ความเชื่อมั่นในตนเอง วิจัย

เอ็นโดรฟินเป็นสารที่ร่างกายหลั่งออกมาหลังออกกำลังกายและทำกิจกรรมบางอย่าง ซึ่งช่วยให้รู้สึกดีหรือสบายตัวได้ แต่ไม่เพียงถูกขนานนามว่าเป็นสารแห่งความสุขแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายด้านอีกด้วย ทั้งบรรเทาความเจ็บปวด ช่วยให้คนท้องคลอดลูกง่ายขึ้น บรรเทาอาการซึมเศร้า คลายเครียด เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเอง และยังช่วยลดน้ำหนักได้ด้วย

ความเชื่อมั่นในตนเอง วิจัย

ทำความรู้จักกับเอ็นโดรฟิน

เอ็นดอร์ฟิน (Endorphin) หรือที่บางคนมักเรียกว่าเอ็นโดรฟินนั้น มาจากคำว่า Endogenous ที่หมายความว่าจากภายในร่างกาย และคำว่า Morphine ที่หมายถึงสารบรรเทาอาการปวด ดังนั้น เอ็นโดรฟิน จึงหมายถึงฮอร์โมนบรรเทาอาการปวดตามธรรมชาติที่ผลิตจากภายในร่างกาย ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่ประกอบด้วยเปปไทด์กลุ่มใหญ่ที่ผลิตจากระบบประสาทส่วนกลางและต่อมใต้สมอง ร่างกายจะปล่อยสารนี้ออกมาเพื่อตอบสนองต่อความเจ็บปวดหรือความเครียด โดยจะกระจายไปทั่วตามระบบประสาท ซึ่งการหลั่งเอ็นโดรฟินทำให้รู้สึกมีความสุข เคลิบเคลิ้ม อิ่มอกอิ่มใจ คลายเครียด ทำให้อยากอาหารมากขึ้น ช่วยหลั่งฮอร์โมนเพศ และเสริมสร้างการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน

นอกจากนี้ มีการแนะนำว่าเอ็นโดรฟินส่งผลให้เกิดอาการฟินในนักวิ่งมาราธอนด้วย (Runner’s High) ซึ่งเป็นความเคลิบเคลิ้ม มีความสุข หรือไร้ความรู้สึกเจ็บปวดหลังออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และแม้จะยังเป็นที่ถกเถียงถึงบทบาทของเอ็นโดรฟินเกี่ยวกับการทำให้รู้สึกมีความสุขหรือเคลิบเคลิ้ม แต่อย่างน้อยก็ทราบได้ว่าร่างกายผลิตสารนี้ออกมาเพื่อตอบสนองต่อการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเป็นเวลานาน

