การวิเคราะห์ปัญหา problem analysis คือ

ดูหน้า

Thinking Skills - การวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ

การวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ

(Systematic Problem Solving & Decision Making)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF

หลักการและเหตุผล

ปัญหาเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งในการบริหาร และการจัดการ (Problem is a nature or Management) ฉะนั้นผู้ที่เป็นนักบริหารจะต้องไม่วิ่งหนีปัญหาไม่ปฏิเสธที่จะศึกษาปัญหา และไม่ปฏิเสธว่าไม่มีปัญหาเพราะการไม่มีปัญหาเป็นสัญญาณอันตรายในการบริหารองค์กร ความสามารถในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ หรือการจัดการกับเรื่องต่างๆ เป็นรากฐานสำคัญต่อความสำเร็จในการทำงาน และการดำเนินชีวิต แต่เป็นเรื่องน่าเสียดาย ที่เราไม่ค่อยประสิทธิภาพ

เราจึงได้จัดทำหลักสูตรนี้ เพื่อช่วยท่านและทีมงานเพิ่มพูนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการแก้ปัญหา และตัดสินใจ โดยสามารถนำกระบวนการคิด และการวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผล ไปใช้ในการบริหารจัดการ ดำเนินธุรกิจให้ประสบผลสำเร็จยิ่งๆ ขึ้นไป

เนื้อหา

  1. ความหมายของคำว่าปัญหา
  • ประเภทของปัญหา
  1. การประเมินสถานการณ์ (Situation Assessment)
  2. ระบุเรื่องที่เกี่ยวข้อง (Identify Concern)
  3. ทำประเด็นให้ชัดเจน (Clarify Concern)
  4. จัดลำดับความสำคัญ (Prioritize Issue)
  5. เลือกวิธีการที่จะใช้ (Choose Methodology)
  6. วางแผนผู้ที่เกี่ยวข้อง (Plan Involvement)
  7. การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
  8. ระบุปัญหาให้ชัดเจน (Define Problem)
  9. รวบรวมข้อเท็จจริงของปัญหา (Problem Specification)
  10. ค้นหาสาเหตุที่เป็นไปได้ (Identify Possible Cause)
  11. ประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้ (Test Possible Cause)
  12. ยืนยันสาเหตุที่แท้จริง (Confirming the true Cause)
  13. การวิเคราะห์การตัดสินใจ (Decision Analysis)
  14. กำหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน (Clarify Purpose)
  15. กำหนดหลักเกณฑ์ (Set Criteria)
  16. จำแนกประเภทของหลักเกณฑ์ (Categorize Criteria)
  17. กำหนดความสำคัญ (Assign Importance)

iii. ทบทวนหลักเกณฑ์ (Review Criteria)

  1. ประเมินทางเลือก (Evaluate Alternatives)
  2. สรรหาทางเลือก (Identify Choices)
  3. เปรียบเทียบทางเลือก (Compare Alternatives)
  4. ตัดสินใจเลือก (Make Decision)
  5. การวิเคราะห์ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น (Potential Problem Analysis)
  6. ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะเกิด (Identify Potential Problems)
  7. ระบุสาเหตุที่อาจจะทำให้เกิดปัญหา (Identify Potential Causes)
  8. ระบุมาตรการป้องกัน (Identify Preventive Actions)
  9. ระบุผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น (Identify Potential Effects)
  10. ระบุมาตรการรับมือ และสัญญาณเตือน (Identify Contingency Actions & Signals)

รูปแบบการฝึกอบรม

การสัมมนาโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้นการฝึกอบรมจึงมีองค์ประกอบหลากหลายรูปแบบ ทั้งการนำอภิปราย การบรรยาย กรณีศึกษา บทบาทสมมติ การเปิดโอกาสให้ถามคำถาม และตลอดทั้งการฝึกอบรม จะมีเกมส์ กิจกรรม มาช่วยสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม โต้ตอบกันอยู่ตลอดเวลา ผู้เข้าอบรมจะเต็มเปี่ยมด้วยสาระ ความรู้ ความสนุกสนานต่อการเรียนรู้ รวมทั้งกำลังใจ แรงบันดาลใจที่วิทยากรได้สอดแทรกให้ตลอดการฝึกอบรม

