า่ น และแบบฝกึ ปฏบิ ัติ 50% 5. แบบประเมินกิจกรรมใบงานมีเกณฑผ์ า่ น 50% 6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่ กบั การประเมินตามสภาพจรงิ ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน - ใบกิจกรรมทบทวนบทเรยี น - รายงานผลกิจกรรมเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ 2.1 เรอื่ งการทดสอบแรบ่ างชนิดด้วยการ สังเกตสีเปลวไฟ อภิปรายผลการทดลอง - คะแนนทดสอบหลังเรียนร้อยละ 60 ข้ึนไป 15

9.บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 9.1 ข้อสรุปหลังการจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ...................................................................................................................................... ............ ...................................................................................................................... ............................ ............................................................................................................................. ..................... 9.2 ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... 9.3 แนวทางแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ..................... .......................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................................. ..................... 16

เอกสารอา้ งอิง กรมทรัพยากรธรณี. (2544). ธรณวี ทิ ยาประเทศไทย เฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เน่ือง ในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธนั วาคม 2542. กรงุ เทพฯ, 566 หนา้ . โครงการสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั .(2558).อัญ มณแี ละแหล่งในประเทศไทย.[ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : http://kanchanapisek.or.th/ (วันท่ีคน้ ข้อมลู :18 กุมภาพันธ์ 2553). มหาวิทยาลยั มหิดล.(2558).สาระน่ารู้เรือ่ งรัตนชาติ. [ออนไลน์]. แหล่งข้อมลู : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/earth-science. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มูล : 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2558). ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศพั ท์วิทยาศาสตรฉ์ บบั ราชบัณฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ : ราชบณั ฑติ ยสถาน. วิชาการธรณไี ทย.(2558).ศพั ทธ์ รณีวิทยาทั่วไป.[ออนไลน์]. แหลง่ ขอ้ มูล : http://www.geothai.net/glossary-a-e. (วนั ที่ค้นข้อมลู : 20 กมุ ภาพันธ์ 2558). วิชาการธรณไี ทย.(2558).ศัพท์ธรณีวทิ ยาท่ัวไป.[ออนไลน์]. แหล่งข้อมูล : http://www.geothai.net/glossary-f-l. (วนั ทคี่ ้นข้อมูล : 20 กุมภาพนั ธ์ 2558). วิชาการธรณไี ทย.(2558).ศพั ท์ธรณีวิทยาทั่วไป.[ออนไลน์]. แหล่งขอ้ มลู : http://www.geothai.net/glossary-m-r. (วนั ท่ีค้นข้อมูล : 20 กุมภาพนั ธ์ 2558). วิชาการธรณีไทย.(2558).ศัพท์ธรณีวทิ ยาท่ัวไป.[ออนไลน์]. แหล่งข้อมลู : http://www.geothai.net/glossary-s-z. (วนั ทคี่ ้นข้อมูล : 20 กุมภาพนั ธ์ 2558). สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2547). หนังสอื เรยี นสาระการเรียนรพู้ ้ืนฐานและ เพ่ิมเตมิ เคมี เล่ม 5. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพรา้ ว. _______. (2558).สมบัติของทองและการนำทองไปใช้ประโยชน์.[ออนไลน์].แหลง่ ข้อมูล : http://fieldtrip.ipst.ac.th/(วันทค่ี ้นข้อมลู : 21 กมุ ภาพันธ์ 2558). _______ .(2558) . สมบตั ิของแร่.[ออนไลน์].แหลง่ ขอ้ มลู : http://www.electron.rmutphysics.com/news/ (วนั ที่ค้น ข้อมูล : 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2558) 17

ใบความรู้ที่ 2 หนว่ ยท่ี 2 หลักสตู ร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สอนคร้งั ที่ 2 (12คาบ) รหัส 30000-1301 การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน เวลา......12............ชม. และสิ่งแวดลอ้ ม ชอ่ื เรอ่ื ง เรือ่ ง ทรัพยากรแร่ธาตุ 1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. บอกความหมายของแร่ได้ 2. จำแนกประเภทของแร่ได้ 3. ระบุประเภทของแรไ่ ด้ 4. บอกแหล่งของแร่ชนิดต่าง ๆในประเทศไทยได้ 5. บอกสมบัติพืน้ ฐานของแร่ได้ 6. บอกองคป์ ระกอบทางเคมขี องแร่ชนดิ ตา่ ง ๆได้ 7. อธบิ ายกระบวนการสกดั โลหะออกจากแร่ได้ 8. ประเมนิ ความสำคัญของแรธ่ าตตุ า่ ง ๆ ในเชงิ เศรษฐศาสตร์ 2. สมรรถนะประจำหน่วย 1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั แรธ่ าตุและประยุกต์ใช้ในงานอาชพี 3. สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของแร่ 2. จำแนกประเภทของแร่ 3. แหล่งของแร่ชนดิ ตา่ ง ๆในประเทศไทย 4. สมบตั ิพ้นื ฐานของแร่ 5. องคป์ ระกอบทางเคมีของแร่ชนดิ ตา่ ง ๆ 6. กระบวนการสกดั โลหะออกจากแร่ 7. ความสำคัญของแรธ่ าตตุ า่ ง ๆ ในเชิงเศรษฐศาสตร์ แร่ (องั กฤษ: mineral) เป็นธาตุหรือสารประกอบทางเคมที ี่เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ดว้ ยกระบวนการทางอนิ นทรีย์ ส่วนใหญเ่ ป็นของแข็ง มีโครงสร้างภายในทเ่ี ป็นระเบียบ มสี ูตรเคมแี ละสมบตั ิอื่น ๆ ทแี่ นน่ อนคงทห่ี รอื อาจ เปลี่ยนแปลงไดใ้ นวงจำกดั แรแ่ บ่งตามองค์ประกอบทางเคมี แร่ธาตธุ รรมชาติ (Native elements) มักจะอยรู่ วมตวั กนั เป็นสารประกอบ แตบ่ างชนดิ อยู่กนั เดย่ี ว ๆ ในรปู ธาตธุ รรมชาติ แบ่งไดเ้ ปน็ 18

