วิจัยในชั้นเรียนการ งานอาชีพ อาหาร

  • DSpace Home
  • คณะศึกษาศาสตร์ (Faculty of Education)
  • บทความวิชาการ(Journal Articles)
  • View Item

JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สิรวิชญ์ บำรุงพงษ์; ดุสิต ขาวเหลือง; รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์

Date: 2563

Abstract:

การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน 3) ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียน และ 4) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองจอก กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม Cluster Random Sampling เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน ทั้งหมด 7 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง มีประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ (E1/E2) เท่ากับ 86.03 และ 84.85 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย โครงงาน เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าดัชนีประสิทธิผลหลังเรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.7292 หรือ 72.92% 4. ระดับความพึงพอใจ ของนักเรียนที่เรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.53, SD = 0.57)

Show full item record

Files in this item

วิจัยในชั้นเรียนการ งานอาชีพ อาหาร

Name: edusoc15n2p315-326.pdf

Size: 749.9Kb

Format: PDF

This item appears in the following Collection(s)

  • บทความวิชาการ(Journal Articles)

Search DSpace

Browse

  • All of DSpace

    • Communities & Collections
    • By Issue Date
    • Authors
    • Titles
    • Subjects
  • This Collection

    • By Issue Date
    • Authors
    • Titles
    • Subjects

My Account

  • Login
  • Register

การพฒั นาทักษะการทางานเป็นทีมในรายวชิ าการงานอาชีพ (งานอาหาร) โดยใช้
การจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือ ของนกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

THE DEVELOPMENT OF TEAMWORK SKILL IN COOKING COURSE USING COOPERATIVE
LEARNING APPROACH FOR GRADE 8 STUDENTS

นายภูรนิ ทฤ์ ทธ์ิ หลอมประโคน

งานวจิ ยั น้ีเป็นสว่ นหนึง่ ของการจัดการเรียนการสอนรายวชิ าการงานอาชีพ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี

โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม จังหวดั บรุ รี มั ย์
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาบุรรี มั ย์
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การพัฒนาทักษะการทางานเปน็ ทีมในรายวิชางานอาหารโดยใชก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมือ ของนักเรียน
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

บทคัดย่อ

ง า น วิ จั ย น้ี ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย เ พ่ื อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ท า ง า น เ ป็ น ที ม ใ น ร า ย วิ ช า ง า น อ า ห า ร โ ด ย ใ ช้
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยมีวัตถุประสงค์ คือ
1) เพือ่ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือ ก่อนเรียน และหลังเรียน 2) เพ่ือเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางานเป็นทีมของนักเรียน
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เพ่ือศึกษา
ความพึงพอใจในการเรยี นของ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่ง
เปน็ การวจิ ยั แบบกง่ึ ทดลอง โดยแหล่งข้อมลู ของการวจิ ยั ไดแ้ ก่ นักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1
หอ้ งเรยี น รวมทั้งสิน้ 34 คน เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยมี 4 ประเภท คือ 1) แผนการจดั การเรียนรู้ แบบร่วมมือ
2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม และ 4)
แบบสอบถามความพึงพอใจในการ เรียนของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลตาม ความ
มุ่งหมายของการวิจัย ประการที่ 1 และ 2 ใช้การทดสอบค่า t แบบกลุ่มตัวอย่างสัมพันธ์กัน (t – test for
dependent Samples) ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลตามความมุ่งหมายของการวิจัยประการที่ 3 ใช้การหา
ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมอื สงู กว่ากอ่ นเรียน อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ ท่ีระดับ .05
2) ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีมของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 หลังการจัด การเรียนรู้แบบ
ร่วมมือ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจ ในการเรียน ของ
นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 หลังการจัดการเรยี นรู้ แบบรว่ มมือ อย่ใู นระดบั มาก

คาสาคญั : ทกั ษะการทางานเปน็ ทมี , การเรียนรแู้ บบรว่ มมือ, ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

Abstract
The objectives of this study aims to development of teamwork skill in cooking course
using cooperative learning approach for grade 8 students. The data were gathered from a
classroom of 37 grade 8 students, obtained from Cluster Random Sampling. The research
instruments used consisted of 1) a Cooperative Learning Approach lesson plan,
2) a learning achievement test, 3) a teamwork skill assessment, and 4) a student satisfaction
questionnaire. The data were analyzed using data analysis for the purpose of the research.
According to the first and the second objectives, t-test for dependent samples was used. The
mean and standard deviation were used for finding the results of the third objective. The results
revealed that the learning achievement of the grade 8 students after learning through
Cooperative Learning Approach was higher than the achievement prior to learning through the
approach with statistical significance at the .05 level. It was also found that the teamwork skills of
the grade 8 students after learning through Cooperative Learning Approach were higher than the
teamwork skills prior to learning through the approach with statistical significance at the . 05 level.
Finally, the results showed that the grade 8 students were satisfied with learning through
Cooperative Learning Approach at high level.
Keywords: Teamwork Skills, Cooperative Learning Approach, Learning Achievement

บทนา

ความท้าทายท่ีเป็นพลวัตและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต่อ
โครงสร้างทางดา้ นสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ตลอดจนวิถีการดารงชีวิตของ ประชาชนคนในชาติ
อันเนื่องมาจากการปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) และการเปล่ียนแปลงสู่สังคม อุตสาหกรรม 4.0
(The Fourth Industrial Revolution) การจะปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมของคนให้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน
จาเป็นท่ีจะต้องปลูกฝังความรู้ ความคิด ทัศนคติและค่านิยมท่ีถูกต้องต้ังแต่ในวัยเยาว์เพราะเยาวชนถือเป็นกาลั ง
สาคัญและเป็นหัวใจของชาติในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคตการศึกษาจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนา
เยาวชนของชาติในการเตรียมพร้อมรับมือต่อการ เปล่ียนแปลงดังกล่าวโดยเป้าหมายหลักของการจัดการศึกษา
จะต้องมุ่งสร้างสรรค์สังคมให้มีลักษณะท่ี เอื้ออานวยต่อการพัฒนาประเทศ(สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ัน
พื้นฐาน, 2561) และพัฒนาผู้เรียนให้มี ทักษะที่จาเป็น โดยเฉพาะทักษะความร่วมมือ ทักษะการทางานเป็นทีม
ทักษะการส่ือสาร และทักษะการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (วิจารณ์ พานิช, 2555) นอกจากน้ีแผนการศึกษา
แหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2560-2579 ยงั ไดม้ ีการกาหนดเปา้ หมายดา้ นผู้เรียนอกี หลายดา้ นทสี่ าคัญ คือ ทักษะด้านความ
ร่วมมือ ทักษะการทางานเป็น ทีมและภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership) (สานักงาน
เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2560)ประกอบกับกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพเป็นกลุ่มสาระ ที่มุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้
มที กั ษะการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ โดยเฉพาะ
ในรายวชิ าการงานอาชพี (งานอาหาร)ผเู้ รยี นจาเป็นตอ้ งร่วมมือชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั เพือ่ ให้งานของทีม สาเร็จตาม
เป้าหมายท่กี าหนดไวแ้ ต่ปจั จบุ นั การจดั การเรยี นการสอนยังไม่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านดังกล่าวเท่าที่ควรส่งผล
ให้ผ้เู รยี นส่วน ใหญ่ยังขาดทกั ษะการทางานเป็นทีม ขาดโอกาสแสดงความคิดเห็นและการเข้าร่วมกิจกรรม (เกษศิริ
นทร์ ธนะไชย, 2553)

