ความ ปลอดภัย ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

การทางานเก่ียวกับระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ถ้าขาดความ
ระมัดระวังจะทาให้ได้รับอนั ตราย และเกดิ ความเสียหายได้ เนื่องจากรา่ งกาย
ส่วนใดส่วนหนึ่ง เข้าไปสัมผัสกับวงจรไฟฟ้า คุณสมบัติของไฟฟ้าโดยท่ัวไป
จะพยายามไหลและแทรกซึมเข้าหาส่ือตัวนาต่าง ๆ เช่น โลหะ ดิน นาเป็น
ต้น เมื่อรา่ งกายของเราเข้าไปสัมผัสจะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวเราเข้าสู่
พนื ดนิ หรือนา

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์

กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านร่างกาย แม้จะมีปริมาณเพียงเล็กน้อยก็
อาจจะทาให้ไดร้ ับอันตรายได้ ในกรณีที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านอวัยวะที่สาคัญ
ของร่างกาย สาเหตทุ ที่ าให้ไดร้ ับอนั ตรายจาก ไฟฟ้าแบง่ เปน็ 2 กรณี

1. กระแสไฟฟ้าไหลเกนิ เป็นสาเหตุทที่ าใหอ้ ุปกรณ์ไฟฟา้ หรอื ทรพั ย์สนิ อ่ืน
เกดิ เสียหาย
2. ไฟฟ้าดดู เป็นสาเหตุทท่ี าให้เกิดอันตรายกบั มนุษยถ์ ึงขนั เสยี ชีวติ ได้

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

กระแสไฟฟ้าไหลเกนิ (Over Current)

กระแสไฟฟา้ ไหลเกนิ หมายถงึ สภาวะของกระแสทไี่ หลผ่านตัวนาจนเกนิ
พกิ ัดทกี่ าหนดไว้อาจเกิดได้ 2 ลักษณะด้วยกนั คือ
1.โหลดเกิน (Over Load) หมายถึง กระแสไหลในวงจรปกติ แต่นา
อุปกรณ์ท่ีกินกาลังไฟสูงหลาย ๆ ชุดมาต่อในจุดเดียวกัน ทาให้กระแสไหล
รวมกนั เกินกว่าท่ีจะทนรับภาระของโหลดได้ เช่น นาเอาอปุ กรณ์มาต่อท่ีจุด
ต่อเดยี วกนั ของเตา้ รับหลายทางแยก

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์

2. การลัดวงจร (Short Circuit) หรือเรียกกันท่ัว ๆ ไปว่าไฟฟ้าช๊อต เกิด
จากฉนวนชารุด ทาให้เกิดสายที่มีไฟ (Line) และสายดิน (Ground)
สัมผัสถึงกัน มีผลทาให้เกิดความร้อน ฉนวนที่ห่อหุ้มลวดตัวนาจะลุกไหม้
ในทีส่ ุด

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

ไฟฟ้าดูด (Electric Shock )

ไฟฟ้าดดู คอื การท่ีมกี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นรา่ งกายของมนษุ ย์ โดยบางสว่ น
ของร่างกายจะมีสภาพเป็นตวั นาไฟฟา้

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์

ลักษณะของการถกู ไฟฟา้ ดูด

การร่วั ระหว่างสาย คอื กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกายระหวา่ งสายไฟ
กับสายดิน

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

การร่ัวไหลลงสู่ดิน คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย จากสายท่ีมีไฟลงสู่ดิน
อันเน่อื ง มาจากพืนดนิ มีความชืน จึงทาใหเ้ กดิ การนากระแสไฟฟา้ ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์

การร่ัวไหลผ่านโครงอุปกรณ์ คือแรงดันไฟฟ้าบางส่วนร่ัวออกมาปรากฏที่
โครงโลหะของอปุ กรณไ์ ฟฟ้า เกดิ จากความชนื หรือเสอื่ มคุณภาพ ของอปุ กรณ์
ทาใหเ้ กดิ กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านร่างกายขณะท่ีสัมผัสหรือจับอปุ กรณช์ นดิ นัน ๆ

