โครงงาน เครื่องดักยุง โซ ล่า เซลล์

ข้อมูลผลงานนวัตกรรม-

• รายละเอียดของผลงานนวัตกรรม

ประเภทสิ่งประดิษฐ์ : สิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ปี 2561

โครงงานเล่มนี้เป็นโครงงานซึ่งทำให้เราได้ความรู้ถึงเรื่องการใช้เครื่องไฟฟ้าไล่ยุงพลังงานโซล่าเซลล์ Electric mosquito Solar Energy.ว่ามีวิธี และขั้นตอนการทำอย่างไร เพื่อให้ความสามารถใช้งานได้จริงและทำให้เป็นความรู้ส่วนบุคคล เป็นประโยช์นต่อทุกๆคนอีกด้วย ผลการศึกษา พบว่า เครื่องไฟฟ้าไล่ยุงพลังงานโซล่าเซลล์ Electric mosquito Solar Energy. เป็นอุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยใช้หลักพลังงานโซล่าเซลล์มาเป็นตัวกำเนิด พลังงานไฟฟ้า และใช้งานในสถานที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ เพื่อทำให้งานทดลองได้สะดวกไม่ติดขัดเรื่องไฟฟ้าอีกด้วย

อาจารย์ที่ปรึกษา
1. นาย พงษ์ธร จันทร์แฉ่ง
2. นาย จีรศักดิ์ คุ่ยจันทร์
3. นาย มนัส ปุยงาม
4. นาย พีรพงษ์ สุวรรณอำไพ
5. นาย อธิวัฒน์ เมินชมภู

ผู้ประดิษฐ์
1. นาย อภิวัฒน์ ใจว่อง
2. นาย พงศภัค มลจันทร์หอม
3. นาย ภัคพล ปานแก้ว
4. นาย นครินทร์ สุขแสงแก้ว
5. นาย พรชัย มังครัตน์
6. นาย สุวรรณพงศ์ ทรงประไพ
7. นาย ชาญชัย ใหญ่ยิ่ง
8. นาย อัฐตพล ศรีมูล
9. นาย กษิดิ์เดช ยิ่งดัง
10. นาย พีรพงษ์ ลับภู

• ความร่วมมือที่แสวงหา :

ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

• วันที่เผยแพร่ผลงาน :

15 กันยายน 2564

• ระดับความพร้อมของนวัตกรรม :

TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว

• ความต้องการในการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ :

Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น

• ราคาของผลงานนวัตกรรม :

ยังไม่ได้กำหนดราคา

สถานที่เยี่ยมชมผลงานนวัตกรรม+

ข้อมูลกรรมสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา+

รายละเอียดเจ้าของข้อมูล+

เครื่องไฟฟ้าไล่ยุงพลังงานโซล่าเซลล์

โครงงาน เครื่องดักยุง โซ ล่า เซลล์

• ราคาของผลงานนวัตกรรม : ยังไม่ได้กำหนดราคา


• จุดเด่นของผลงานนวัตกรรม :

เครื่องดักยุงพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ทำจากแผงโซล่าเซลล์ โดยใช้เครื่องไฟฟ้าไล่ยุงเมื่อ ยุง เข้ามาภายในเครื่องไล่ยุงจะทำให้ยุงบินหนีหรือตายไปในทันที ได้เครื่องดังยุงพลังงานแสงอาทิตย์ ที่สามารถดักยุงอย่างปลอดภัยโดยไม่ต้องใช้สารเคมีและประหัดค่าใช้จ่าย


โครงงาน เครื่องดักยุง โซ ล่า เซลล์

• ชื่อเจ้าของข้อมูล : สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา


• ประเภทผลงานนวัตกรรม :

ผลงานนวัตกรรม

• หมวดหมู่นวัตกรรม :

อื่นๆ


• ระดับนวัตกรรม :

TRL-7 นำผลงานไป ทดลองใช้แล้ว

• ความร่วมมือที่แสวงหา :

ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เสาะหาผู้รับอนุญาตใช้สิทธิ

• ความต้องการจำหน่าย :