การทางานเปน็ ทมี ถือเป็นทักษะสาคัญประการหนึ่งท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้
จากการทางานเป็นทีมร่วมกับผู้อ่ืน จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะทางสังคม เกิดความคิดท่ีรอบคอบ กว้างขวาง
และเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่ศึกษาได้มากที่สุด (ทิศนา แขมมณี, 2560) ประกอบกับสานักงาน คณะกรรมการ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานยงั ไดก้ าหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนว่าผู้เรียนต้องมีทักษะ ความสามารถใน การ
ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, 2561) และทักษะ การทางานเป็นทีม จะ
นาไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถปรับตัวและดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข (ปริญญา อัน
ภักดี, 2558) ซ่ึงผู้เรียนจาเป็นจะต้องเรียนรู้และเข้าใจสาระสาคัญในการทางานเป็นทีม เพ่ือให้มีทักษะพ้ืนฐาน ท่ี
จาเป็นตอ่ การอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม ด้วยการสร้างเสริมสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล มีทักษะกระบวนการทางาน จัดการ
ปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม รจู้ กั หลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมอนั ไมพ่ งึ ประสงค์ท่ีจะส่งผลกระทบ ต่อตนเอง
และผอู้ นื่ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) สอดคล้องกับประภาภรณ์ พลเยย่ี ม (2560) ท่ีกล่าวถึงการทางาน เป็นทีมว่า
การทางานเปน็ ทมี จะส่งผลให้ผเู้ รยี นมคี วามเสียสละเพอ่ื ส่วนรวม รูจ้ กั บทบาทหน้าท่ีของตนเอง สามารถ ออกไปเป็น
บุคลากรท่ีดใี นสงั คมและสามารถทางานรว่ มกับผ้อู ่ืน ไดอ้ ยา่ งมีความสุขนอกจากนี้ Johnson และ Johnson (1994
อ้างใน สานวน คณุ พล, 2557) ยงั ได้กล่าวถึงการเรียนรูแ้ บบรว่ มมืออีกวา่ เป็นการส่งเสริมให้ ผู้เรียนที่มีความสามารถ
ท่ีต่างกันร่วมมือช่วยเหลือกัน เพื่อให้ทุกคนเห็นความสาคัญของสมาชิกในกลุ่มที่ต้องพึ่งพา อาศัยกัน โดยยึดหลัก

ความสาเร็จของกลุม่ คอื ความสาเร็จของ สมาชิกทุกคน สอดคลอ้ งกับทิศนา แขมมณี (2562) ที่กล่าวว่า การจัดการ
เรยี นรู้แบบร่วมมือเป็นการจัด กิจกรรมการเรียนรู้เป็นกลุ่มท่ีสมาชิกมีความสามารถต่างกัน 3-6 คน ร่วมกันทางาน
และรบั ผดิ ชอบในหน้าที่ของ ตนด้วยความตั้งใจ โดยถือว่าทุกคนสาคัญเท่าเทียมกัน ทาให้งาน ของกลุ่มดาเนินไปสู่
จุดมุ่งหมายของงานได้ รวมทง้ั ได้พฒั นาทักษะทางสงั คม เช่น ทักษะการทางานเปน็ ทีม ทักษะการแก้ปัญหาและอ่ืนๆ
ประกอบกับ ที่ ชนมน ตั้งพิทักษ์ไกร (2558) ท่ีศึกษาการพัฒนากิจกรรม การจัด การเรียนรู้ แบบร่วมมือเพ่ือ
เสริมสร้างทักษะการ ทางานเป็นทีม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ พบว่า ผู้เรียนท่ีมีกระบวนการทางานกลุ่ม
อย่ใู นระดับมาก จะมีความรว่ มมอื ในการทางานกลมุ่ และ การนาเสนองาน กลมุ่ อยู่ในระดับมากที่สุด สมาชิกทุกคนมี
บทบาท หน้าทช่ี ดั เจน มคี วามรบั ผิดชอบงานรว่ มกัน ชว่ ยเหลือและ แลกเปลี่ยนความคดิ ซึ่งกันและกัน ส่งผลให้บรรลุ
เป้าหมายในการเรียน นอกจากน้ี อรอนงค์ โฆษิตพิพัฒน์ (2560) ยังได้ศึกษาถึงการพัฒนาความสามารถในการ
ทางานเป็นทีมด้วยรูปแบบการสอนแบบร่วมมือ ในรายวิชา สัมมนาวารสารศาสตร์ พบว่า ผู้เรียนใส่ใจรับผิดชอบ
งานและรบั ฟงั แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กัน เป็นอย่างดีทาให้ เกิดความสามัคคีในทีมนาไปสู่ความสาเร็จของกลุ่มจาก
เหตุผลทีก่ ลา่ วมาขา้ งต้นจะเหน็ ไดว้ ่า กระแสการเปลีย่ นแปลง ของโลกอย่างรวดเรว็ ไดส้ ่งผล กระทบต่อการพัฒนาคน
ในชาติ โดยเฉพาะในด้านของการร่วมมือกันทางานเป็นทีม การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือ สาคัญในการพัฒนาคนเพ่ือ
เตรียมพรอ้ มต่อการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวในฐานะท่ี ผูว้ ิจยั เป็นครูผ้สู อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพจึงมีความ
สนใจท่จี ะพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดย มุ่งเน้นพัฒนาทักษะ การทางานเป็นทีมของนักเรียน โดยใช้
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทั้งนี้เพื่อเป็นการ ปลูกฝังทัศนคติ ความคิดและค่านิยมในการทางาน ให้สามารถ
ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ อันเป็นพ้ืนฐานสาคัญ ของ การดาเนินชีวิตและ สอดรับกับการเปล่ียนแปลงของโลกในยุค
ปจั จุบนั และในอนาคตต่อไป