ประโยชน์ของเอ็นโดรฟิน

  • บรรเทาความเจ็บปวด โดยสารนี้จะทำปฏิกิริยากับหน่วยรับความรู้สึกในสมอง ทำให้ร่างกายรู้สึกเจ็บปวดน้อยลง และออกฤทธิ์คล้ายกับยาแก้ปวด เช่น มอร์ฟีน หรือโคเดอีน เป็นต้น แต่เอ็นโดรฟินเป็นสารที่ร่างกายผลิตออกมาตามธรรมชาติ จึงไม่ทำให้เกิดการเสพติดเหมือนการใช้ยาบางชนิดแต่อย่างใด
  • ช่วยให้คลอดลูกง่ายขึ้น แม้การคลอดลูกจะเป็นช่วงเวลาที่คุณแม่รอคอย แต่ก็เต็มไปด้วยความเจ็บปวดด้วยเช่นกัน ซึ่งสารเอ็นโดรฟินจะช่วยให้คุณแม่คลอดเจ้าตัวน้อยได้ง่ายขึ้นเล็กน้อย โดยมีการศึกษาขนาดเล็กที่แสดงให้เห็นว่า ในช่วงท้าย ๆ ของการตั้งครรภ์ คุณแม่ที่มีสุขภาพแข็งแรงและมีการหลั่งสารเบต้าเอ็นโดรฟินในปริมาณน้อยอาจมีความจำเป็นในการใช้ยาแก้ปวดเพิ่มขึ้นระหว่างคลอด
  • บรรเทาอาการซึมเศร้า เกือบ 1 ใน 5 ของมนุษย์เราอาจเคยพบเจอกับอาการซึมเศร้ากันมาบ้าง ซึ่งการออกกำลังกายเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ร่างกายหลั่งสารเอ็นโดนฟินออกมาเพื่อบรรเทาอาการนี้ จากการค้นคว้าพบว่าการออกกำลังกายและการหลั่งสารเอ็นโดรฟินขณะออกกำลังกายอาจช่วยบรรเทาอาการซึมเศร้าได้ แต่ยังจำเป็นต้องศึกษาเพิ่มเติมถึงบทบาทของเอ็นโดรฟินต่อการรักษาอาการซึมเศร้าให้ชัดเจนยิ่งขึ้นต่อไป
  • คลายความเครียดและความวิตกกังวล ระดับเอ็นโดรฟินที่สูงขึ้นจะทำให้ผลกระทบจากความเครียดลดลง ทั้งยังช่วยให้รู้สึกเคลิบเคลิ้ม อยากอาหารมากขึ้น ช่วยหลั่งฮอร์โมนเพศ และเสริมสร้างการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันร่างกายได้อีกด้วย
  • เพิ่มความเชื่อมั่นในตนเอง ความรู้สึกดี ๆ ที่เจอในแต่ละวันก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้คิดบวกและเพิ่มความเชื่อมั่นแก่ตนเองได้ ซึ่งจากการศึกษาขนาดเล็กชิ้นหนึ่งได้แสดงให้เห็นว่า สารเอ็นโดรฟินที่ถูกหลั่งออกมามีส่วนเกี่ยวข้องกับความเชื่อมั่นในตนเองที่เพิ่มสูงขึ้นด้วย
  • ลดน้ำหนัก แม้จะยังไม่ทราบชัดเจนเกี่ยวกับบทบาทของเอ็นโดรฟินและฮอร์โมนอื่น ๆ ในการควบคุมความอยากอาหาร แต่การรับประทานอาหารที่ดีและมีประโยชน์อาจกระตุ้นระดับเอ็นโดรฟินในร่างกายให้เพิ่มขึ้นได้ โดยมีการวิจัยในสัตว์ทดลองที่ระบุว่า ระดับเอ็นโดรฟินที่เพิ่มสูงขึ้นนั้นมีส่วนช่วยในการควบคุมความอยากอาหาร ซึ่งอาจช่วยให้รู้สึกอยากอาหารน้อยลงได้

กิจกรรมใดบ้างที่ช่วยให้ร่างกายหลั่งเอ็นโดรฟิน ?

แม้ในทางวิทยาศาตร์จะยังไม่ทราบบทบาทของเอ็นโดรฟินอย่างชัดเจน แต่สารสื่อประสาทชนิดนี้ก็มีคุณประโยชน์หลายอย่าง หากร่างกายผลิตเอ็นโดรฟินไม่เพียงพอต่อความต้องการจะส่งผลกระทบทั้งทางอารมณ์และร่างกายได้ เช่น มีอาการซึมเศร้า วิตกกังวล หงุดหงิดง่าย มีพฤติกรรมหุนหันพลันแล่น ก้าวร้าว ปวดเมื่อย หรือนอนไม่หลับ เป็นต้น

            㹻Ѩ�غѹ �ѡ�Ԫҡ������������¼���Ԩ���·ӵ��ҧ������ٻ㹡�û���ҳ�ӹǹ�����������ҧ ����Ԩ������ö����ҳ�ӹǹ�����������ҧ��ҡ���ҧ�ѹ�� ������ͧ���ٵ�㹡�äӹdz �ѧ���ҧ�������������ҧ㹵��ҧ��� �.1 ��С.2 (���Ԫ�� �ҭ������ ��Ф��,2535)

นายอนุชา บูรพชัยศรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม ได้เข้าร่วมการประชุม ASEAN Global Dialogue ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ "การเสริมสร้างประชาคมอาเซียนที่มีความยืดหยุ่นในการปรับตัวและมีความยั่งยืนในยุคหลังโควิด-19 (Building Resilient and Sustainable ASEAN in the Post COVID-19 Era)" ซึ่งเป็นการประชุมแบบเต็มคณะ (Plenary) โดยมีสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุนเซน นายกรัฐมนตรีกัมพูชา เป็นประธานการประชุม ประกอบด้วย 25 ประเทศ/หน่วยงาน 9 ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน แคนาดา อินเดีย รัสเซีย สหภาพยุโรป และผู้แทนระดับสูงจากองค์การระหว่างประเทศ เช่น สภาเศรษฐกิจโลก (WEF) องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (SCO) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียแปซิฟิก (ESCAP) ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) และ สถาบันวิจัยเศรษฐกิจเพื่ออาเซียนและเอเชียตะวันออก (ERIA) รวมทั้งองค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งเข้าร่วมโดยส่งข้อความผ่านการบันทึกเทปล่วงหน้า

การประชุมดังกล่าวเป็นครั้งที่ 2 จากที่เคยจัดเมื่อปี 2555 ซึ่งกัมพูชารื้อฟื้นกรอบการประชุมนี้ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในการนำเสนอวิสัยทัศน์ของผู้นำอาเซียนเกี่ยวกับการฟื้นตัวที่ยั่งยืนจากวิกฤตโควิด-19 เป็นเวทีแลกเปลี่ยนความเห็น ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และแนวปฏิบัติที่ดีระหว่างอาเซียนกับองค์การระหว่างประเทศและร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์การฟื้นตัวอย่างยั่งยืนและครอบคลุม ตลอดจนส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาคและความร่วมมือระหว่างประเทศ และส่งเสริมประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง

โดยนายกรัฐมนตรีได้ชื่นชมการรื้อฟื้นการประชุมนี้ เพื่อให้ผู้นำอาเซียนและผู้แทนระดับสูงจากองค์การระหว่างประเทศได้แลกเปลี่ยนทัศนะและร่วมกันหาแนวทางการฟื้นตัวและการเติบโตที่ยั่งยืนภายหลังสถานการณ์โควิด-19 โลกกำลังฟื้นตัวอย่างช้าๆ แต่ยังมีความท้าทายอื่นๆ อีกมาก ซึ่งเป็นเครื่องย้ำเตือนว่า อาเซียนจะต้องเร่งดำเนินการเพื่อสร้างอนาคตที่ยั่งยืนแก่ประชาชน โดยส่งเสริมความสมดุลและความยั่งยืนอย่างแน่วแน่ ซึ่งจะเป็นสิ่งสำคัญพื้นฐานที่จะช่วยให้เราสามารถปรับตัวต่อสภาวการณ์ต่างๆ และประคับประคองตนเองในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนและไม่คาดคิด

นายกรัฐมนตรีนำเสนอกุญแจสำคัญ 3 ดอก เพื่อส่งเสริมความยืดหยุ่น ปรับตัว และยั่งยืน ดังนี้

1.การให้ประชาชนเป็นหัวใจของทั้งการฟื้นฟูในระยะสั้นและการพัฒนาในระยะยาว โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาวะและการสร้างระบบความคุ้มครองทางสังคมที่ดีให้ประชาชนทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตต่างๆ รุนแรงที่สุด การลงทุนระบบสาธารณสุขที่เข้มแข็งเป็นสิ่งจำเป็น และเป็นมาตรการที่คุ้มทุน เพื่อวางรากฐานให้ประชาชนสามารถผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่างๆ ได้

2.การฟื้นฟูเศรษฐกิจโดยเน้นการสร้างความสมดุลของสรรพสิ่ง ซึ่งไทยขับเคลื่อนผ่านโมเดลเศรษฐกิจ BCG ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว มุ่งฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลดความสูญเสีย และคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ซึ่งไทยพร้อมร่วมมือกับทุกประเทศ และในฐานะประธานเอเปคได้กำหนดแนวคิดหลัก "เปิดกว้างสร้างสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สู่สมดุล" มีแนวคิดเศรษฐกิจ BCG เป็นพื้นฐานส่งเสริมความร่วมมือนำไปสู่การเติบโต เน้นสร้างสมดุลมากกว่าสร้างผลกำไร ผ่านการดำเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม

3.การเสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาในทุกระดับ ไทยในฐานะผู้ประสานงานของอาเซียนด้านการพัฒนาที่ยั่งยืนพร้อมขับเคลื่อนความร่วมมือในภูมิภาค ผ่านการแลกเปลี่ยนความรู้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพ และการระดมทุน ในสาขาที่อยู่ในความสนใจและเป็นประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งศูนย์อาเซียนเพื่อการศึกษาและการหารือด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการดำเนินความร่วมมือเหล่านี้ให้เป็นรูปธรรมได้

นายกรัฐมนตรี เชื่อมั่นว่า เมื่อทุกประเทศเห็นผลประโยชน์ร่วมกันและร่วมมือกันมากขึ้นจะช่วยส่งเสริมความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน และช่วยส่งเสริมสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาคและในโลก การร่วมแรงร่วมใจ จะทำให้กลับมาเข้มแข็งกว่าเดิมหลังวิกฤตโควิด-19 โดยกุญแจสามดอกนี้จะช่วยส่งเสริมให้อาเซียนก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ในโอกาสนี้นายกรัฐมนตรียังได้ยืนยันเจตนารมณ์ของไทยที่จะร่วมมืออนุวัติเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และขับเคลื่อนภูมิภาคของเราให้เติบโตอย่างสมดุล มีภูมิคุ้มกัน และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

ความเชื่อมั่นในตนเองหมายถึงอะไร

วินัย ธรรมศิลป์ (2527, หน้า 117-118) ให้ความหมายว่าความเชื่อมั่นในตนเองเป็น ลักษณะของบุคคลที่มีความมั่นใจหรือแน่ใจ หรือกล้าหาญ ที่จะกระทำสิ่งต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงตาม ที่ตนตั้งใจไว้ ถึงแม้จะมีเหตุการณ์หรือมีอุปสรรคใด ๆ มาขัดขวางก็ไม่ท้อถอย ยังคงตั้งใจกระทำ สิ่งนั้น ๆ ต่อไปด้วยความมั่นใจว่า ตนจะต้องสามารถกระทำด้วยความ ...

ทำอย่างไรถึงจะมีความมั่นใจในตัวเอง

15 เทคนิคเสริมสร้างความมั่นใจให้ตัวเอง.
1. ค้นหาด้านดีของตัวเอง ... .
2. สนใจในเรื่องราวด้านบวก มากกว่าด้านลบ ... .
3. ทำในสิ่งที่เชื่อ เชื่อในสิ่งที่ทำ ... .
4. เลิกใส่ใจคำพูดของคนอื่น ... .
5. ยินดีกับความสำเร็จที่ผ่านมา ... .
6. นำความล้มเหลวมาเป็นบทเรียน ... .
7. อยู่ในโลกโซเชียลให้น้อยลง อยู่ในโลกความจริงให้มากขึ้น ... .
8. หาแรงบันดาลใจใหม่ๆ.

ความกล้าแสดงออก มีอะไรบ้าง

ความกล้าแสดงออก หมายถึง การมีความกล้าหาญที่แสดงตน แสดงความสามารถที่จะเข้ากิจกรรมต่าง ๆ ให้ปรากฏแก่ที่ประชุมหรือต่อหน้าคนจำนวนมาก ๆ และปรากฏตัวแสดงความสามารถนั้น จะต้องมีความสามารถนั้น จะต้องมีความเชื่อมั่นใจตนเอง ไม่เคอะเขิน วิตกกังวลหรือขลาดกลัว

มีความมั่นใจ ดีอย่างไร

ความมั่นใจในตนเอง เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของความเป็นมนุษย์ที่มาจากความรู้สึกนึกคิดภายใน เป็นผลที่มีจากการภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง ซึ่งส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและการประสบความสำเร็จของคนได้ เพราะความมั่นใจก็คล้ายกับความเชื่อ ถ้าหากเราเชื่อว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้ เราก็จะมีกำลังใจและแรงบรรดาลใจที่จะบรรลุ ...