Directory ประชาสัมพันธ์เท่านั้น


วันที่เผยแพร่: 15 กันยายน 2564

|

ผู้เยี่ยมชม: 408

โครงงานเรื่อง
เครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์

สมาชิกในกลุ่ม
 นายภัทรพงษ์ วงษ์วาลย์ ชั้นม. 5/1 เลขที่ 5
 นายอานัฐ อาสนา ชั้นม. 5/1 เลขที่ 12
 นางสาวสุภาพร จันทหาร ชั้นม. 5/1 เลขที่38
 นางสาวอภิรดี มาตสมบัติ ชั้นม. 5/1 เลขที่ 39
 นางสาวพยอม มาตสมบัติ ชั้นม. 5/1 เลขที่ 42
 นางสาวศศิธร ขอนจันทร์ ชั้นม. 5/1 เลขที่ 43

เสนอ
อาจารย์อำนาจ พรหมใจรักษ์

ขั้นตอนที่ 1 กำหนดปัญหาหรือความต้องการ

คนในประเทศ มีคนเป็นโรคไข้เลือดออกมากขึ้นจึงต้องการทำเครื่องดักจับยุง

โครงงาน เครื่องดักยุง โซ ล่า เซลล์

ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูลและวิธีแก้ไข

 ติดมุ้งลวด
 ใช้เครื่องช็อตยุง
 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
 ทำเครื่องดักจับยุง

ขั้นตอนที่ 3 เลือกวิธีแก้ไขปัญหา

เครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์

ข้อดี ข้อเสีย
1. ประหยัดพลังงานไฟฟ้า
2. นำวัสดุที่เหลือใช้มาใช้ใหม่
3. สามารถดักจับยุงได้ 1. แผงโซล่าเซลล์แพง
2. ใช้ได้ไม่นานไม่ทน

ยากันยุง

ข้อดี ข้อเสีย
1.สะดวกในการพกพา 1. เกิดควันทำให้มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
2. เมื่อสูดดมมากอาจทำให้เกิดอันตรายได้

เครื่องช็อตยุง

ข้อดี ข้อเสีย
1. กำจัดยุงได้ 1. อันตรายถ้าใช้ไม่ระมัดระวัง
2. ยุงตายไม่หมด

ผลจากการวิเคราะห์
ข้อดีของโครงงานเรื่อง เครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์มากกว่าข้อเสีย ดังนั้น เมื่อทำเครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นมาจะนำไปใช้ประโยชน์ได้และประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วย

ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ

การทำงานของแผงโซล่าเซลล์

โครงงาน เครื่องดักยุง โซ ล่า เซลล์

อุปกรณ์การทำเครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์

โครงงาน เครื่องดักยุง โซ ล่า เซลล์

ขั้นตอนการปฏิบัติการ

นำถังปูนยาแนวที่ใช้แล้วมาพ่นสีดำและติดมุ้งสวดด้านล่าง นำหลอด black light มาติดไว้ที่ฝาของถังทำหน้าที่เป็นตัวล่อให้ยุงเข้ามาเล่นไฟ และนำพัดลมมาติดไว้ด้านล่างของหลอดไฟทำหน้าที่คอยดูดยุงลงไปในตาข่ายด้านล่างที่เย็บเป็นถุงใส่ยุ่งมาไว้ด้านในของถัง ซึ่งเครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์ใช้โซลาเซลล์เป็นตัวรับแสงอาทิตย์มาติดไว้ในแบตเตอรี่ และโซลาเซลล์จะทำการรีชาร์ตพลังงานโดยผ่านแปรงและตัวกรองกระแสไฟฟ้าเพื่อให้ได้กระแสไฟฟ้าที่คงที่ซึ่งจะใช้งานในเวลากลางคืน

รูปแบบของเครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์

ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ

เครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์สามารถดักจับยุงได้และประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ แต่เมื่อใช้ในระยะเวลา 1 ชั่วโมงซึ่งเป็นเลาที่น้อยมากทำให้ดักจับยุงไม่ดีพอและโครงสร้างเก็บประจุใหญ่เกินไป

ขั้นตอนที่ 6 ปรับปรุงแก้ไข
 เพิ่มการเก็บประจุไฟฟ้าให้ใช้ได้นาน
 เปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเครื่องดักจับยุงให้กะทัดรัด

ขั้นตอนที่ 7 ประเมินผล
เครื่องดักจับยุงพลังงานแสงอาทิตย์สามารถดักจับยุงได้ ลดปริมาณยุงที่ก่อให้เกิดโรคไข้เลือดออกและประหยัดพลังงานได้