 วิทยากร

อาจารย์ไววิทย์ แสงอลังการ


16 มีนาคม 2563

ผู้ชม 2377 ครั้ง

งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ อ. สำรวน เวียงสมุทร อ.ณภัทร สักทอง อ.อุมาภรณ์ สายแสงจันทร์ Problem Solving

2 Outline การแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน การพัฒนาซอฟท์แวร์
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม Problem Solving

3 การแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน
Identify the problem : ระบุปัญหา Understand the problem : เข้าใจปัญหา Identify alternative ways to solve the problem : ระบุทางเลือก(ที่เป็นไปได้)ที่สามารถนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา Select the best way to solve the problem from the list of alternative solutions : เลือกวิธีการที่ดีที่สุดในแก้ไขปัญหา List instructions that enable you to solve the problem using the selected solution : แจงแจงขั้นตอนวิธีการทำงานที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาได้สำเร็จ Evaluate the solution : ตรวจสอบและประเมินผลลัพธ์ Problem Solving

4 ตัวอย่าง การแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน
ระบุปัญหา : ต้องการทราบว่านิสิตแต่ละคนต้องการทำกิจกรรมอะไรในช่วงเย็นๆ เข้าใจปัญหา : เราจำเป็นต้องทราบข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับนิสิตแต่ละคน และทางเลือกที่เป็นไปได้(กิจกรรมที่เลือกทำ)ก็ต้องเป็นกิจกรรมที่นิสิตทุกคนรู้จักและทำเป็น เช่น เราจะไม่เลือกกิจกรรม “ถักนิ๊ตติ้ง” เป็นตัวเลือกหากว่า นิสิตทุกคนไม่รู้ว่าการถักนิตติ๊งคืออะไรและทำได้อย่างไร เป็นต้น ระบุทางเลือก(ที่เป็นไปได้ทั้งหมด) : 1. ดูทีวี 2. สังสรรค์กับเพื่อน 3. เล่นวีดีโอเกมส์ 4. ไปดูหนัง 5. ไปช๊อปปิ้ง 6. ทบทวนบทเรียน 7. ทำการบ้าน Problem Solving

5 ตัวอย่าง การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน (ต่อ)
เลือกวิธีการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด : ตัดทางเลือกที่ยอมรับไม่ได้ออกไปเช่น มีค่าใช้จ่ายสูงเกินไป หรือ กิจกรรมที่ไม่มีนิสิตคนใดสนใจเลย จากนั้นทำการระบุข้อดี-ข้อเสียของแต่ละทางเลือกที่เหลือ ชั่งน้ำหนักข้อดี-ข้อเสีย เพื่อตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด แจงแจงขั้นตอน วิธีการทำงาน : ระบุขั้นตอนต่างๆที่จะทำให้กิจกรรมที่จะทำในช่วงเย็นเต็มไปด้วยความสนุกสนานที่สุด ตรวจสอบและประเมินผลลัพธ์ : ตรวจสอบว่าทุกคนพึงพอใจในกิจกรรมที่ทำหรือไม่ หากไม่ ก็จำเป็นต้องปรับขั้นตอนวิธีการทำงาน(ข้อ 5) แล้วตรวจสอบอีกครั้งว่า ดีขึ้นหรือไม่ หากไม่ อาจต้องเริ่มกระบวนการทั้งหมดใหม่อีกรอบ Problem Solving