โลหะ ได้แก่ เงนิ ทองแดง ทองคำ ทองคำขาว อโลหะ ได้แก่ กำมะถนั แกรไฟต์ เพชร ซลั ไฟด์ (sulphides) แร่กลมุ่ น้ี เป็นสารเร่มิ ตน้ ของโลหะผสม แร่ซลั ไฟดม์ ักเกิดเป็นสายแร่ จากหินหนืดทีเ่ ย็น ลงในอณุ หภูมิต่าง ๆ กนั ดงั นั้น จงึ หลอมงา่ ย และ อบั แสง ซลั โฟซอล (sulphosalt) ในโครงสรา้ งผลึกแร่เดียวกนั ประกอบด้วยธาตุโลหะหรือกง่ึ โลหะ และทำตวั เหมอื น โลหะ ได้แก่พวก ตะกัว่ พลวง ออกไซด์ ออกไซดเ์ ชงิ ช้อน และไฮดรอกไซด์ (Oxides, Multiple Oxides and Hydroxides) เป็นธาตทุ ี่มี จำนวนมากและหายาก แตธ่ าตุท่มี ีประโยชนน์ น้ั มนี ้อย ประกอบอยู่ในหินแปร และ หินอัคนี เป็นธาตุทท่ี นทานและ แขง็ แรง จึงมีคา่ ทางเศรษฐกจิ มาก เชน่ เหลก็ (ฮีมาไทต์ แมกนไี ทต์ ) เฮไลด์ (Halides) ประกอบอยู่ด้วยธาตหุ มู่ฮาโลเจน (ธาตหุ มู่ 7) ตวั อยา่ งเช่น Atacamite, Fluorite ซลั เฟต (sulphates) สามารถจำแนกได้เป็นสองชนิด คือ Anhydrous sulphates คือไม่มีส่วนประกอบของนำ้ ไดแ้ ก่ anhydrite และ barite Hydrous sulphates and Basic sulphates คอื มนี ำ้ เปน็ สว่ นประกอบ ไดแ้ ก่ Bloedite, Chalcanthite, Melanterite และ ยปิ ซมั ทงั สเตต และ โมลบิ เดต (Tungststes and Molybdates) เปน็ สินแรท่ ม่ี ีสีสันสวยงาม คอื ซีไลท์ ซ่ึงเม่ืออยู่ ในอลั ต้าไวโอเลตจะไดส้ ีขาวนวลฟ้า และวลุ ฟไี นท์ มสี สี ้ม ฟอสเฟต อารเ์ ซเนต และวาเนเดต เปน็ แรท่ ห่ี าไดย้ าก ซึ่งมีฟอสเฟสเป็นสว่ นประกอบ ท่ีน่าสนใจไดแ้ ก่กลุ่ม ฟอสเฟส อาเซเนต และ วาเนเตต ซิลเิ กต (Silicates) เปน็ แร่ท่เี กิดจากการรวมตวั ของ ซิลกิ อนและ ออกซิเจน และยงั มีสารอืน่ ประกอบ ทำให้ เกดิ ลักษณะต่างๆกันหลายชนิด แร่ธาตุ และการจำแนกแร่ธาตุตามประโยชนท์ างเศรษฐกิจ แรธ่ าตุและองค์ประกอบทางเคมี แรธ่ าตุ (Mineral) เปน็ ธาตุหรอื สารประกอบทางเคมที ีเ่ กิดข้นึ เองตามธรรมชาตบิ นพนื้ โลก บนอากาศ หิน ดนิ น้ำ ดว้ ยกระบวนการทางอนนิ ทรยี ์ สว่ นใหญ่เปน็ ของแขง็ มโี ครงสร้างภายในท่เี ปน็ ระเบยี บ มีสตู รเคมแี ละสมบตั ิ อ่ืนๆ ท่แี นน่ อนคงท่ี มคี วามสำคญั และมีบทบาทที่สนองความตอ้ งการทางด้านปจั จัยตา่ ง ๆ ของประชากร ทงั้ ทางดา้ น อุตสาหกรรมและพลังงาน ความสำคัญและประโยชน์ของแรธ่ าตทุ ่จี ะนำมาใช้ข้นึ อยู่กับระยะเวลาความเจริญทาง เทคโนโลยี ตลอดจนความต้องการในการนำไปใช้ของมนุษย์ แรธ่ าตุ แรธ่ าตุ คอื ธาตหุ รือสารประกอบอนนิ ทรีย์ที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาติ มีโครงสรา้ ง องคป์ ระกอบและสมบตั ิ เฉพาะตัว โดยมีส่วนประกอบทางเคมแี ละมีรปู ผลึกทแ่ี นน่ อน จดั เปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทหนึ่งท่ีมีความสำคัญ 19

ต่อมนษุ ย์มาตัง้ แต่สมยั โบราณ แรธ่ าตอุ าจจำแนกออกเปน็ ชนดิ ต่างๆ ตามส่วนประกอบทางเคมีหรือสมบตั ิทางกาย เปน็ 3 ชนิด คือ แรโ่ ลหะ แร่อโลหะ และแร่เชื้อเพลงิ 1. แร่โลหะ เป็นแร่ทีม่ ีความเหนยี ว เปน็ ตวั ทนความรอ้ น และไฟฟา้ ไดด้ หี ลอมตวั ได้ และมีความทบึ แสง นำมาถลุงก่อนแลว้ จึงนำไปใช้ประโยชน์ แร่โลหะ อาจแยกเป็นประเภทย่อย ๆ ได้ดังน้ี 1.1 แรโ่ ลหะพน้ื ฐาน ได้แก่ ทองแดง ตะก่ัว สังกะสี พลวง ดบี ุก ทงั สเตน เปน็ ต้น 1) ดีบกุ เป็นแร่ท่ีอยใู่ นหินแขง็ จำพวกหินแกรนิต มีลักษณะเป็นผลกึ แต่อาจเป็นก้อนผวิ เปน็ เส้นๆ คล้ายไม้ ถา้ บริสทุ ธ์จิ ะมสี ีคลา้ ยน้ำผึง้ ถ้าไมบ่ ริสุทธจิ์ ะมีสนี ำ้ ตาลหรือดำ นยิ มนำมาทำโลหะผสม ทำภาชนะจำพวกปีบ กระป๋อง นำมาใชเ้ คลือบหรือชบุ แผน่ เหลก็ ทำโลหะบัดกรี ทำเปน็ แผ่นสำหรับห่ออาหาร บุหรี่ 2) วลุ แฟรม มีลกั ษณะเป็นแผน่ หรอื แทง่ มสี ีน้ำตาลแก่หรือดำ เมื่อถลงุ แลว้ เรียกว่า “ทังสเตน” มีคณุ สมบตั ิ ทนความรอ้ นได้ดีจึงนยิ มนำมาทำไส้หลอดไฟฟา้ ทำเครื่องเจาะ ตดั และกลึงโลหะ 3) เหล็ก มีสีนำ้ ตาลปนแดงหรอื สดี ำ มีความมันวาวแบบโลหะ เป็นแร่ธาตุท่มี ีความสำคญั มากทสี่ ดุ นิยมใช้ ในการก่อสร้าง ทำเครอ่ื งมือ เครื่องจักรกลต่างๆ และอาวุธ 4) ตะก่วั มีลกั ษณะเปน็ เกล็ด เม็ด บางทีเป็นผลึกรูปลกู เต๋า มสี ีเทาแก่ออกดำ นิยมนำมาทำลกู กระสนุ ปืน ทำตวั พมิ พ์ ทำโลหะบัดกรี แบตเตอรีร่ ถยนต์ เปน็ ตน้ 5) ทองแดง มลี ักษณะเป็นของแข็งสแี ดง เนื้ออ่อนบุให้เปน็ แผน่ ยางและรีดเปน็ เสน้ ลวดได้งา่ ยเราใช้ ทองแดงมากเปน็ อนั ดับสองรองจากเหล็ก โดยใช้ทำอุปกรณไ์ ฟฟา้ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช้ตา่ งๆ 1.2 แรห่ นักและแร่หายาก ได้แก่ โคลมั ไบต์ – แทนทาไลต์ เป็นแรท่ มี่ ีโลหะไนโอเบียม ( Nb ) และ แทนทาลมั เปน็ องค์ประกอบหลกั เซอรค์ อน เปน็ แร่ที่มโี ลหะเซอรโ์ คเทียม ( Zr ) เป็นองค์ประกอบหลัก แรอ่ ลิ เมไนต์ เป็นแร่ทีม่ ีโลหะไทเทเนยี ม ( Ti ) และเหล็ก ( Fe ) เป็น องค์ประกอบหลกั สตู รของแร่อิลเมไนต์ คือ FeTiO แร่โมนาไซต์ เปน็ แรท่ ีม่ ีโลหะซีเรยี ม ( Ce ) ทอเรียม ( Th ) และ แลนทานมั ( La ) เป็นองค์ประกอบหลักสตู รของแรโ่ มนาไซต์ คอื ( CeLaTh ) PO4 และแร่ซโี นไทม์ เป็นแร่ท่มี ีโลหะ อติ เทรียม ( Y ) เป็นองค์ประกอบสูตรของแร่ซีโนไทม์ 1.3) แรโ่ ลหะมีค่า ได้แก่ ทองคำ ทองคำขาว เงิน 1.4) แร่ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา้ ไดแ้ ก่ เหลก็ ( Fe ) โครไมต์ ( FeCr2 O 4 ) นิกเกลิ ( Ni ) โมลบิ ดไิ นต์ ( MoS2) แมงกานสิ ( Mn ) 2. แรอ่ โลหะ คือ แร่ธาตทุ ่ีไมเ่ ป็นตัวนำความร้อนมลี ักษณะโปรง่ แสง เปราะแตกหกั ง่าย สามารถ นำมาใชป้ ระโยชน์ไดโ้ ดยไม่ต้องถลงุ แร่อโลหะท่สี ำคญั ได้แก่ 2.1 ยปิ ซมั เป็นแรธ่ าตทุ ่เี กิดขึ้นเป็นช้นั หนา ลักษณะคล้ายหนิ ปูน มสี ีขาว ใชท้ ำ ปนู ซเี มนต์ ปนู ปลาสเตอร์ และชอลก์ เป็นต้น 2.2 เกลือแกง มี 2 ชนิด คอื เกลือสินเธาว์ หรือเกลือหนิ ซงึ่ เป็นเกลอื ท่ีไดจ้ ากดนิ เค็ม และเกลือสมทุ รซ่ึงไดจ้ ากนำ้ ทะเล 20