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์

การปอ้ งกนั อันตรายทเ่ี กดิ จากไฟฟา้

วิธีป้องกันไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย คือ ใช้ฉนวนท่ีกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านได้ยาก เช่น การสวมถุงมือยาง, รองเท้ายาง, หรือการต่อสายดิน เป็นต้น ใน
ปจั จบุ ันมีผคู้ ดิ คน้ ระบบป้องกันอันตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้า เพื่อใชใ้ นการคุ้มครองชวี ิต
และทรัพย์สินมากมาย เช่น การต่อสายดิน,เซฟตีคัท, แอคคิวคัท, ฟิวส์, เซอร์กิต
เบรคเกอร์ อปุ กรณ์จะถูกตดิ ตัง บริเวณตน้ ทางของวงจรไฟฟ้า เพ่ือป้องกันมิให้เกิด
การลัดวงจร การเลือกขนาดของฟิวส์และเซอร์กิตเบรคเกอร์ควรสูงกว่าโหลดท่ีใช้
แต่ไม่เกินพิกัดของสายไฟฟ้าเพราะอาจทาให้สายเกิดการชารุดเสียหายได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

หลักปฏบิ ัตเิ พ่ือความปลอดภัย

1. เม่ือร่างกายเปียกชืน เช่น มือ, เท้าเปียก ไม่ควรแตะต้องอุปกรณ์ไฟฟ้า-
อิเล็กทรอนิกส์ เพราะหากอุปกรณ์ดังกล่าวชารุด จะถูกกระแสไฟฟ้าดูดและ
อาจเสียชีวติ ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

2. ถ้าขาดความรู้ด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ควรซ่อมและ แก้ไข
อุปกรณด์ ังกล่าวด้วยตวั เอง เพราะอาจทาใหถ้ ูกกระแสไฟฟ้าดดู เกิดอันตรายได้

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์

3. ก่อนที่จะทาการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ จะต้องตัด
กระแสไฟฟ้าท่จี ่ายไปยังอุปกรณ์นัน ๆ เชน่ ถอดเต้าเสยี บ ปลดสวิตช์ เปน็ ต้น

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์

4. เครื่องใชไ้ ฟฟ้าประเภทใหค้ วามรอ้ นสูง เช่น เตารีด, เตาไฟฟ้า ควรระมัดระวัง
อย่าใชง้ านใกลก้ ับสารไวไฟ เมอื่ เลิกใชแ้ ลว้ ใหถ้ อดเต้าเสยี บออก

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์

5. ระวังอย่าใหเ้ ด็กเลน่ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า-อิเลก็ ทรอนกิ ส์ และเตา้ รับควรใชแ้ บบท่มี ี
ฝาปิดเพอ่ื ปอ้ งกันเด็กนาวสั ดไุ ปเสยี บรูเต้ารับซึ่งจะเกดิ อนั ตรายได้

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

6. หากพบผถู้ กู กระแสไฟฟา้ ดูด ให้ตัดแหลง่ จา่ ยกระแสไฟฟา้ กอ่ น เชน่
ปลดคัทเอาท์ เตา้ เสียบออกหรอื ใชผ้ ้าแห้งคล้องผ้ถู ูกกระแสไฟฟ้าดดู ออกมา
ก่อนทาการปฐมพยาบาล

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

7. ควรจัดใหม้ ีการตรวจสอบสายไฟฟ้าภายในบ้านเพ่อื ปอ้ งกันอนั ตรายจาก
กระแสไฟฟ้าลดั วงจร ซึง่ อาจเกดิ อันตรายและอคั คีภยั ขึนได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

8. เต้ารับและเต้าเสียบของเครื่องใช้ไฟฟ้า หากพบว่าแตกชารุดให้รีบเปลี่ยน
ใหม่โดยเร็ว และหากพบว่าสายไฟฟ้า ของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเป่ือยชารุด ก็ให้
เปลย่ี นใหมด่ ว้ ย

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์

9. เครื่องใช้ไฟฟา้ -อเิ ล็กทรอนิกส์ที่ผิวนอกเป็นโลหะ เช่น ตู้เยน็ , โทรทัศน์, พัด
ลม อาจมีกระแสไฟฟ้าร่ัวไปท่ีผิวภายนอกดังกล่าวได้ ควรหม่ันตรวจสอบโดย
ใช้ไขควงเช็คไฟตรวจสอบ หากพบว่ามีกระแสไฟฟ้าร่ัว ควรให้ช่างซ่อมแซม
แก้ไขต่อไป

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์

10. ฟิวส์ท่ีใช้ตามแผงสวติ ช์ต่าง ๆ ตอ้ งติดตังขนาดให้ถูกต้องและเหมาะสม เพ่ือ
ฟิวส์ขาดควรมีการตรวจหาสาเหตุ โดยเบืองต้น ก่อนที่จะเปลี่ยนฟิวส์ใหม่ และ
ต้องใส่ฟิวส์ขนาดเดิม ห้ามใช้สายไฟหรือลวดใส่แทนฟิวส์ เพราะเมื่อเกิด
กระแสไฟฟ้าลดั วงจร สายไฟหรอื ลวดจะไมข่ าดอาจเกดิ อัคคีภัยได้