วัตถปุ ระสงค์การวิจยั
1. เพื่อเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ แบบ
รว่ มมือ ก่อนเรียนและหลังเรียน
2. เพ่ือเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้รับการจัด การ
เรยี นรูแ้ บบร่วมมือ ก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนของนกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทไ่ี ด้รับการจดั การ เรยี นรแู้ บบร่วมมือ

วธิ ีดาเนินการวิจัย
งานวิจัยน้ีเป็นการวิจัยแบบก่งึ ทดลอง (Quasi - Experimental Research) โดยมีวธิ ดี าเนนิ การ วิจัย ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ท่ี
กาลงั ศกึ ษาในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 จานวน 3 ห้องเรียน ประกอบด้วยนักเรียนเพศชาย จานวน 56 คน
เพศหญิง จานวน 45 คน รวมจานวนท้ังส้ิน 101 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่กาลงั ศึกษาในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 จานวน 1 ห้องเรียน รวม จานวนท้ังส้ิน 34 คน
ท่ีได้มาจากการสุ่มแบบกลมุ่ (Cluster Random Sampling)

2. เครอื่ งมือวจิ ยั เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวิจัยในครงั้ นี้ ประกอบดว้ ย
2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพ (งาน

อาหาร) เรือ่ งการแปรรูปอาหาร ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 จานวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมท้งั สน้ิ 6 ชัว่ โมง
2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่องการแปรรูปอาหาร เป็นแบบปรนัย

ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 ฉบับ จานวน 20 ข้อ แบบทดสอบมีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อคาถามกับ
จุดประสงค์อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 มีค่าความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.20 – 0.80 และ ค่าอานาจจาแนก (r)
ตงั้ แต่ 0.20 ขน้ึ ไป และมคี า่ ความเช่ือมั่นอยูท่ ่ี 0.83

2.3 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม แบบ Rubric Scoring 5 ระดับ โดยแบ่ง การประเมิน
พฤติกรรมออกเป็น 5 ด้าน คือ 1) ด้านการร่วมกันวางแผนและกาหนดเป้าหมาย 2) ด้านการมี ปฏิสัมพันธ์ท่ีดี
ช่วยเหลือซึง่ กนั และกนั 3) ด้านการตระหนกั ในหน้าท่ีของตนเอง 4) ด้านการสร้างบรรยากาศท่ีดี ในการทางานเป็น
ทมี และ 5) ด้านการปรึกษาและแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยแบบประเมินมีค่าดัชนีความ สอดคล้องระหว่างข้อคาถาม
กบั นิยามศัพทเ์ ฉพาะอยู่ระหวา่ ง 0.67 - 1.00 และมีคา่ ความเชื่อม่ันอย่ทู ี่ 0.78

2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ แบบมาตราส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับ
(Rating Scale) ประกอบดว้ ย 3 ดา้ น คอื 1) ดา้ นครผู ู้สอน 2) ด้านกิจกรรมการเรียน และ 3) ด้าน ประโยชน์ที่ได้รับ
ดา้ นละ 5 ขอ้ รวมจานวน 15 ข้อ โดยแบบสอบถามมีคา่ ดชั นีความสอดคล้องระหว่างขอ้ คาถามกับนิยามศัพท์เฉพาะ
อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 และมีคา่ ความเช่ือมั่นอยู่ท่ี 0.90

3. วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล การวจิ ัยในครัง้ นีไ้ ด้ดาเนินเก็บรวบรวมขอ้ มูลวิจัย ดังน้ี 1) ปฐมนิเทศ นักเรียน ชี้แจง
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2) ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและประเมิน ทักษะการทางานเป็น
ทีมก่อนการจดั การเรยี นการสอน 3) ผวู้ ิจยั ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนตามแผนการ จัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ
การจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมือ ท่ีสร้างขน้ึ มาดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยใช้เวลาจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนท้ังส้ิน 6 สัปดาห์ 4) ระหว่างการจัดการเรียนการสอนผู้วิจัยทาการ ประเมินทักษะการทางานเป็นทีมของ
นักเรียน 2 สัปดาห์ ประเมิน 1 ครั้ง (สัปดาห์เว้นสัปดาห์) 5) เม่ือส้ินสุด กิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนทา
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจ และประเมินทักษะการทางานเป็นทีม 6) นา
ขอ้ มูลท่ีไดม้ าวเิ คราะห์ขอ้ มลู สรุปผลของการวิจยั

4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวิเคราะหข์ ้อมลู ของการวจิ ยั ในครง้ั นี้ ประกอบดว้ ย
4.1 วิเคราะหห์ าค่าสถติ ิพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าเฉล่ยี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนที่ได้ จาก แบบทดสอบ

วดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน แบบประเมินทักษะกระบวนการทางานเป็นทีมและแบบสอบถาม ความพึงพอใจในการ
เรยี นของนกั เรียนต่อการจัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ ของนกั เรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2
4.2 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนและแบบประเมิน
ทักษะกระบวนการทางานเปน็ ทมี ของนกั เรียนที่ไดร้ ับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้
คา่ ทดสอบสถติ ิ t (t-test for dependent Samples) (ทร่ี ะดับนัยสาคัญ .05)

สรปุ ผลการวจิ ยั
การวิจยั ในคร้งั นี้เพ่อื พัฒนาทกั ษะการทางานเป็นทีม ในรายวชิ าการงานอาชีพ โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือ
ของนักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ผวู้ จิ ัยเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู การวจิ ยั ดงั น้ี

1. ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการ จัดการ
เรียนร้แู บบรว่ มมือ ก่อนเรียนและหลงั เรียน
การวิเคราะห์ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือ
ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยค่าทดสอบสถิติ t (t – test for dependent Samples) (ท่ีระดับนัยสาคัญ .05) ดังที่
แสดงในตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 การวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น ดว้ ยค่าทดสอบสถิติ t (ที่ระดบั นยั สาคญั .05)

รายการประเมิน ก่อนเรยี น หลังเรียน t Sig

1. ความรคู้ วามจา X̅ S.D. X̅ S.D.
2. ความเข้าใจ
3. การนาไปใช้ 2.49 0.93 3.32 0.91 5.23* 0.00
4. การวเิ คราะห์
5. การสงั เคราะห์ 1.65 0.72 2.46 0.61 6.06* 0.00
6. การประเมินคา่
รวม ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 1.46 0.96 3.03 1.26 7.25* 0.00

1.14 0.82 2.22 0.71 6.00* 0.00

1.43 0.93 2.19 0.91 6.69* 0.00

1.00 0.78 1.49 0.56 4.07* 0.00

9.19 2.34 14.78 2.10 24.96* 0.00

จากตารางท่ี 1 แสดงให้เหน็ วา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีไดร้ บั การจัดการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ
หลงั เรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวมก่อนเรียน ( X)̅ เท่ากับ 9.19
คะแนน มคี า่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.34 และมีคะแนนเฉล่ียหลังเรียน (X̅) เท่ากับ14.78 คะแนน มี
ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 2.10 เม่ือพิจารณาพฤติกรรมเป็นรายด้านสามารถ เรียงลาดับคะแนน
พัฒนาการระหว่างคะแนนก่อนเรียน และหลังเรียนที่เพ่ิมสูงขึ้นจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการนาไปใช้ มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น 1.57 คะแนน ด้านการวิเคราะห์ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น 1.08
คะแนน ด้านความรู้ความจา มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพ่ิมสูงข้ึน 0.83 คะแนน ด้านความเข้าใจ มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นเพ่ิมสูงขึ้น 0.81 คะแนน ด้าน การสังเคราะห์ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมสูงข้ึน 0.76 คะแนน และ
ด้านการประเมนิ ค่า มีผลสมั ฤทธิท์ างการ เรียนเพ่ิมสงู ขึ้น 0.49 คะแนน ตามลาดบั

2. ผลการเปรยี บเทียบทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ของนกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ท่ไี ดร้ ับการจัดการเรยี นร้แู บบร่วมมือ กอ่ นเรียนและหลงั เรียน

การวเิ คราะหท์ ักษะกระบวนการทางาน เป็นทมี ของนักเรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ทีไ่ ดร้ บั การ
จัดการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื กอ่ นเรียนและหลงั เรียน ดว้ ยค่าทดสอบสถิติ t (t – test for dependent Samples) (ท่ี
ระดับนัยสาคัญ .05) ดงั ท่แี สดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 การวิเคราะหท์ กั ษะกระบวนการทางานเปน็ ทมี ของนกั เรียน ดว้ ยคา่ ทดสอบสถติ ิ t (ทร่ี ะดับ นยั สาคัญ

.05)

รายการประเมนิ กอ่ นเรียน หลงั เรียน t Sig

X̅ S.D. X̅ S.D.

1. รว่ มกนั วางแผนและกาหนดเปา้ หมาย 1.84 0.69 3.95 0.57 27.97* 0.00

2. การมปี ฏิสมั พันธท์ ีด่ ชี ่วยเหลือซ่ึงกนั และกัน 2.16 0.55 3.97 0.64 17.87* 0.00

3. การตระหนกั ในหน้าทขี่ องตนเอง 1.95 0.52 3.49 0.51 16.80* 0.00

4. การสร้างบรรยากาศท่ดี ีในการทางานเปน็ ทีม 1.97 0.16 3.70 0.52 20.70* 0.00

5. การปรกึ ษาและแกป้ ญั หาร่วมกนั 1.95 0.40 3.27 0.45 12.87* 0.00

รวม ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม 1.97 0.12 3.68 0.30 38.47* 0.00

จากตารางท่ี 2 แสดงใหเ้ ห็นว่า คะแนนทกั ษะกระบวนการทางานเป็นทีมของนกั เรียน ที่ไดร้ ับการจัดการเรียนรู้ แบบ
ร่วมมือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ย รวมก่อนเรียน (X̅)
เท่ากับ 1.97 คะแนน มีค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.12 และมีคะแนนเฉลี่ย หลังเรียน (X)̅ เท่ากับ
3.64 คะแนน มีค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.30 เมื่อพิจารณาทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม เป็น
รายด้านสามารถเรียงลาดับคะแนนพัฒนาการระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนท่ีเพิ่มสูงข้ึนจาก มากไปหา
น้อยไดด้ ังนี้ ด้านรว่ มกนั วางแผนและกาหนด เปา้ หมาย มคี ะแนนเพิ่มสูงข้ึน 2.11 คะแนน ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ที่ดี
ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีคะแนนเพิ่ม สูงข้ึน 1.81 คะแนน ด้านการสร้างบรรยากาศท่ีดีในการทางานเป็นทีม มี
คะแนนเพ่ิมสูงขึน้ 1.73 คะแนน ด้านการตระหนกั ในหน้าท่ีของตนเอง มีคะแนนเพิ่มสูงขึ้น 1.54 คะแนน และด้าน
การปรึกษาและแกป้ ัญหา ร่วมกนั มคี ะแนนเพ่มิ สงู ขนึ้ 1.32 คะแนน ตามลาดบั

3. ผลการศกึ ษาความพึงพอใจในการเรียนของนกั เรยี นระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ที่ไดร้ ับการจัดการเรยี นรู้ แบบ
รว่ มมอื

การวิเคราะหค์ วามพึงพอใจในการเรยี นของนักเรยี นระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ทีไ่ ดร้ บั การจัดการ
เรยี นรแู้ บบร่วมมอื ดังที่แสดงในตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 การวเิ คราะห์คะแนนความพึงพอใจในการเรยี นของนักเรียน ทงั้ 3 ดา้ น

รายการประเมนิ X̅ S.D. ระดับความพงึ พอใจ

ดา้ นครูผสู้ อน 4.30 0.67 มาก

ด้านกจิ กรรมการเรยี น 4.16 0.74 มาก

ด้านประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 4.26 0.72 มาก

ค่าเฉลี่ยรวม 3 ด้าน X̅ 4.24 0.07 มาก

จากตารางท่ี 3 พบวา่ ความพึงพอใจในการเรยี นของนักเรยี น ทมี่ ตี ่อการจัดการเรียนรู้ โดยภาพรวม ทัง้ 3 ด้าน มี
ระดับคะแนนความพงึ พอใจ อยู่ในระดบั มาก โดยมคี า่ เฉลย่ี รวม (X)̅ เทา่ กบั 4.24 คะแนน และมี ค่าส่วนเบย่ี งเบน
มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.07 เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ น ทุกด้านมีคะแนนความพงึ พอใจอยู่ใน ระดับมากและ
สามารถเรยี งลาดบั คะแนนความพงึ พอใจในการเรยี นของนักเรียนจากมากไปหานอ้ ยได้ ดงั น้ี ด้านครูผสู้ อน มคี ะแนน
เฉลี่ย (X)̅ เทา่ กบั 4.30 คะแนน ดา้ นประโยชนท์ ี่ได้รับ มีคะแนนเฉล่ยี (X̅) เท่ากับ 4.26 คะแนน และด้านกจิ กรรม
การเรียน มคี ะแนนเฉล่ีย (X̅) เท่ากบั 4.16 คะแนน ตามลาดับ
อภปิ รายผลการวจิ ัย

ผลที่ได้จากการทาการศึกษาการวิจัยในการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา
ปที ่ี 2 สามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ ดงั น้ี

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการแปรรูปอาหาร ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รับ
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 และเมือ่ พจิ ารณาพฤติกรรมเป็นรายด้านสามารถเรียงลาดับคะแนนพัฒนาการระหว่าง คะแนน
กอ่ นเรยี นและหลังเรยี นท่เี พิม่ สงู ขึ้นจากมากไปหานอ้ ยไดด้ ังนี้ ด้านการนาไปใช้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเพ่ิมสูงขึ้น
1.57 คะแนน ดา้ นการวเิ คราะห์ มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเพมิ่ สูงข้นึ 1.08 คะแนน ด้านความรู้ ความจา มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นเพม่ิ สงู ข้นึ 0.83 คะแนน ด้านความเข้าใจ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่ม สูงข้ึน 0.81 คะแนน ด้านการ
สังเคราะห์ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมสูงข้ึน 0.76 คะแนน และด้านการ ประเมินค่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เพ่มิ สูงขึน้ 0.49 คะแนน ตามลาดับ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าพฤติกรรม ด้านการนาไปใช้มีคะแนนพัฒนาการ
หลังเรียนเพิ่มสูงข้ึนมากท่ีสุด คือ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลัง เรียนสูงขึ้น 1.57 คะแนน โดยมีค่าเฉล่ียรวมก่อน
เรียน (X̅) เท่ากับ 1.46 คะแนน และมีค่าเฉล่ียรวมหลังเรียน (X)̅ เท่ากับ 3.03 คะแนน ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากการ
จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ โดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม
ย่อยๆ ท่เี น้นการลงมือปฏบิ ตั งิ านจรงิ กับเพือ่ นร่วมกลุ่ม

เพอื่ ให้นกั เรยี นสามารถแลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกัน ประกอบกับการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการงานอาชีพ รายวิชา
การงานอาชพี (งานอาหาร) เปน็ รายวิชาทเี่ น้นการลงมือปฏิบัติงาน จงึ ส่งผลใหน้ ักเรยี นสามารถนาความรู้ท่ีได้รับจาก
การเรียนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไปใช้ได้จริง ทาให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะด้านการนาไปใช้สูงที่สุดและ
คะแนนพฤตกิ รรมด้านการวเิ คราะห์ มีคะแนนพัฒนาการหลงั เรียนเพ่ิมสงู ขึ้นมากทส่ี ดุ เป็นอนั ดบั ท่ี 2 คือ มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนเพิม่ สงู ข้นึ 1.08 คะแนน โดยมคี ่าเฉล่ียรวมกอ่ นเรียน (X̅) เท่ากับ 1.14 คะแนน และมี ค่าเฉลี่ยรวมหลัง
เรียน (X)̅ เท่ากับ 2.22 คะแนน ท้ังนี้อาจเป็นเพราะการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ช่วยให้ นักเรียนสามารถ
แลกเปลีย่ นเรยี นรรู้ ่วมกนั วิเคราะหเ์ นอ้ื หาและปัญหาที่เกิดขึ้น เพ่ือแสดงความคิดเห็นและ ตัดสินใจในการแก้ปัญหา
ในการเรยี นร่วมกันได้เป็นอยา่ งดี โดยนักเรยี นท่ีเก่งกว่าสามารถช่วยเหลือนักเรียนที่ เรียนอ่อนกว่า ส่งผลให้นักเรียน
ในกลุ่มเขา้ ใจเน้ือหาบทเรียนและร่วมกันวเิ คราะห์เพอื่ แกป้ ญั หาทเ่ี กิดขึ้นได้ จึง ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี นสูงข้นึ ซ่ึงสอดคล้องกบั ผลการศึกษาของวันชรัส จนั ทลกิ า (2554) ทพี่ บว่า การพัฒนาทักษะการปฏิบัติงาน โดย
การจดั การเรียนรแู้ บบร่วมมอื กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ของนักเรยี นระดับช้ันประถมศึกษา
ปีที่ 6 นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และงานวิจัย
ของเขมวันต์ กระดังงา (2554) ท่ีศึกษาพบว่า นักเรียน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีเรียนด้วยกระบวนการกลุ่ม มี
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี น อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05

2. ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม ของนกั เรียนระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทไี่ ด้รบั การจัดการ เรียนรู้แบบ
ร่วมมือ หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 เม่ือพจิ ารณาทักษะ กระบวนการทางานเป็น
ทีมเปน็ รายด้านสามารถเรยี งลาดบั คะแนนพัฒนาการระหวา่ งคะแนนกอ่ นเรียนและ หลังเรยี นท่ีเพิ่มสูงขึ้นจากมากไป
หาน้อยได้ดังนี้ ด้านร่วมกันวางแผนและกาหนดเป้าหมาย มคี ะแนนเพิ่มสงู ขึน้
2.11 คะแนน ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีคะแนนเพิ่มสูงขึ้น 1.81 คะแนน ด้านการสร้าง
บรรยากาศท่ีดีในการทางานเป็นทีม มีคะแนนเพิ่มสูงข้ึน 1.73 คะแนน ด้านการตระหนักในหน้าท่ีของตนเอง มี
คะแนนเพ่ิมสูงข้ึน 1.54 คะแนน และด้านการปรึกษาและแก้ปัญหาร่วมกัน มีคะแนนเพิ่มสูงขึ้น 1.32 คะแนน
ตามลาดับ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าทักษะกระบวนการทางานเป็นทีมด้านด้านร่วมกันวางแผนและ กาหนด
เป้าหมาย มีคะแนนพัฒนาการหลังเรียนเพิ่มสูงข้ึนมากท่ีสุด คือ 2.11 คะแนน โดยมีค่าเฉล่ียรวมก่อน เรียน (X)̅
เท่ากับ 1.84 คะแนน และมคี ่าเฉลีย่ รวมหลังเรยี น (X̅) เทา่ กับ 3.95 คะแนน ที่เป็นเช่นน้ีเน่ืองจาก การจัดการเรียนรู้
แบบรว่ มมอื เปน็ การใช้กระบวนการกลุ่มในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ หลัก ซ่ึงกิจกรรมกลุ่มนี้เองส่งผลให้
นักเรียนมีส่วนร่วมวางแผนปรึกษากันในทีมด้วยความตั้งใจ มีการกาหนดหน้าที่ ของสมาชิกกลุ่มท่ีชัดเจน ช่วยให้
นักเรยี นทีม่ ีความรู้ ทกั ษะความสามารถแตล่ ะด้านที่แตกต่างกนั ได้ชว่ ยเหลือกนั ในการเรียนรแู้ ละช่วยเหลือกันในการ
ปฏบิ ตั งิ านทตี่ นถนัดได้เปน็ อย่างดี เชน่ นกั เรียนทมี่ ีความรู้ด้านเน้ือหาจะ ดาเนินการสืบค้นและเรียบเรียงข้อมูลด้าน
เน้ือหา ส่วนนักเรียนท่ีมีความสามารถด้านการออกแบบและศิลปะจะ รับมอบหมายในด้านการตกแต่งออกแบบ
ชิ้นงานและนกั เรยี นท่มี ที กั ษะการนาเสนองานจะรับมอบหมายหนา้ ที่ นาเสนอชนิ้ งานหน้าช้นั เรยี น อีกท้ังนักเรียนที่มี
ความสามารถในด้านการประกอบอาหารสามารถให้คาแนะนา และให้คาปรึกษาแก่เพ่ือนท่ีขาดประสบการณ์ด้าน
การประกอบอาหารไดเ้ ป็นอยา่ งดีและคะแนนทักษะ กระบวนการทางานเปน็ ทีมดา้ นการมปี ฏิสัมพนั ธท์ ่ีดชี ่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน มีคะแนนพฒั นาการหลังเรยี นเพ่ิม สูงข้ึนมากทีส่ ดุ เป็นอนั ดับที่ 2 คอื 1.81 คะแนน โดยมีคา่ เฉลยี่ รวมก่อน
เรียน (X)̅ เท่ากับ 2.16 คะแนน และมี ค่าเฉลี่ยรวมหลังเรียน (X)̅ เท่ากับ 3.97 คะแนน ทั้งน้ีอาจเน่ืองมาจากขั้น

เตรยี มการของแผนการสอนทกุ แผน
ผสู้ อนมกี ารกระตุน้ โดยการบอกวัตถปุ ระสงค์ ขอ้ ตกลงและบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดยเน้นย้า
ใหน้ ักเรยี นชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกันในการทางานและสื่อสารกบั เพ่อื นด้วยวาจาท่าทางท่ีสุภาพ เพื่อให้ การปฏิบัติงาน
กล่มุ เป็นไปได้ดว้ ยดีและประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายทก่ี าหนด ส่งผลให้นักเรียนช่วยเหลือ กันในการทางานเป็น
อย่างดีและสื่อสารกบั เพื่อนดว้ ยวาจาท่าทางทีส่ ภุ าพจงึ สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะ กระบวนการทางานเป็นทีมหลังเรียน
สูงข้ึน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของอรอนงค์ โฆษิตพิพัฒน์ (2560) ท่ีพบว่า รูปแบบการสอนแบบร่วมมือส่งผลให้
ความสามารถในการทางานเปน็ ทีมของนักเรียนสูงข้ึน และ งานวิจัยของชนมน ต้ังพิทักษ์ไกร (2558) ท่ีศึกษาพบว่า
การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ สามารถนาไปใช้เพื่อ
เสริมสรา้ งทักษะการทางานเปน็ ทมี ของนักเรียน ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ได้

3. ความพึงพอใจในการเรยี นของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 หลังการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ มี
ระดับคะแนนความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ียรวม (X̅) เท่ากับ 4.24 คะแนน และมี ค่าส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากบั 0.07 และเม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีคะแนนความ พึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุดและสามารถเรียงลาดับคะแนนความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนจากมากไป หาน้อยได้ ดังนี้
ด้านครูผู้สอน มีคะแนนเฉลี่ย (X̅) เท่ากับ 4.30 คะแนน ด้านประโยชน์ที่ได้รับ มีคะแนนเฉลี่ย (X̅) เท่ากับ 4.26
คะแนน และด้านกจิ กรรมการเรียน มีคะแนนเฉลีย่ (X)̅ เทา่ กับ 4.16 คะแนน และเมื่อ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่าทุก
ข้อ มีระดับคะแนนความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก โดยมีจานวน 1 ข้อ จากด้าน กิจกรรมการเรียน ข้อที่ 2 คือ
ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรียงลาดับจากง่ายไปยาก นักเรียนมีคะแนน ความพึงพอใจรวม น้อยท่ีสุด คือ
3.81 คะแนน ทั้งนอี้ าจเป็นเพราะแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งเป็น แผนที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ โดยการ
แบ่งนักเรียนแบบคละความสามารถในการทากิจกรรมร่วมกันจึงส่งผลให้ ในช่วงแรกนักเรียนอาจรู้สึกยากในการ
เรียนรแู้ ละยากในการทาความเข้าใจบทเรียนร่วมกับเพื่อนท่ีไม่คุ้นเคย ตลอดจนอยู่ระหว่างการปรับตัวในการเรียน
ร่วมกนั ของนกั เรยี น นักเรยี นจึงรสู้ ึกวา่ กิจกรรมการเรียนในช่วงแรก นั้นค่อนข้างยาก แต่เมื่อนักเรียนได้ทากิจกรรม
การเรียนรู้ร่วมกับเพ่ือนอยู่เสมอจนเกิดความคุ้นเคยและรู้สึกสนุก มีความสุขในการเรียนรู้ตลอดจนช่วยให้นักเรียน
รจู้ กั และเข้าใจเพือ่ นรว่ มชั้นเรียนมากย่ิงข้นึ ส่งผลให้นกั เรียนได้ ฝกึ ทักษะกระบวนการทางานเป็นทีม โดยนักเรียนจะ
ทากิจกรรมการเรียนร้รู ่วมกับเพอื่ นตลอดแผนการจัดการ เรียนรู้ เพอ่ื ส่งเสริมให้นักเรียนมีกระบวนการคิด วิเคราะห์
และการตัดสินใจ ทาให้นักเรียนกล้าแลกเปลี่ยน ความคิดและกล้าตอบคาถามมากข้ึน และกิจกรรมการเรียนรู้เปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นได้ลงมอื ปฏิบัติจริง เพ่ือเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ
ทางานได้ ตลอดจนนกั เรยี น มีทัศนคติที่ดีต่อครูผู้สอนและมีทัศนคติท่ีดีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือใน
รายวิชางานอาหารมาก ข้ึน จึงส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียน อยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ
การศกึ ษาของเขมวนั ต์ กระดงั งา (2554) ทีพ่ บว่า การจัดการเรียนดว้ ยกระบวนการกลมุ่ สามารถสร้างความพึงพอใจ
ตอ่ การจดั การ เรียนรู้ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้ และงานวิจัยของณัฐวรรณ ทิพย์สูงเนิน (2553) ที่
ศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน
อาชีพของนักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับมาก

องคค์ วามรู้การวิจยั
องค์ความรกู้ ารวจิ ยั เป็ นการพฒั นาทกั ษะการทางานเป็นทมี ในรายวิชาการงานอาชีพ (งานอาหาร) โดยการ

จัดการเรยี นรูแ้ บบร่วมมือ ของนักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรทู้ ่เี น้นให้ ผู้เรยี นร่วมมือกัน
เรียนรู้และทางานร่วมกัน ซึ่งจะช่วยพัฒนาผู้เรียนท้ังในด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะการ ทางานเป็นทีมและ
ความพึงพอใจในการเรยี นของผเู้ รยี น สรปุ เปน็ ขั้นตอนการจัดการเรยี นรู้ ดังในภาพที่ 1

ภาพที่ 1 รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
จากภาพที่ 1 รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมือ ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน ซ่ึงสามารถอธบิ ายได้

ดงั นี้
1. ข้นั เตรียมการ ผู้สอนจัดกลุ่มผูเ้ รียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 6-7 คน พิจารณาจากคะแนนผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพ ของผู้เรียนขณะศึกษาอยูร่ ะดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยแบง่
ผู้เรยี นออกเป็นคนเกง่ ปานกลางและคนอ่อนเพือ่ ช่วยเหลือกันในการเรยี นรู้ ครูผูส้ อนอธบิ ายถึง วตั ถุประสงค์และ
บทบาทของผ้เู รยี นในการเรยี นแบบร่วมมือ

2. ข้ันสอน ผสู้ อนช้แี จงวัตถปุ ระสงค์ของบทเรียน นาเสนอเนอื้ หา ดว้ ยการบรรยายและอภิปราย ร่วมกบั
ผ้เู รียน แจกใบงานหรือใหห้ วั ข้องานกบั ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่ม โดยครผู ู้สอนแนะนาแหล่งเรียนรแู้ ละ กระบวนการทางาน
กล่มุ ตลอดจนทักษะพนื้ ฐานท่ีจาเปน็ ในการทางานกลุ่มให้แกผ่ เู้ รียนไดท้ ราบ

3. ข้ันปฏิบัติงานกล่มุ ครกู ระตุน้ ใหผ้ ูเ้ รยี นรว่ มกันศกึ ษา อภิปรายซักถามกันทงั้ ในกล่มุ และระหวา่ ง กลมุ่
ทาการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู แสดงความคิดเหน็ กันและเร่ิมทาใบงานหรือรายงานตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย โดยมี ครผู ู้สอน
เปน็ ที่ปรกึ ษาให้คาแนะนาเม่ือผเู้ รียนเกิดข้อสงสยั

4. ขั้นนาเสนองานกลุ่ม เมอ่ื สรุปเป็นผลงานของกล่มุ เสรจ็ แล้วให้แตล่ ะกล่มุ นาเสนองานหน้าช้นั เรยี นและ
เปิดโอกาสให้เพอื่ นร่วมกันซกั ถามแลกเปล่ียนความคิดเห็น

5. ขน้ั สรุป ครผู ู้สอนและผเู้ รยี นร่วมกนั อภปิ ราย ศึกษา รวบรวมขอ้ มูลเพื่อนาไปสู่ขอ้ สรปุ ที่ถูกต้อง และ
อภิปรายเกยี่ วกบั การทางานกลมุ่ เพ่ือหาจุดเด่นจุดดอ้ ยสาหรับการปรับปรงุ แก้ไขต่อไป

ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้

1.1 ผู้สอนควรส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบร่วมมืออยู่เสมอ โดยนาแผนการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ
ไปดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชางานอาหาร ในเร่ืองอื่นๆ เช่น เร่ืองการจัดตกแต่ง จานอาหาร
เรอ่ื งการประกอบอาหารไทย เป็นต้น เพื่อส่งเสรมิ นกั เรียนใหม้ สี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอน และครูสามารถ
ดาเนินการสอนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป

1.2 ครูผู้สอนควรสง่ เสรมิ ให้มกี ารจัดการเรยี นรแู้ บบร่วมมือมากขึน้ โดยนาแผนการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือ ไป
ใช้ในรายวิชางานอาหาร ในระดับชั้นอื่นๆ เพอ่ื กระตุ้นให้นักเรียนตระหนัก เห็นคุณค่าและความสาคัญต่อการมี ส่วน
ร่วมและพัฒนาทักษะการทางานเป็นทมี ต่อไป
2. ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครั้งต่อไป

2.1 การวจิ ัยในครง้ั นี้ มีระยะเวลาเก็บข้อมูลการวจิ ัย ทัง้ ส้ิน 6 สัปดาห์ สปั ดาห์ละ 1 คาบ รวม ท้ังสิ้น 6 คาบ อาจ
ส่งผลให้นักเรียนบางกลุ่ม พัฒนาทักษะกระบวนการทางานเป็นทีมได้ไม่เต็มประสิทธิภาพสาหรับการวิจัย ในครั้ง
ตอ่ ไปควรเพ่ิมระยะเวลาในการเก็บขอ้ มูลการวจิ ัย เพ่ือให้ นักเรียนพัฒนาทักษะกระบวนการทางาน เป็นทีม ได้มาก
ขึ้นจนเกิดความชานาญ

2.2 การวิจัยในครั้งนี้เป็นการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่มเท่าน้ัน
สาหรบั การวจิ ยั ในคร้งั ตอ่ ไปควรมกี ารศึกษาคน้ ควา้ หรือทาการวจิ ยั เปรียบเทยี บการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางาน
เป็นทมี ของนกั เรยี นตั้งแต่ 2 กล่มุ ข้ึนไป โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรูห้ รือเทคนิคการ จดั การเรยี นรู้ ที่แตกต่างกัน
เช่น การจดั การเรยี นรู้ แบบรว่ มมอื โดยใช้เทคนคิ STAD หรือการจดั การเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจ๊ิกซอว์ (Jigsaw)
เป็นตน้ ทง้ั นี้ เพอ่ื ให้ไดแ้ นวทางในการปรับปรงุ พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ให้มีประสิทธภิ าพ ย่ิงขนึ้

เอกสารอ้างองิ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุ ทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เกษศริ นิทร์ ธนะไชย. (2553). การเปรียบเทยี บความคิดสร้างสรรค์ เรื่อง การประดษิ ฐข์ องใช้ดว้ ยเศษวสั ดุ
ในท้องถ่นิ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานประดิษฐ์) ของนักเรยี นระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี น
บา้ นหนองแสงโคกนอ้ ยระหว่างการจดั การเรยี นรแู้ บบร่วมมอื รปู แบบ STAD กับการจัดการเรียนร้แู บบปกติ.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เลย.

เขมวันต์ กระดังงา. (2554). ผลการเรยี นด้วยกระบวนการกลุ่มรว่ มกับเว็บสนบั สนุนการเรยี นทีม่ ีผลต่อ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและพฤติกรรมการทางานกลุม่ วชิ าการพัฒนาเว็บไซต์เบอ้ื งต้น นกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษา
ปีที่ 2. วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั ศิลปากร.

ชนมน ตง้ั พิทักษ์ไกร. (2558). การพัฒนากิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญโดยในการเรียนรู้
แบบรว่ มมอื (Cooperative Learning) เพื่อเสริมสรา้ งทกั ษะการทางานเป็นทมี กล่มุ สาระการ เรียนรู้การงานอาชพี
และเทคโนโลยี (การงานอาชีพ 1) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียน
ดอนเมืองทหารอากาศบารุง ก รงุ เท พมหานคร. วิท ยานิพนธศ์ กึ ษ ามหาบัณ ฑิ ต . มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.

ณฐั วรรณ ทพิ ย์สูงเนนิ . (2553). ผลการจัดการเรยี นร้แู บบกลมุ่ รว่ มมอื กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ
และเทคโนโลยี (งานธรุ กิจ) เร่ือง งานธรุ กจิ ในชวี ติ ประจาวันชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3. วทิ ยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตร
มหาบัณฑติ . มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

ทศิ นา แขมมณี. (2560). รูปแบบการเรยี นการสอน ทางเลือกทหี่ ลากหลาย. พิมพค์ รั้งท่ี 9.
กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตรก์ ารสอน. พมิ พ์คร้งั ที่ 23. กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
ประภาภรณ์ พลเยย่ี ม. (2560). การพัฒนาทักษะการทางานเปน็ ทีมโดยใชก้ ารจัดการเรียนรูแ้ บบจ๊กิ ซอว์ 2
ร่วมกับสื่อสงั คมออนไลน์ สาหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5. วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหา บัณฑติ . มหาวิทยาลยั ราช
ภัฏมหาสารคาม.

ปริญญา อนั ภักด.ี (2558). การพฒั นาทักษะการทางานเป็นทีม โดยจดั การเรียนริแบบโครงงานเปน็ ฐานผา่ น
สอ่ื สงั คมออนไลน์ วชิ า IPST-MicroBOX ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนชมุ แพ ศึกษา. วิทยานพิ นธค์ รุศา
สตรมหาบัณฑติ . มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม.

วนั ชรสั จันทลกิ า. (2554). การปฏิบตั กิ ารพฒั นาทกั ษะปฏบิ ตั ิ เรื่อง งานชา่ ง กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงาน
อาชีพและเทคโนโลยี โดยกระบวนการเรียนร้แู บบร่วมมอื ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นบา้ น หนองจานกั
สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ . มหาวิทยาลัยราช
ภัฏอุบลราชธานี.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถสี ร้างการเรยี นรูเ้ พอ่ื ศษิ ยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนธิ สิ ดศรี-สฤษดิ์
วงศ์. สานวน คณุ พล. (2557). การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้โดยบูรณาการการเรียนรู้แบบร่วมมอื และการเรียนรู้
โดยใชก้ รณีศึกษา ในวชิ าคณิตศาสตร์ เพ่อื เสริมสร้างทักษะการคิดวเิ คราะห์ ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ าลัยรงั สิต จงั หวัดปทุมธานี. ดุษฎนี พิ นธ์ศกึ ษา ศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวทิ ยาลยั รงั สติ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการประเมินคณุ ภาพ ตาม มาตรฐาน การศกึ ษา.
กรุงเทพมหานคร: ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช 2560–2579.
กรงุ เทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟกิ .

อรอนงค์ โฆษิตพทิ ัฒน.์ (2560). การพัฒนาความสามารถในการทางานเป็นทีมด้วยรปู แบบการสอนแบบ
ร่วมมือทางานเป็นทมี ในรายวชิ าสมั มนาวารสารศาสตร์. วิทยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบัณฑติ . มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระ
นคร.