2.3 หนิ ทราย มีทรายเปน็ องค์ประกอบเป็นสว่ นใหญ่ และถูกนำมาใช้ประโยชน์ด้าน การก่อสรา้ ง เช่น ทำถนน สร้างอาคาร และสง่ิ ก่อสรา้ งตา่ งๆ เปน็ ต้น 2.4 แร่ซิลกิ า เปน็ อัญมณรี ปู หนึง่ ของธาตซุ ลิ ิกอน พบมากทส่ี ุดในสภาพของผิวโลก ท่เี ป็นทราย เปน็ ผลึกมีสีขาว สีขาวขนุ่ สีนำ้ ตาลใส ต้นกำเนิดของแรจ่ ะเกดิ ปนอยู่กบั แร่อ่นื ๆ ในหนิ อัคนี เช่น หนิ แกรนติ ทรายซลิ ิกาสะสมอยมู่ ากบริเวณชายฝ่ังทะเล ทะเลทราย ลมุ่ แม่น้ำ เปน็ ต้น 2.5 แรเ่ ฟลด์สปาร์ มธี าตทุ ่เี ป็นส่วนประกอบ คือ อะลมู ิเนยี ม โพแทสเซียม ซลิ กิ อน โซเดียม และแคลเซียม เป็นองคป์ ระกอบของหินพบอยู่ในหินอัคนี และถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมเคร่ือง เคลือบ เช่น สุขภณั ฑ์ เคร่อื งเคลอื บดินเผา กระเบื้องเคลือบ เป็นต้น 2.6 แรก่ ำมะถัน มีลกั ษณะเป็นก้อนสเี หลือง สีน้ำตาลและสีเขยี วมเี น้ือละเอยี ด เนยี นและเรยี บมีความวาวเหมอื นข้ีผง้ึ พบในบริเวณท่ีมีภเู ขาไฟ น้ำพรุ ้อน แหล่งน้ำมันดิบกำมะถันนำมาใช้ประโยชน์ คอื ทำดนิ ปืน ไม้ขดี ไฟ ปุ๋ย ผลิตกรดชนิดต่างๆ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมเคมี เปน็ ต้น 2.7 แรไ่ มกา เป็นแร่ประกอบหนิ ท่ีสำคัญชนดิ หน่ึง พบในหนิ อัคนี เช่นใน หนิ แกรนิต หนิ แปรประเภทหนิ ไนส์ และแรซ่ สิ ไมกา เป็นต้น 2.8 แรแ่ คลเซยี ม แคลเซียมในธรรมชาตเิ กดิ เปน็ สารประกอบมากมาย หนิ ปูน ก็เป็นสารประกอบของแคลเซียมอกี ชนิดหนึง่ มชี ่ือทางเคมีวา่ แคลเซียมคารบ์ อเนต ซึ่งแคลเซียมมแี หล่งท่ีมาอยู่ หลายแหล่ง เช่น แนวภูเขาหนิ ปนู หรอื จากช้นั ของหินปูนทีส่ ะสมตามธรรมชาติ 2.9 แรฟ่ ลูออไรต์ มีเน้ือละเอยี ดเหมอื นน้ำตาลทรายหรอื เหมือนแร่ควอตซ์ มี ลักษณะโปรง่ ใสหรือกง่ึ โปร่งแสง 2.10 ดนิ ขาวหรอื เกาลีน มีลักษณะคล้ายดินเหนียว มีสีขาว เกิดจากการผุสลาย แปรสภาพของแร่เฟลด์สปาร์ หรือ เกดิ จากการผสุ ลายของหินแกรนิต ดนิ ขาวถูกนำมาใชท้ ำเคร่ืองป้ันดินเผาทกุ ชนิด 3. แร่พลงั งาน หรือแร่เชือ้ เพลิงเป็นแร่ท่ีสำคัญถูกนำมาใชม้ ากเกิดจากซากสิ่งมชี วี ิตในอดตี ได้แก่ ลกิ ไนต์ ถา่ นหนิ นำ้ มนั ดบิ และกา๊ ซธรรมชาติ เป็นตน้ การจำแนกแรธ่ าตุตามประโยชนท์ างเศรษฐกิจ การจำแนกแร่ธาตุตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจนน้ั สามารถจำแนกแร่ธาตุออกได้ 2 ประเภท คือ 1. แร่ประกอบหิน หมายถงึ แรธ่ าตุทเ่ี ป็นส่วนประกอบของหนิ เชน่ หนิ แกรนติ ประกอบด้วย แรค่ วอตซ์ เฟลดส์ ปารแ์ ละไมกา หินปูนประกอบด้วยแรแ่ คลไซต์ เปน็ ต้น แร่ชนดิ น้จี ะแยก กระจายอยใู่ นเนื้อหินแยกออกมาใชไ้ ดย้ าก แต่ถ้ามีปริมาณมากก็อาจนำมาใชป้ ระโยชน์โดยตรงได้ เช่น การนำ หนิ แกรนิตและหนิ อ่อนมาใช้ในการก่อสร้างอาคารบา้ นเรือน เปน็ ต้น แร่ควอตซ์ 2. แรเ่ ศรษฐกิจและอุตสาหกรรม หมายถงึ แร่ที่มคี า่ ทางเศรษฐกจิ และมีปริมาณมากพอท่นี ำมาใช้ ประโยชนใ์ นอตุ สาหกรรมต่างๆ ได้ แรช่ นดิ นี้แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.1 แรโ่ ลหะ หมายถงึ แรท่ ่ีมีธาตุโลหะเป็นองคป์ ระกอบแร่โลหะมเี พียงไม่กชี่ นดิ ทีเ่ กิดเปน็ ธาตุอสิ ระ เชน่ ทองคำ ทองแดง เงิน แพลทนิ มั แต่สว่ นจะพบแร่โลหะในรูปของสารประกอบพวกออกไซด์คาร์บอเนตหรือซัลไฟด์ และเรียกแร่ที่มโี ลหะเปน็ ส่วนประกอบจำนวนมากและคุ้มค่าต่อการลงทนุ มากกวา่ สนิ แร่ 21