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์

11. การถอดเต้าเสียบ ให้จับท่ีตัวเต้าเสียบแล้วดึงออก อย่าดึงท่ีสายไฟฟ้า
เพราะอาจทาใหส้ ายไฟฟา้ ขาดภายในและเกิดกระแสไฟฟา้ ลดั วงจรได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

12. อยา่ ใชผ้ ้าหรอื กระดาษพลางหลอดไฟไว้เพราะอาจเกดิ อคั คีภยั ได้

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

13. อย่าใช้สายไฟฟ้าเสียบท่ีเต้ารับโดยตรง หรือใช้เต้าเสียบที่แตกชารุด ไป
เสียบท่ีเต้ารับ เพราะอาจเกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจร หรืออาจพลังพลาดถูก
กระแสไฟฟ้าดูดได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

14. การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์หลายเครื่อง ในเวลาเดียวกัน ต้องไม่
เสียบเต้าเสียบ ที่เต้ารับอันเดียวกัน เพราะอาจทาให้กระแสไฟฟ้า ไหลในสาย
เต้ารับมีปริมาณสูงมาก ทาให้เกิดความร้อนสะสม เป็นเหตุให้ฉนวนสายไฟฟ้า
เสียหาย และเกิดกระแสไฟฟา้ ลัดวงจรเกิดอคั คีภยั ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์

15. อย่าเดิน หรือวางสายไฟฟ้าใกล้บริเวณที่มีความร้อนสูง และอย่าให้ของ
หนักกดทับสายไฟฟา้ เพราะอาจทาใหฉ้ นวนไฟฟา้ ลดั วงจรเกดิ อุบัติเหตุขนึ ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์

16. เมื่อพบเห็นสายไฟฟ้าขาดหรือสายไฟฟ้าท่ีหย่อนยานต่าลงมา อย่าเข้าไป
จับต้อง และให้แจ้งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคที่อยู่ใกล้ทราบ เพื่อจะได้ซ่อมแซม
แกไ้ ขตอ่ ไป

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

17. ไม่ควรเล่นวา่ วในบริเวณทมี่ สี ายไฟฟา้ โดยเฉพาะสายไฟฟา้ แรงสงู เพราะ
อาจจะทาใหไ้ ด้รบั อนั ตรายจากไฟฟา้ ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์

18. ไมค่ วรตงั เสาโทรทัศน์หรอื เสาอากาศวทิ ยุบรเิ วณท่มี ีสายไฟฟา้ แรงสงู
เพราะอาจได้รบั อนั ตรายจากไฟฟา้ ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์

19. การเผาหญา้ กง่ิ ไม้ หรือเศษวสั ดุตา่ ง ๆ ให้ห่างจากเสาไฟฟา้ เพราะอาจทาให้
เกิดกระแสไฟฟา้ ลัดวงจรและเกดิ อนั ตรายต่อผทู้ อ่ี ยู่ใกล้ได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์

20. ห้ามใช้กระแสไฟฟ้าช็อตปลา เพราะผิดกฎหมายและอาจได้รับอันตราย
จากไฟฟา้ ดดู จนไดร้ บั บาดเจ็บและเสยี ชวี ิตได้

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์

การปฐมพยาบาลผู้ไดร้ บั อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้

ในกรณีที่พบเห็นผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูด จะต้องช่วยเหลือให้ถูกวิธี
และรวดเร็ว ทังนีเพ่ือความปลอดภัยของผู้ช่วยเหลือและผู้ถูกกระแสไฟฟ้า
ดูด หลังจากนันให้ทาการปฐมพยาบาลและช่วยเหลือก่อนนาส่ง
โรงพยาบาล โดยให้ปฏิบตั ติ ามขันตอนดงั นีคอื

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์

1. หากพบผถู้ กู กระแสไฟฟ้าดูดให้ตัดการจา่ ยไฟ เชน่ คทั เอาท์ เพอ่ื ตดั ไฟ

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์

2. ใช้ไม้แห้งหรือฉนวนไฟฟ้าเขี่ยอุปกรณ์ไฟฟ้าให้พ้นจากผู้ที่ถูกกระแสไฟฟ้า
ดูด หรือใช้ผ้าแห้ง, เชือก ดึงผู้ป่วยออกจากจุดที่เกิดเหตุโดยเร็ว เพ่ือปฐม
พยาบาล