6 กิจกรรม จงระบุขั้นตอนการทำงานเป็นข้อๆสำหรับงานต่อไปนี้ โดยให้มีความสมบูรณ์ชัดเจน เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าใจกระบวนการทุกอย่างโดยไร้ข้อสงสัย และให้ระบุความรู้พื้นฐานของคนที่จะทำงานใดๆด้วย เช่น งานชงกาแฟ ผู้ทำต้องมีความรู้เรื่อง นม น้ำ ตู้เย็น หม้อต้มน้ำ กาแฟ ช้อน ถ้วยกาแฟ ฯลฯ เป็นต้น ชงกาแฟ ทอดไข่เจียว เหลาดินสอ สตาร์ทรถยนต์ เปิดคอมพิวเตอร์ (pairwise) สลับใบงานให้เพื่อนนิสิตอ่านแล้วประเมินว่า ขั้นตอนที่ระบุมานั้น สามารถทำได้จริงหรือไม่ หากไม่ต้องปรับปรุงแก้ไขกระบวนการใด เพื่อให้งานสำเร็จ Problem Solving

7 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
เขาวงกต Start สังเกตว่าสองรูปนี้แก้ปัญหาออกจากเขาวงกตกันคนละเส้นทางแต่ก็ได้ออกจากเขาวงกตเหมือนกัน Finished Start Finished Problem Solving Problem Solving

8 ขั้นตอนการพัฒนาซอฟท์แวร์
พัฒนาและออกแบบโปรแกรม (Development & Design) จัดทำเอกสาร (Documentation) บำรุงรักษาซอฟท์แวร์ (Maintenance) Maintenance Program Life Cycle Stages Documentation Development & Design Time Request for a program Program no longer used Problem Solving

9 * แนวทางการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ *
Problem Solving วิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) ออกแบบโปรแกรม (Program Design) ทดสอบด้วยมือ (Testing by Hand) Implementation เขียนโปรแกรม (Coding) ทดสอบโปรแกรม (Testing Code) Program Problem Solving

10 * การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis) *
ระบุข้อมูลนำเข้า (Input Specification) ข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้โปรแกรมประมวลผล ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ (Output Specification) สิ่งที่ผู้ใช้ต้องการ โดยพิจาณาจากเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของผู้ใช้เป็นหลัก กำหนดขั้นตอนการประมวลผล (Process Specification) ต้องกำหนดขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ Input Process Output Problem Solving

11 Problem Analysis การพิจารณาสิ่งที่เป็น Input/Output
นาม/กลุ่มของนาม (Noun/Noun Phrase) คุณศัพท์ (Adjective) การพิจารณาการประมวลผล กริยา (Verb) วิเศษณ์ (Adverb) Problem Solving

12 Example 01 (แบบที่ 1) ต้องการสร้างโปรแกรมที่มีการอ่านตัวเลข 3 จำนวนเข้ามา หาผลรวมของตัวเลขเหล่านั้นและทำการพิมพ์ผลรวมนั้นออกมา การวิเคราะห์ปัญหาเริ่มจากการหาคำนามและกริยาของโจทย์ได้ดังนี้ “คำนาม” ประกอบด้วย ตัวเลข 3 จำนวน ผลรวม “คำกริยา” ประกอบด้วย อ่านค่าตัวเลข 3 จำนวน หาผลรวมของตัวเลขเหล่านั้น พิมพ์ผลรวมออกมา Problem Solving

13 Example 01 (แบบที่ 2) จงหาผลรวมของตัวเลข 3 จำนวน
คำนาม ผลรวม ตัวเลข 3 จำนวน กริยา หาผลรวม โจทย์ลักษณะนี้พบเห็นได้บ่อย เนื่องจากเป็นปัญหาทั่วไปที่เป็นที่ทราบกัน ถ้าต้องการให้แก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ จะต้องคิดเสมอว่า ส่วนของ Process จะต้องดำเนินการ รับค่าเข้ามา พิมพ์ผลลัพธ์ที่ได้ Problem Solving

14 Example 01 (ต่อ) Input Process Output ตัวเลขตัวที่ 1 ตัวเลขตัวที่ 2
ตัวเลขตัวที่ 3 อ่านตัวเลขทั้ง 3 จำนวนเข้ามา บวกตัวเลขทั้ง 3 จำนวน พิมพ์ผลรวม ผลรวมของตัวเลข 3 จำนวน Problem Solving

15 Example 02 (แบบที่ 1) จงเขียนโปรแกรมอ่านค่าความยาว และความกว้าง ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า คำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า และพิมพ์พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ได้ “คำนาม” ประกอบด้วย ความยาว ความกว้าง พื้นที่สีเหลี่ยมผืนผ้า “คำกริยา” ประกอบด้วย อ่านค่าความยาว และความกว้าง คำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า พิมพ์พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า Problem Solving

16 Example 02 (แบบที่ 2) จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า
“คำนาม” ประกอบด้วย พื้นที่สีเหลี่ยมผืนผ้า “คำกริยา” ประกอบด้วย หาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า จะเห็นว่าโจทย์จะสั้น มิได้บอกว่า Input คืออะไร และขั้นตอนการดำเนินงานทำอย่างไร แต่เป็นโจทย์ที่เป็นที่ทราบกันว่าจะต้องทำอย่างไร ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องกำหนดสิ่งที่เป็น Input เอง ค่าความกว้าง ค่าความยาว ส่วนขั้นตอนการทำงานผู้เขียนโปรแกรมต้องทราบเองว่า อ่านค่า Input ทั้งสอง พิมพ์ผลลัพธ์ที่ได้ Problem Solving

17 Example 02 (ต่อ) Input ค่าความกว้าง ค่าความยาว Process
อ่านค่าความกว้าง อ่านค่าความยาว คำนวณหาพื้นที่สีเหลี่ยมผืนผ้า พิมพ์พื้นที่ Output พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า Problem Solving

18 Example 03 แบบที่ 1 ต้องการสร้างโปรแกรมอ่านค่าคะแนนของนักเรียนทั้งหมดในชั้นเข้ามาคำนวณหาคะแนนเฉลี่ย และพิมพ์คะแนนเฉลี่ยออกมาให้เห็น แบบที่ 2 จงหาคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งหมดในชั้น “คำนาม” ประกอบด้วย คะแนนของนักเรียนแต่ละคน คะแนนเฉลี่ย “คำกริยา” ประกอบด้วย อ่านคะแนนของนักเรียนแต่ละคน คำนวณคะแนนเฉลี่ย พิมพ์คะแนนเฉลี่ย Problem Solving

19 Example 03 (ต่อ) Input Process Output ค่าคะแนนนักเรียนแต่ละคน
อ่านค่าคะแนนนักเรียนแต่ละคน คำนวณคะแนนเฉลี่ย พิมพ์คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย ไม่มีจำนวนนักเรียน เป็น Input แล้วหาคะแนนเฉลี่ยได้ยังไงน้า?? Problem Solving

20 Example 04 จงเขียนโปรแกรมเพื่อแปลง ปี ค.ศ เป็น ปี พ.ศ
ข้อมูลนำเข้า: ตัวเลขจำนวนเต็ม 4 ตัว แทนปี ค.ศ. Process: ปี พ.ศ. = ปี ค.ศ ข้อมูลออก: ตัวเลขจำนวนเต็ม 4 ตัว แทนปี พ.ศ. Problem Solving

21 Example 05 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าจำนวนเต็ม และแสดงผลลัพธ์ว่าเป็นเลขคู่หรือเลขคี่ ข้อมูลนำเข้า: ตัวเลขจำนวนเต็ม 1 จำนวน Process: ถ้าจำนวนเต็ม หารด้วย 2 ได้เศษเท่ากับ 0 แสดงว่าเป็น เลขคู่ ถ้าจำนวนเต็ม หารด้วย 2 ได้เศษไม่เท่ากับ 0 แสดงว่าเป็น เลขคี่ ข้อมูลออก: ผลการตรวจสอบเลขจำนวนเต็มว่า เป็นเลขคู่หรือเลขคี่ Problem Solving

22 Example 06 จงเขียนโปรแกรมเพื่อคิดผลของการสอบ ของนิสิตจากคะแนน โดยกำหนดให้ ถ้ามากกว่าหรือเท่ากับ 50 ถือว่าผ่าน ถ้าต่ำกว่า ถือว่าไม่ผ่าน ข้อมูลนำเข้า: คะแนนของนิสิต Process: ถ้าผลสอบมากกว่าหรือเท่ากับ 50 แสดงว่า ผ่าน ถ้าผลสอบต่ำกว่า 50 แสดงว่า ไม่ผ่าน ข้อมูลออก: ผลการสอบว่าผ่านหรือไม่ผ่าน Problem Solving

23 Example 07 ปัญหาการคำนวณจำนวนช่องจอดรถในลานจอดรถ
ซูเปอร์มาร์เกตแห่งหนึ่ง จัดพื้นที่ด้านหน้าสำหรับจอดรถให้กับลูกค้าที่มาใช้บริการ กว้าง 25 เมตร ยาว 35 เมตร สมมติ โดยเฉลี่ย ช่องจอดรถ 1 ช่อง มีความกว้าง 2 เมตร ความยาว เมตร และพื้นที่ 1 ใน 10 ของพื้นที่ลานจอดรถทั้งหมดคิดเป็นพื้นที่ถนนให้รถวิ่ง อยากทราบว่าซูเปอร์มาร์เกตแห่งนี้จะสามารถจัดช่องจอดรถให้กับลูกค้าได้ทั้งหมดจำนวนกี่ช่อง Problem Solving

24 Example 07 (ต่อ) จากปัญหานี้ เราต้องการคำนวณหาจำนวนช่องจอดรถในลานจอดรถ โดยพื้นที่ที่จะนำมาคำนวณจะต้องหักพื้นที่ส่วนที่เป็นถนนออกจากพื้นที่ของลานจอดรถทั้งหมดก่อน จึงจะนำมาคำนวณหาจำนวนช่องจอดรถที่ต้องการได้ โดยอาศัยข้อมูลขนาดของช่องจอดรถ 1 คัน ตามที่กำหนดให้ในปัญหา ดังนั้นรายละเอียดของข้อมูลออกจึงกำหนดไว้เป็น ข้อมูลเข้า : ความกว้าง ความยาวของพื้นที่ลานจอดรถทั้งหมด และความกว้าง ความยาวของพื้นที่ช่องจอดรถ 1 คัน ข้อมูลออก : จำนวนช่องจอดรถในลานจอดรถ Problem Solving

25 Example 08 จงเขียนโปรแกรม คำนวณหาส่วนลดของราคาสินค้าให้กับลูกค้า10 %
สิ่งที่โจทย์ต้องการ: ส่วนลดของราคาสินค้า 10 เปอร์เซ็นต์ ข้อมูลนำเข้า:            -ลำดับที่ (No)             -รหัสสินค้า (Code)             -ราคาสินค้า (Price) Problem Solving

26 Example 08 (ต่อ) Process ข้อมูลออก
คำนวณหาส่วนลด Discount = Price * 0.1 ข้อมูลออก Problem Solving

27 Example 09 จงเขียนโปรแกรมคำนวณหาส่วนลดของราคาสินค้าและราคาที่ต้องจ่ายจริงโดยมีเงื่อนไขดังนี้ ถ้าซื้อสินค้ามากกว่าหรือเท่ากับ 1000 บาท คิดส่วนลด 10 เปอร์เซ็นต์ ถ้าซื้อสินค้าน้อยกว่า 1000 บาท คิดส่วนลด 5 เปอร์เซ็นต์ สิ่งที่โจทย์ต้องการ:             1. ส่วนลดของราคาสินค้า             2. ราคาที่ต้องจ่ายจริง Problem Solving

28 Example 09 (ต่อ) ข้อมูลนำเข้า : Process
ลำดับที่ (No) รหัสสินค้า (Code) และ ราคา(Price) Process คำนวณหรือเปรียบเทียบ เปรียบเทียบ ถ้า Price >= 1000 ให้ Discount = Price * 0.1 ถ้า Price < 1000 ให้ Discount = Price * 0.05 คำนวณราคาที่ต้องจ่ายจริง Amount = Price - Discount Problem Solving

29 Example 09 (ต่อ) ข้อมูลออก Problem Solving

30 Exercises จงเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม และแสดงผลลัพธ์ที่คำนวณได้ จงวิเคราะห์ปัญหาการคำนวณเปลี่ยนหน่วยชั่วโมง ให้เป็นหน่วยวินาทีและแสดงผลลัพธ์ที่ได้ จงเขียนโปรแกรมคำนวณหาจำนวนเงินที่ต้องการจ่ายให้พนักงานรายวัน แต่ละคน โดยมีค่าแรงเป็น 40 บาทต่อชั่วโมง ถ้าทำงานเกินจะมีค่าล่วงเวลาคิดเป็นอัตรา 7 บาทต่อชั่วโมง จากโจทย์ ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ จำนวนที่ต้องจ่ายให้แก่พนักงาน ข้อมูลนำเข้า คือ จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน จากนั้นนำมาเขียนเป็นสูตร เชิงคณิตศาสตร์ดังนี้ ค่าแรงของพนักงาน = จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน *40 (ถ้าจำนวนชั่วโมงน้อยกว่าหรือเท่ากับ 8) ค่าล่วงเวลา = (จำนวนชั่วโมงที่ทำงาน -8)*7 (ถ้าจำนวนชั่วโมงมากกว่า 8 ชั่วโมง) รวมจำนวนเงินค่าแรงของพนักงานแต่ละคน = ค่าแรงของพนักงาน + ค่าล่วงเวลา Problem Solving

31 การวิเคราะห์ปัญหา (Problem Analysis)
Program Design ข้อกำหนดของการออกแบบโปรแกรม กำหนดตัวแปรสำหรับ Input Output ค่าที่เกี่ยวข้องกับ Process กำหนดค่าเริ่มต้นที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร การคำนวณและเปรียบเทียบ เครื่องมือที่นิยมใช้ในการออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนวิธี (Algorithm) นำเสนอด้วยภาพ บรรยาย รหัสเทียม (Pseudo-code) ผังงาน (Flowchart) แผนภูมิโครงสร้าง (Structure Chart) สร้างแนวทางการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การเขียนโปรแกรมทำได้ง่ายขึ้น และมีข้อผิดพลาดน้อยลง Problem Solving Problem Solving

32 Thank You See you next time. Problem Solving

การวิเคราะห์ข้อมูล Problem Analysis ต้องทำอย่างไร

Step1 เข้าใจปัญหา Step2 วางแผน Step3 แก้ปัญหา Step4 ตรวจสอบผลลัพธ์ เข้าใจปัญหา อ่านปัญหาอย่างรอบครอบ จนมั่นใจว่าเข้าใจอย่างชัดเจน • ถามข้อมูลเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหา • ขีดเส้นใต้คาที่ไม่คุ้นเคย หรือสิ่งที่แปลกใหม่ • แยกให้ออกว่าส่วนใดคือสิ่งสาคัญ • ร่างการแก้ปัญหา

การวิเคราะห์ปัญหามีกี่ขั้น

ระบุและอธิบายรายละเอียดของปัญหา (Identify and Define) ... .
วิเคราะห์ปัญหา (Analyze) ... .
พัฒนาแนวทางในการแก้ไขปัญหา (Develop Alternate Solutions) ... .
ประเมินแนวทางที่ได้มา (Evaluate Alternatives) ... .
ลงมือปฏิบัติตามแนวทาง (Implement the Solution) ... .
ประเมินผลปฏิบัติการ (Mesure the Result).

การวิเคราะห์โจทย์ (Program Analysis) ในการออกแบบมีกี่ขั้นตอน

ขั้นวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis and Feasibility Study) ... .
ขั้นวางแผนแก้ไขปัญหา หรือการออกแบบโปรแกรม (Algorithm Design) ... .
ขั้นดำเนินการเขียนโปรแกรม (Program Coding) ... .
ขั้นทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing and Debugging) ... .
ขั้นการเขียนเอกสารประกอบ (Documentation).