ตาราง ตวั อยา่ งสินแร่ต่าง ๆ ทมี่ ีในประเทศไทย สินแร่ ประเภทของ สูตรเคมี โลหะที่ได้จาก สารประกอบ สินแร่ แคลซเิ ทอไรต์ ออกไซด์ Be3AI2 Si3 O18 สตบิ ไนต์ ซลั ไซด์ Sb2 S3 ดบี กุ สติบโคไนต์ ออกไซด์ Sb2 O4 H2O พลวง ฮมี าไทต์ ออกไซด์ Fe2 O3 พลวง คาลโคไพไรต์ ซัลไซด์ CuFes2 เหลก็ มาลาไคต์ คาร์บอเนต [ Cu2CO3 ( OH2 )] ทองแดง กาลีนา ซลั ไซด์ PbS ทองแดง วลุ แฟรมไมต์ ออกไซด์ (Fe,Mn) WO4 ตะก่ัว ซไี ลต์ ออกไซด์ CaWO4 ทังสเตน ซงิ ค์เบลนดห์ รือสฟาเลไรต์ ซัลไฟด์ ZnS ทงั สเตน เฮมมิ อรไ์ ฟต์ ซลิ ิเกต [ Zn4( Si2O7)( OH 2 )H2 O ] สงั กะสี สมิทซอไนต์ คารบ์ อเนต ZnCO3 สงั กะสี ซงิ ค์ไรต์ ออกไซด์ ZnO สงั กะสี แทนทาไลต์ – โคลมั ไบต์ ออกไซด์ [ Fe,Mn )(Ta,Nb) 2O 6 ] สงั กะสี แทนทาลัม และ เซอรค์ อน ซิลเิ กต ZrSiO 4 ไนโอเบียม เซอร์โคเนยี ม 2.2 แรอ่ โลหะ หมายถึง แร่ที่มีธาตุโลหะเปน็ สว่ นประกอบ เชน่ แร่อโลหะท่ีสำคญั ของประเทศไทย เช่น แร่เฟลด์สปาร์ ฟูลออไรต์ โพแทซ ยิปซมั แบไรต์ ดนิ ขาว แกรไฟต์ ใยหิน แคลไซต์ ทัลต์ หินปูน หินออ่ น ทรายแกว้ แร่รตั นชาติ รวมทัง้ แรเ่ ช้อื เพลิง ซ่ึงไดแ้ ก่ ถ่านหิน หนิ น้ำมนั ปโิ ตรเลียม ตัวอย่าง การใชป้ ระโยชน์จากแรอ่ โลหะ เช่น หนิ ปนู ใช้ทำปนู ซเี มนต์ ปูนขาว หินแกรนติ หินอ่อน หิน ทราย หนิ กาบใชใ้ นการกอ่ สร้าง เช่น ใช้ปพู นื้ ประดบั ผนงั ทำขั้นบนั ได ยิบซัมใช้ทำปูนซเี มนต์ ปนู ปลาสเตอร์ แผ่นยิบซมั บอรด์ ชอล์ก ปุ๋ย ถา่ นหิน หนิ น้ำมนั ปิโตรเลียมใช้เปน็ เชื้อเพลิง เปน็ ตน้ 22

ประโยชนข์ องแรธ่ าตุ 1. ประโยชนท์ างด้านความม่ันคง และม่ังคัง่ ของประเทศ ประเทศท่ีมีแรธ่ าตุต่างๆ มากมายและ สามารถนำไปใช้แปรรปู เปน็ ผลผลิตตา่ งๆ ทีท่ ำประโยชน์ตอ่ มนษุ ย์ เชน่ ดา้ นอาวุธ ด้านอุตสาหกรรม เป็นต้น 2. ประโยชน์ดา้ นความเป็นอยู่ของมนุษย์นำแร่ธาตุตา่ งๆ มาสรา้ งข้นึ เปน็ ภาชนะใชส้ อยพาหนะท่ี ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรอื น ก๊าซหงุ ต้ม พลงั งานไฟฟ้า 3. ประโยชน์ดา้ นการสร้างงานแกป่ ระชาชน ทำใหป้ ระชาชนมรี ายไดจ้ ากการขุดแร่ ไปจนถงึ แปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ไปส่ผู ้บู รโิ ภค นอกจากนี้ แรธ่ าตชุ นิดต่างๆ มคี ุณสมบัติลักษณะต่างกัน จึงมปี ระโยชนแ์ ตกต่างกัน เชน่ แร่ วลุ แฟรม นำมาทำไสห้ ลอดไฟฟ้า ใช้ในอตุ สาหกรรมเครอื่ งแก้ว แร่พลวงนำมาใช้ทำตัวพิมพ์หนังสอื ทำสี แบตเตอร่ี รตั นชาติ เปน็ แรท่ ่มี ลี ักษณะสสี ันสวยงาม นำมาใช้ทำเคร่ืองประดบั ตา่ งๆ มากมาย ทรัพยากรแร่ธาตใุ นทอ้ งถ่ินต่างๆ ภาคเหนอื มีแรธ่ าตุอดุ มสมบูรณ์ แรธ่ าตุท่ีสำคญั คือ - ถา่ นหนิ ลิกไนต์ พบที่ อ. แม่เมาะ จ.ลำปาง อ.ล้ี จ.ลำพูน - น้ำมันปโิ ตรเลียม พบท่ี อ.ฝาง จ. เชยี งใหม่ - หินนำ้ มนั พบที่ อ.ลี้ จ.ลำพนู - ดินขาว พบที่ อ. แจ้หม่ จ. ลำปาง - ฟลูออไรต์ พบท่ี จ.เชียงใหม่ เชียงราย แมฮ่ ่องสอน - ดบี ุก พบที่ จ. แม่ฮ่องสอน เชยี งราย ลำปาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื มีแรธ่ าตุไมม่ ากนกั แรธ่ าตุท่ีสำคญั คอื - แบไรต์ พบที่ จ.เลย อดุ รธานี - เกลอื หนิ พบที่ จ. นครราชสีมา - กา๊ ซธรรมชาติ พบท่ี จ. ขอนแก่น ภาคกลาง มีแรธ่ าตไุ มม่ ากนัก แร่ธาตุท่สี ำคญั คอื - ยปิ ซมั พบที่ จ. นครสวรรค์ พจิ ติ ร - นำ้ มันปิโตรเลยี ม พบที่ จ. กำแพงเพชร - ดีบุก พบที่ จ. สโุ ขทัย - เหลก็ พบที่ จ. ลพบุรี ภาคตะวันออก แรธ่ าตุท่มี ีคา่ ทางเศรษฐกิจท่สี ำคัญ คือ - รตั นชาติ พบที่ จ.จันทบุรี ตราด - ทรายแก้ว พบท่ี จ. ระยอง - แรเ่ หล็ก พบท่ี จ. ระยอง ชลบุรี 23

ภาคตะวันตก แรธ่ าตทุ ีส่ ำคัญคอื - สังกะสี พบท่ี จ.ตาก - เหลก็ พบที่ จ.กาญจนบรุ ี - รัตนชาติ พบท่ี อ.บอ่ พลอย จ.กาญจนบุรี - หินน้ำมัน พบที่ จ.ตาก - ดบี ุก พบที่ จ.กาญจนบุรี ประจวบครี ีขนั ธ์ ภาคใต้ มแี ร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ แร่ธาตุทีส่ ำคัญคือ - ดบี ุก พบท่ี จ.พังงา ภูเก็ต ระนอง - ยปิ ซัม พบท่ี จ.สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช - ทรายแกว้ พบท่ี จ.สงขลา - แหลง่ นำ้ มันและก๊าซธรรมชาติ พบท่ีอ่าวไทยบริเวณนอกชายฝั่ง จ.สุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช 24

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 3 หลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู สอนครง้ั ที่ 3 (12 คาบ) รหัส 30000-1301 การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ ม ท-ป-น 2-2-3 ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ ปิโตรเลียมและผลติ ภัณฑ์ 1. สาระสำคัญ ปิโตรเลียม ประกอบด้วยก๊าซธรรมชาติเและน้ำมนั ดบิ ซง่ึ รวมกนั เปน็ ของเหลวข้นหนืดสีดำ ก๊าซ ธรรมชาติเหลวจะอยูช่ ัน้ บนของปโิ ตรเลียม และเกิดจากการกลั่นตัวตามธรรมชาติ เราใช้ผลติ ภณั ฑ์ จากปิโตรเลยี มใน รปู แบบต่าง ๆ เช่น กา๊ ซหุงต้ม น้ำมนั กา๊ ด นำ้ มนั เบนซนิ น้ำมันดีเซล ยางมะตอย ประโยชน์ของพลงั งานปิโตรเลยี มมี ท้ังทางตรง คอื การนำพลังงานปโิ ตรเลียมมาใช้กับยวดยานพาหนะและเคร่ืองมือเคร่อื งใช้ต่าง ๆ สว่ นทางออ้ ม คอื การ นำพลังงานปิโตรเลียมมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า เน่ืองจากพลังงานปโิ ตรเลียมเป็นพลงั งานท่ใี ช้แล้วจะหมดสิ้นไปจาก โลกและเป็นพลังงานจากซากดึกดำบรรพ์ การใช้พลงั งานปิโตรเลียมจึงควรใชอ้ ยา่ งประหยัดและถูกวิธี 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย แสดงความรู้ ทดลองและตรวจสอบเกี่ยวกับปโิ ตรเลียมและผลติ ภณั ฑ์ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายธรรมชาติของการกำเนิดปโิ ตรเลียมได้ 2. อธิบายข้นั ตอนในการสำรวจแหล่งพลงั งานปโิ ตรเลียมได้ 3. อธบิ ายวิธีการเจาะหลมุ ผลติ ปโิ ตรเลียมแตล่ ะแบบได้ 4. บอกวธิ กี ารแยกปิโตรเลยี มได้ 5. บอกประโยชนข์ องผลิตภัณฑท์ ไี่ ดจ้ ากปโิ ตรเลยี มได้ 6. บอกแหลง่ ปิโตรเลียมทีส่ ำคญั ในประเทศไทยได้ 7. อธิบายความหมายของอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีได้ 8. ระบปุ ระเภทของอตุ สาหกรรมปิโตรเคมีจากผลติ ภณั ฑท์ ่ีกำหนดได้ 4. สาระการเรียนรู้ 1. ธรรมชาตแิ ละการกำเนดิ ปโิ ตรเลียม 2. การสำรวจแหลง่ พลงั งานปโิ ตรเลยี ม 3. การเจาะหลุมผลิตปิโตรเลียม 4. การกล่นั แยกปโิ ตรเลยี ม 4.1 น้ำมันดิบ 25

4.2 ก๊าซธรรมชาติ 5. ผลิตภัณฑจ์ ากปิโตรเลียม 6. เชอ้ื เพลิงชวี มวลสำหรบั ยานยนต์ 7. แหลง่ ปโิ ตรเลยี มในประเทศไทย 8. อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี 1.ธรรมชาติและการกำเนิดปโิ ตรเลียม เป็นสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนทเี่ กิดข้นึ เองตามธรรมชาติ มี ลักษณะเปน็ สารเนอ้ื ผสมสีน้ำตาลเข้มจนถึงสีดำ ธาตทุ ี่เป็นองคป์ ระกอบสำคัญของปิโตรเลียมคือ คาร์บอนและ ไฮโดรเจน โดยมไี นโตรเจน ออกซิเจน และกำมะถนั ปนอยู่เลก็ น้อย ปิโตรเลียมมที ง้ั 3 สถานะปนกันอยู่ คอื กา๊ ซ ของเหลวและของแข็ง ส่วนมากพบในสถานะของเหลว คอื นำ้ มนั ดิบ(Crude oil) กับในสถานะก๊าซ คือ ก๊าซธรรมชาติ (Natural gas) เกดิ จากการทับถมกันของซากพชื ซากสัตว์ ภายใต้สภาวะอุณหภูมิ และความกดดนั ท่ีสงู มากของช้ันหิน ใตพ้ ืน้ โลกเป็นเวลาหลายลา้ นปี 2. การสำรวจแหล่งพลังงานปโิ ตรเลียม ทำโดยการสำรวจ 2 ทางหลกั คือการสำรวจทางธรณีวทิ ยา (geological explorations) และการสำรวจทางธรณีฟสิ ิกส์ (geophysics explorations) 3. การเจาะหลุมผลติ ปโิ ตรเลียม การเจาะหลมุ ปิโตรเลียมเพ่อื การลงทุนผลติ ปิโตรเลยี มเรยี กวา่ หลมุ ผลติ หรอื หลมุ พฒั นา (development well) จะมที ั้งการเจาะหลุมบนบกโดยใชแ้ ทน่ เจาะซึ่งมีอยูด่ ้วย กนั 3 ชนิดคือแบบ คอนเวนชันแนล แบบเคลอ่ื นยา้ ยได้ กบั แบบมาตรฐาน และการเจาะหลมุ ในทะเล โดยใช้แทน่ เจาะ 2 แบบคอื แบบ หยงั่ ติดพน้ื ทะเล กับแบบแท่นลอยโดยยึดตดิ กบั พืน้ ทะเลด้วยสมอ 4. การกลนั่ แยกปโิ ตรเลียม ปโิ ตรเลียมท่ีผลติ ไดจ้ ากหลมุ ผลติ ซ่งึ ประกอบดว้ ยน้ำมันดบิ กา๊ ซธรรมชาติ นำ้ และสิง่ เจอื ปนอืน่ ๆ จะถกู นำมาผ่านกระบวนการแยกสถานะและกำจดั ส่ิงเจือปนดังกลา่ วออก ปโิ ตรเลยี ม ส่วนท่ีเป็น ก๊าซจะถกู ส่งไปยังโรงแยกกา๊ ซเพอ่ื แยกด้วยวิธเี ทอร์โบเอกซ์แพนเดอร์ ส่วนทเี่ ป็นนำ้ มนั ดิบจะถูกส่งไปกลน่ั ลำดบั สว่ น ในโรงกลน่ั นำ้ มันต่อไป 5. ผลติ ภณั ฑ์จากปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ที่ไดจ้ ากปิโตรเลยี มมีมากมายหลายชนดิ ทั้งทีน่ ำมาใช้เป็นเชือ้ เพลงิ เชน่ กา๊ ซหุงต้ม NGV น้ำมนั เบนซนิ ดเี ซล พวกสารหลอ่ ล่ืน เช่น จาระบี น้ำมนั เครื่อง สารตั้งต้นในอตุ สาหกรรมปโิ ตร เคมี มีเทน ไซลนี เป็นต้น 6. เชอ้ื เพลิงชีวมวลทสี่ ำคัญสำหรบั ยานยนต์ ได้แก่ไบโอดีเซลและแกโซฮอล 7. แหล่งปโิ ตรเลียมในประเทศไทย แหล่งเอราวณั เปน็ แหล่งผลติ ก๊าซธรรมชาติแหง่ แรกของประเทศไทย ปัจจบุ ันมแี หลง่ ผลติ กา๊ ซธรรมชาตหิ ลายแหล่งเกิดขน้ึ ในประเทศไทย ซึง่ ส่วนใหญ่จะอยู่ในทะเลอ่าวไทย เชน่ แหล่ง เบญจมาศ แหลง่ ทานตะวนั แหลง่ บงกช แหลง่ ปลาทอง แหลง่ ไพลิน เปน็ ตน้ สว่ นแหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติท่ีอยู่บนบก คือ แหล่งนำ้ พอง ซ่ึงอยู่ในเขต อำเภอน้ำพอง จังหวดั ขอนแกน่ และแหลง่ ผลติ น้ำมนั สิริกติ ์ิ ในอำเภอลานกระบือ จังหวดั กำแพงเพชร 8. อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี คืออตุ สาหกรรมทน่ี ำสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนท่ีไดจ้ ากการกลัน่ นำ้ มนั ดบิ และ จากการแยกก๊าซธรรมชาติมาใชเ้ ป็นวัตถุดบิ เพื่อผลติ เคมีภัณฑ์ตา่ ง ๆ ซึ่งผลผลติ ของอตุ สาหกรรมดังกล่าวเกี่ยวขอ้ งกบั 26

ชีวิตประจำวันไดแ้ ก่ สารเคมี ตวั ทำละลาย ไฮโดรคาร์บอน ผงซกั ฟอก พลาสตกิ เรซิน ยางสงั เคราะห์ และเส้นใย สังเคราะห์ เป็นตน้ 5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่...7-9........) - ครูตรวจสอบรายชื่อผู้เขา้ เรยี น - ชี้แจงลักษณะการเรียนการสอนและการเก็บคะแนน - นำเขา้ ส่บู ทเรยี น - ใหท้ ำแบบทดสอบก่อนเรยี น - ให้ความรใู้ นสาระการเรยี นรู้ - ใบกิจกรรมทบทวนบทเรียน - ทำกจิ กรรมเสรมิ ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลองท่ี 3.1 เรอ่ื ง การศึกษาสมบัติบางประการ ของนำ้ มนั เบนซนิ 95 แกโซฮอล 95 แกโซฮอล E 20 และแกโซฮอล E 85 อภปิ รายผลและลงข้อสรปุ รว่ มกนั - ทำกิจกรรมเสรมิ ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทดลองท่ี 3.2 เรอื่ ง การผลิตไบโอดเี ซลแบบเขย่า ด้วยมือ อภปิ รายผลและลงขอ้ สรุปร่วมกัน - ทำกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้เรอื่ งพลาสติกทน่ี ำมารไี ซเคลิ ได้ เพื่อเสริมสร้างความตระหนักในการลดใช้พลาสตกิ - ทำแบบทดสอบหลงั เรียน 6. สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1.หนงั สือเรยี นวชิ าการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสง่ิ แวดล้อม 30000-1301 ของสำนักพมิ พศ์ ูนยส์ ่งเสริมอาชวี ะ 2.รปู ภาพ 3.แผ่นใส 4.สอื่ PowerPoint , วิดที ัศน์ 5.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 6.กจิ กรรมการเรยี นการสอน - รายงานผลการทำกิจกรรมเสริม เรื่องพลาสติกท่นี ำมารีไซเคิลได้ 7.หลักฐานการเรียนรู้ 1.บนั ทึกการสอนของผสู้ อน 2.ใบเช็ครายช่อื 3.แผนจดั การเรียนรู้ 4.การตรวจประเมนิ ผลงาน 27

8.การวัดและประเมินผล 8.1 วิธกี าร 1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ 3. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ 4 ตรวจกิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้ 5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. ตรวจกิจกรรมใบงาน 7. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 8.2 เครื่องมือ 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผ้เู รยี น) 4. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ 5. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี นร่วมกนั ประเมนิ 8.3 เกณฑ์ 1. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 4. แบบประเมินผลการเรียนรมู้ ีเกณฑผ์ า่ น และแบบฝึกปฏิบัติ 50% 5. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงานมีเกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่ กบั การประเมนิ ตามสภาพจริง ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รยี น - ใบกิจกรรมทบทวนบทเรียน - รายงานผลกิจกรรมเสริมทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท่ี 3.1 และ 3.2 - รายงานผลการทำกิจกรรมเสริม เรอื่ งพลาสติกท่นี ำมารไี ซเคิลได้ - คะแนนทดสอบหลังเรียนร้อยละ 60 ขึ้นไป 9.บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 28

9.1 ข้อสรุปหลงั การจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... 9.2 ปัญหาที่พบ ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... 9.3 แนวทางแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ..................... .......................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ........................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................................. ..................... 29

เอกสารอ้างองิ ________. (2553). พลังงานปิโตรเลียม. [ออนไลน์]. แหลง่ ข้อมลู : http://www.energy.go.th/index.php?q=node/386html. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มูล :18 กุมภาพนั ธ์ 2553). บรษิ ัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด. (2534). ศัพทบ์ ัญญัติปิโตรเคมีและคำอธิบายย่อ. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศัพทว์ ิทยาศาสตรฉ์ บับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบณั ฑิตยสถาน. สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล. (2558). พลังงานปิโตรเลียม. [ออนไลน์]. แหลง่ ข้อมลู : http:// www.rmutphysics.com/learning/2/energy/2.pdf. (วนั ที่คน้ ข้อมลู : 20 กุมภาพันธ์ 2558). สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว.(2558).พลาสติกใน ชีวติ ประจำวนั .[ออนไลน์]. แหลง่ ข้อมลู : http://kanchanapisek.or.th/kp6.(วนั ที่คน้ ข้อมลู : 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2558). จนิ ดา เจริญพรพานชิ . (2549). รูล้ กึ ...รจู้ ริง ก่อนตดั สนิ ใจใช้แกส๊ . กรุงเทพฯ : บรษิ ัท มติ รรูปทีก่ ารพิมพ์ และสติวดิโอ จำกัด. กระทรวงพลังงาน. (2558). ก๊าซธรรมชาติ. [ออนไลน์]. แหล่งข้อมลู : http://www.energy.go.th. (วนั ทีค่ ้นข้อมลู : 20 กมุ ภาพันธ์ 2558). บริษัท ปโิ ตรเลียม จำกัด(มหาชน). (2558). พลงั งานกา๊ ซธรรมชาติและผลิตภณั ฑเ์ ชื้อเพลิง. [ออนไลน์]. แหล่งข้อมลู : http://www.pttplc.com. (วันท่ีค้นข้อมลู : 20 กมุ ภาพันธ์ 2558). สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล. (2558). พลังงานกา๊ ซธรรมชาติ. [ออนไลน์].แหลง่ ขอ้ มูล : http:// www.rmutphysics.com/learning/3/energy/3.pdf. (วนั ทค่ี ้นข้อมูล : 20 กุมภาพันธ์ 2558) 30

ใบความรทู้ ่ี .3 หน่วยที่ 3 หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสงู สอนครัง้ ท่ี 3 (12 คาบ) รหสั 30000-1301 การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน เวลา......12............ชม. และสง่ิ แวดล้อม ช่อื เร่อื ง เร่ือง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม 1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายธรรมชาติของการกำเนิดปิโตรเลียมได้ 2. อธบิ ายขั้นตอนในการสำรวจแหล่งพลังงานปิโตรเลียมได้ 3. อธบิ ายวิธีการเจาะหลมุ ผลิตปโิ ตรเลยี มแตล่ ะแบบได้ 4. บอกวิธีการแยกปิโตรเลยี มได้ 5. บอกประโยชน์ของผลิตภณั ฑท์ ่ีได้จากปโิ ตรเลียมได้ 6. บอกแหลง่ ปิโตรเลียมท่ีสำคญั ในประเทศไทยได้ 7. อธิบายความหมายของอตุ สาหกรรมปิโตรเคมีได้ 8. ระบุประเภทของอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมจี ากผลติ ภัณฑ์ที่กำหนดได้ 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย แสดงความรู้ ทดลองและตรวจสอบเกีย่ วกบั ปิโตรเลยี มและผลิตภณั ฑ์ 3. เน้อื หาสาระ แหล่งของพลังงาน แหล่งกำเนิดพลังงานเป็นต้นกำเนิดท่ีก่อให้เกิดพลังงานในการทำงานได้ แหล่งกำเนิดพลังงาน มี ความหมายถึง สสารหรือวัตถุที่มีพลังงานอยู่ในตัวเอง และจะถ่ายเทหรือปลดปล่อยพลังงานที่มีออกมาเม่ือผ่าน กระบวนการแปรรูป ส่งผลให้ตัวมันเองมีความสามารถในการทำงานได้ เช่น เช้ือเพลิง ต่างๆ (ถ่านหิน น้ำมัน เป็นต้น) เมื่อถูกเผาไหม้จะเกิดปฏิกิริยาเคมีจากนั้นจะให้พลังงานออกมา ซ่ึงพลังงานท่ีได้ออกมาเป็นพลังงานความ ร้อน เป็นต้น โดยทั่วไปแหล่งกำเนิดพลังงานจะมีมวล (Mass) มีตัวตน แหล่งกำเนิดพลังงานแบ่งออกได้หลาย ประเภท ในบทนีจ้ ะกล่าวถึงพลังงานท่ีมาจากฟอสซิล (Fossil fuels) ซ่ึงหมายถึง แหล่งกำเนิดพลังงานที่มีต้นกำเนิด มาจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์หรอื ทเ่ี รยี กกันวา่ แรฟ่ อสซลิ แหล่งกำเนดิ พลังงานชนิดน้ีเมอ่ื นำมาใช้แล้วจะหา 31

หรือผลิตทดแทนไม่ได้ หรือต้องใช้เวลานานมากจึงจะผลิตมาทดแทนได้ เป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป แหล่งกำเนิด พลังงานประเภทนี้ ได้แก่ 1. ปโิ ตรเลียม (Petroleum ปโิ ตรเลียม (Petroleum) หรือเรยี กอีกอย่างว่า นำ้ มนั ดบิ เกิดจากการทบั ถมและสลายตัวของ อินทรียสารจากพืชและสัตว์ท่ีคลุกเคล้าอยู่กับตะกอนในชั้นกรดวดทรายและโคลนตมใต้พื้นดิน เม่ือเวลาผ่านไปนับ ล้านปี ตะกอนเหล่านี้จะจมตัวลงเรื่อย ๆ เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก ถูกอัดแน่นด้วยความดันและความ ร้อนสูง และมีปริมารออกซิเจนจำกัด จึงสลายตัวเปลี่ยนสภาพเป็นแก๊สธรรมชาติและน้ำมันดิบแทรกอยู่ระหว่างชั้น หินที่มรี พู รุน ปิโตรเลียมจากแหล่งต่างกันจะมีปริมารของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน รวมท้ังสารประกอบของกำมะถัน ไนโตรเจน และออกซิเจนแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับชนิดของซากพืชและสัตว์ท่ีเป็นต้นกำเนิดของปิโตรเลียม และ อทิ ธิพลของแรงท่ีทับถมอยู่บนตะกอน ปิโตรเลียมที่เกิดอยู่ในช้ันหินจะมีการเคลอื่ นตัวออกไปตามรอยแตกและรูพรุน ของหินไปสู่ระดับความลกึ น้อยกว่า แลว้ สะสมตวั อยู่ในโครงสรา้ งหนิ ที่มีรูพรุนมีโพรงหรอื รอยแตกในเน้ือหินที่สามารถ ให้ปิโตรเลียมสะสมตัวอยู่ได้ ด้านบนเป็นหินตะกอนหรือหินดินดานเน้ือแน่นละเอียดปิดก้ันไม่ให้ปิโตรเลียมไหลลอด ออกไปได้ โครงสร้างปดิ ก้ันดงั กล่าวเรยี กวา่ แหล่งกักเก็บปโิ ตรเลยี ม การใชป้ ระโยชน์จากปิโตรเลียม การนำปิโตรเลยี มไปใชป้ ระโยชนใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ สรปุ ได้ดังนี้ - ใช้ในการขนส่ง ประมาณร้อยละ 46 ของปิโตรเลียมได้ถูกนำไปใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงสำหรับ รถยนต์ในระบบเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน ซึ่งได้แก่ น้ำมันเบนซิน น้ำมันดีเซล น้ำมันเคร่ืองบินและไอพ่น น้ำมัน เตาสำหรับรถไฟ และเรอื - ใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ สำหรบั อตุ สาหกรรม ซ่ึงส่วนมากใชน้ ้ำมันเตา และแก๊สธรรมชาติในโรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน แก๊สหุงต้ม และในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เครื่องสูบน้ำ ฯลฯ ซ่ึงส่วนมากจะใช้น้ำมัน เบา เป็นเชอ้ื เพลิง - ใช้ในเคร่ืองกำเนิดความร้อน และให้แสงสว่าง น้ำมันหนัก มักจะมีการนำมาใช้ในเคร่ืองกำเนิดความ ร้อนของประเทศในแถบหนาว สำหรับโรงงาน สำนักงาน และที่พักอาศัย น้ำมันเบาก็มีความสำคัญ เช่นกัน อาทิ น้ำมันก๊าด ใช้เป็นเช้ือเพลิงให้แสงสว่าง และหุงต้มในท้องถ่ินท่ียังไม่เจริญหรืออยู่ห่างไกลแก๊สโพรเพน และบิวเบน ใชเ้ ปน็ เชื้อเพลงิ หุงต้มในครวั เรอื น - ใช้เป็นวัสดุหล่อล่ืน ประมาณร้อยละ 1-2 ของน้ำมันดิบที่ผ่านกระบวนการกลั่น จะได้รับการแปร สภาพไปเปน็ น้ำมันหลอ่ ลนื่ และจาระบี สำหรบั การขนสง่ เครอื่ งยนตแ์ ละโรงงานอุตสาหกรรม - ประโยชน์อื่นๆ อาทเิ ชน่ แอสฟัลต์ บิทูเมน น้ำมันดิน ใช้ราดถนน ฉาบหลังคา และใช้เป็นสารกันน้ำ ข้ผี ้ึง ใชท้ ำเทยี นไข วัสดกุ นั ซมึ วัสดขุ ดั มัน และเปน็ เช้อื เพลิงใหแ้ สงสว่าง 32

- สารปิโตรเลียม ปิโตรเลียมใช้เปน็ วัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมปโิ ตรเลียม ซงึ่ จะนำไปส่กู ารผลิตพลาสติก และสารสังเคราะห์มากมายหลายชนิด เส้นใยสังเคราะห์ และสิ่งทอสังเคราะห์ ยางสังเคราะห์ สารคาร์บอนดำ ฯลฯ 2. ถา่ นหนิ (Coal) ถ่านหิน (Coal) เป็นเช้ือเพลิงที่มีปริมาณมากที่สุดของประเทศไทย คือราว 2 ใน 3 ของเชื้อเพลิงทั้งหมด ถ่านหิน เป็นสารประกอบคาร์บอนท่ีเกิดจากการสะสมตัวของซากพืซตามธรรมชาติ และเกิดปฏิกิริยาทางชีววิทยา และทางเคมี ภายใต้ความกดดันสูงจนทำใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงเป็นสารประกอบคาร์บอน ถ่านหินที่มีคาร์บอนผสม อยู่ในปริมาณสูงถือว่ามีความบริสุทธิ์มาก ซ่ึงจะให้ความร้อนสูงเม่ือนำไปเป็นเชื้อเพลิง การนำถ่านหินไปใช้ ประโยชน์ต้องผ่านกระบวนการกลนั่ สลายเสยี ก่อน การกล่ันสลายถ่านหิน คือ การนำถ่านหินไปเผาในท่ซี ่ึงมีอากาศ จำกัด ผลิตภัณฑ์ต่างๆท่ีไดนำไปใช้ประโยชน์ด้านอ่ืนมากกว่าการนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรง ที่ได้จากการกลั่น สลายคือ ถ่านโค๊ก นำไปใช้เป็นเช้ือเพลิงในงานอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น โรงงานถลุงแรเ่ หล็ก ยางมะตอย เป็นต้น ปัจจบุ นั สามารถแบง่ ประเภทของถ่านหินตามลำดับช้ัน เป็น 5 ชนิด ได้ดังนี้ 1) พีต (Peat) เป็นถ่านหินท่ีเกิดในลำดับแรก ๆ ของกระบวนการเกิดถ่านหินยังคงสภาพการ สะสมของซากพืช มักสะสมในกลุ่มที่ชื้นแฉะ มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบอยู่ประมาณร้อยละ 60 และมีออกซิเจน รอ้ ยละ 30 พตี จะถกู แบคทีเรยี แปรสภาพเปน็ อนิ ทรียวตั ถุ มคี วามชน้ื สงู แตเ่ มอ่ื แหง้ จะติดไฟไดด้ ี 2) ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินที่พบมากทสี่ ุดในประเทศไทย มีคณุ ภาพต่ำคือใหค้ วามร้อนไดต้ ่ำ คือจะให้ความร้อนน้อยกว่า 8,300 บีทียู/ปอนด์ มีขี้เถ้าจากการเผาไหม้มาก สีน้ำตาลเข้มจนถึงดำ เนื้อแข็งมี ความชื้นต่ำ ไม่ค่อยมีโครงสร้างของพืชเหลืออยู่ มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบอยู่ร้อยละ 55-65 แหล่งกำเนิดที่ สำคญั คอื เหมอื งแมเ่ มาะ จังหวัดลำปาง 3) ซับบิทูมินัส (subbituminous) เป็นเช้ือเพลิงท่ีมีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้า มีคุณภาพต่ำกว่าบิทูมินัส มีสีดำ มีอายุการสะสมนานกว่าลิกไนต์ มีคาร์บอนร้อยละ 65-80 มีความช้ืนต่ำกว่า ลิกไนต์ เม่ือเผาจะให้ค่าความร้อน 8,300-13,000 บีทียู/ปอนด์ แหล่งกำเนิดท่ีสำคัญ คือจังหวัดลำปางและ จงั หวัดลำพูน 4) บทิ มู ินัส (Bitumionous Coal) เปน็ ถ่านหินทใ่ี ห้ความร้อนนอ้ ยกวา่ แอนทราไซต์ เม่ือตดิ ไฟจะ มีเปลวไฟเป็นสีเหลือง มีสีน้ำตาลถึงดำ มีคาร์บอนประกอบอยู่ร้อยละ 80-90 และมีสารระเหย (Volatile Matter) ประกอบอยู่ด้วย มีความชื้นต่ำ เม่ือเผาจะให้ความร้อนต้ังแต่ 10,500 บีทียู/ปอนด์ขึ้นไป มีควันมาก แหลง่ กำเนดิ ทีส่ ำคัญได้แก่ อำเภอล้ี จงั หวดั ลำพนู อำเภอแม่ระมาด จงั หวัดตาก 5) แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินท่ีมีคุณภาพดีท่ีสุดและให้ความร้อนออกมาสูงสุด มี สดี ำเนื้อแขง็ มีความวาว มคี ารบ์ อนประกอบร้อยละ 86 ขึ้นไป ติดไฟยากแต่เมื่อเผาแล้วไมม่ ีควัน ให้คา่ ความร้อน สูงที่สุดถึง 15,500 บีทียู/ปอนด์ แหล่งกำเนิดท่ีสำคัญอยู่ท่ีก่ิงอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย แต่เป็นเซมิแอนทราไซต์ (Semiantracite) คือมคี ณุ ภาพไม่สูงมากนกั 33