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์

3. ชว่ ยปฐมพยาบาล โดยการวางผู้ป่วยให้นอนหงาย แล้วชอ้ นคอผปู้ ว่ ยให้
แหงนขนึ

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์

4. สังเกตในช่องปากมีส่ิงอุดตันหรือไม่ หากพบให้นาออกและช่วยเป่า
ปากโดยใช้นวิ งา้ งปาก และบบี จมกู ของผู้ปว่ ย

ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์

5. ประกบปากของผู้ป่วยใหส้ นทิ เปา่ ลมเขา้ แรง ๆโดยเป่าปากประมาณ 12 – 15
ครังต่อนาที สังเกตการขยายของหน้าอก หากเปา่ ปากไม่ไดใ้ ห้เป่าจมูกแทน

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์

6. หากหัวใจหยุดเต้น ต้องนวดหัวใจ โดยวางผู้ป่วยนอนราบแล้วเอามือกด
เหนือลินป่ีให้ถูกตาแหน่ง กดลงไปเป็นจังหวะ เท่ากับการเต้นของหัวใจ
(ผู้ใหญ่นาทลี ะ 60 ครัง เดก็ 80 ครัง)

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์

7. ฟังการเตน้ ของหวั ใจสลับกับการกดทกุ ๆ 10-15 ครัง

ความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์

8. ถา้ หยดุ หายใจ และหวั ใจหยดุ เต้นให้เปา่ ปาก 2 ครัง

ความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์

9. นวดหวั ใจ 15 ครงั้ สลบั กนั

การปฐมพยาบาลต้องทาทันทีท่ีช่วยเหลือผู้ป่วยออกมา และควรนาส่ง
โรงพยาบาล ขณะนาส่งโรงพยาบาล จะต้องทาการปฐมพยาบาล ตามขันตอน
ดงั กล่าว ตลอดเวลา


ข้อใดคือหลักของความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

ห้ามนำสารไวไฟ หรือสารลุกติดไฟง่ายเข้าใกล้สวิทช์ไฟฟ้า หมั่นตรวจสอบฉนวนหุ้มอุปกรณ์อยู่เสมอ ในบริเวณที่อาจสัมผัส หรือทำงาน เมื่อมีผู้ได้รับอันตราย ควรสับสวิทช์ให้วงจรเปิด (ตัดกระแสไฟฟ้า) เมื่อไฟฟ้าดับ หรือเกิดไฟฟ้าช๊อต ควรสับสวิทช์วงจรไฟฟ้าให้เปิด

ความปลอดภัย ในงานไฟฟ้าคืออะไร

1. ก่อนปฏิบัติงานต้องตรวจดูเสียก่อนว่า เครื่องมือ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ใช้ในงานไฟฟ้า ชำรุด แตก หัก หรือเปล่า 2. ก่อนปฏิบัติงาน เช่น การต่อสายไฟ ควรยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกเสียก่อน 3. ขณะทำงานไม่ควรหยอกล้อกันเป็นอันขาด 4. ไม่ควรเสี่ยงอันตรายเมื่อไม่มีความแน่ใจ หรือใช่ตัวช่วยในการเข้าถึงพื้นที่เสี่ยง

การปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของช่างไฟฟ้าและช่างอิเล็กทรอนิกส์คืออะไร

1. ก่อนปฏิบัติงานต้องตรวจดูเสียก่อนว่า เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในงานไฟฟ้า ชารุด แตก หัก หรือเปล่า 2. ก่อนปฏิบัติงาน เช่น การต่อสายไฟ ควรยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกเสียก่อน 3. ขณะท างานไม่ควรหยอกล้อกันเป็นอันขาด 4. ไม่ควรเสี่ยงอันตรายเมื่อไม่มีความแน่ใจ 5. ขณะท างานมือ เท้า ต้องแห้ง หรือสวมรองเท้า 6. ก่อนปฏิบัติ ...

ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์มีความสําคัญอย่างไร

การทำงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ถ้าขาดความระมัดระวังจะทำให้ได้รับอันตราย และเกิดความเสียหายได้ เนื่องจากร่างกาย ส่วนใดส่วนหนึ่ง เข้าไปสัมผัสกับวงจรไฟฟ้า คุณสมบัติของไฟฟ้าโดยทั่วไป จะพยายามไหลและแทรกซึมเข้าหาสื่อตัวนำต่าง ๆ เช่น โลหะ ดิน น้ำเป็นต้น เมื่อร่างกายของเราเข้าไปสัมผัสจะทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวเรา ...