เฉลยแบบฝึกหัดระบบจัดการฐานข้อมูล 30204-2002

 ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการของระบบฐานข้อมูล ขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล แบบจำลองข้อมูล การวิเคราะห์และการออกแบบฐานข้อมูล แบบจำลองเอนทิตี้และความสัมพันธ์ รูปแบบบรรทัดฐาน การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ภาษามาตรฐานบนระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การเกิดภาวะพร้อมกัน และการกู้คืน การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาระบบงาน กรณีศึกษา

ใบความรู้ วิชาระบบจัดการฐานขอ้ มลู (Database Management System) รหัสวิชา 30204-2002 จานวน 3 หนว่ ยกติ จดุ ประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้ 2-2-3 1. เขา้ ใจแนวคิดและการออกแบบระบบจัดการฐานขอ้ มูล 2. สามารถออกแบบระบบจัดการฐานขอ้ มลู 3. มเี จตคตแิ ละกจิ นิสัยที่ดใี นการปฏิบัติงานด้วยความรบั ผดิ ชอบ ซือ่ สตั ย์ ละเอยี ดรอบคอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับหลกั การระบบจดั การฐานขอ้ มูล 2. ออกแบบฐานขอ้ มูลเชงิ สมั พนั ธต์ ามหลกั การของการจัดรูปแบบบรรทัดฐาน คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับหลกั การของระบบฐานข้อมูล ขนั้ ตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมลู สถาปัตยกรรม ฐานข้อมลู แบบจาลองขอ้ มูล การวเิ คราะห์และการออกแบบฐานข้อมูล แบบจาลองแอนทิตแ้ี ละความสัมพนั ธ์ รปู แบบบรรทัดฐาน การออกแบบฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธ์ ภาษามาตรฐานบนระบบฐานขอ้ มลู และมีความร้พู ้ืนฐาน เกยี่ วกับฐานข้อมูลไมใ่ ช่เชิงสมั พนั ธ์ (NoSQL)

ใหน้ กั ศึกษาหาความหมายอย่างละเอียดจากคาถามต่อไปน้ี 1. จงบอกขอ้ แตกต่างระหว่างแฟม้ ข้อมูล (File) กบั ฐานข้อมูล (Database) การจัดเก็บข้อมูลในรูปของแฟ้มข้อมูล (File) น้จี ะต้องมีผู้ทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถ ทางดา้ นคอมพิวเตอร์ มาทาการกาหนดโครงสรา้ งการจดั เก็บขอ้ มลู ให้เหมาะสมกับข้อมูล ทีม่ ีอยู่ ระบบฐานขอ้ มลู หมายถึงการจดั เก็บข้อมูลทั้งหมดท่ีมคี วามสัมพนั ธก์ นั เกย่ี วขอ้ ง กนั ไวใ้ นท่ีเดยี วกัน 2. จงบอกองคป์ ระกอบทส่ี าคัญ เมอ่ื ต้องการสร้างระบบฐานขอ้ มูล 1. ข้อมูล (Data) 2. บุคลากร (Personal) 3. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 4. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS: Database Management System) มีหน้าที่ทาอะไรบ้าง 1.) ทาหนา้ ทใ่ี นการแปลคาส่ังตา่ ง ๆ ท่ไี ดร้ บั จากบุคลากรแต่ละระดับ เพื่อไปกระทากับข้อมูล ทีเ่ กบ็ อยูใ่ นฐานข้อมลู 2.) ทาหนา้ ที่เก็บรายละเอียดเก่ียวกับโครงสร้างของฐานข้อมูล เช่น ฐานขอ้ มูลประกอบไป ด้วยรเี ลชน่ั อะไรบา้ ง มแี อททรบี วิ ทใ์ ดเป็นคีย์ แล้วแตล่ ะแอททรีบิวท์มีคุณสมบัติอย่างไร กฎการใชฐ้ านขอ้ มลู ประกอบไปดว้ ยอะไรบ้าง เปน็ ต้น ซ่ึงรายละเอยี ดเหลา่ น้ีเรียกวา่ “MetaData” จะส่งไปจัดเก็บทสี่ ่วน “พจนานกุ รมขอ้ มูล (Data Dictionary)” ภายใน ฐานข้อมลู 3.) ทาหนา้ ท่ีควบคุมและตรวจสอบใหฐ้ านข้อมูลทางานเปน็ ไปตามกฎที่กาหนดขึน้ ซง่ึ กฎ เหล่านี้จะถูกกาหนดในสว่ นโครงสร้างฐานข้อมูล ซงึ่ เกบ็ อยู่ในพจนานุกรมข้อมลู (Data Dictionary) 4.) ทาหน้าท่รี กั ษาความสัมพันธข์ องขอ้ มลู ภายในฐานขอ้ มูล ซง่ึ จะส่งผลทาให้ข้อมูลที่เก็บอยู่ ในฐานข้อมูลไม่เกดิ ปัญหาการขดั แย้งกนั ของข้อมูล (Data Inconsistency) และเกดิ ปญั หาความซ้าซ้อนกันของข้อมูล (Data Redundancy) 4. จงอธิบายความหมายของคาว่า พจนานกุ รมข้อมลู (Data Dictionary) รายละเอยี ดเกี่ยวกับโครงสร้างของฐานข้อมูล เช่น ฐานขอ้ มูลประกอบไปด้วยรีเลชัน่ อะไร บา้ ง มีแอททรีบิวท์ใดเปน็ คีย์ แล้วแต่ละแอททรีบิวท์มีคณุ สมบตั ิอย่างไร กฎการใช้ฐานขอ้ มูลประกอบไป ดว้ ยอะไรบา้ ง 5. จงอธบิ ายความหมายของคาว่า ความไม่อิสระกันของขอ้ มูล (Data Dependency) การทขี่ อ้ มลู ท่ีจดั เก็บต้องข้นึ อยกู่ บั ฮาร์ดแวร์ หรือ DBMS 6. อธบิ ายโครงสร้างของข้อมลู ภายในระบบฐานข้อมลู ในรูปแบบของ ANSI/SPARC (American National Standards Institute/Systems Planning and Requirements Committee) การแบ่งระดับของข้อมลู ออกเป็น 3 ระดบั คอื ระดบั ภายนอก (External Level) ระดบั ความคิด (Conceptual Level) และระดับภายใน (Internal Level) 7. จงอธบิ ายหลกั การทางานของสถาปตั ยกรรมฐานขอ้ มูลระดบั ภายนอก (External Level) ไมไ่ ด้เป็นโครงสรา้ งของข้อมูลอยา่ งแท้จริง เพราะโครงสร้างของข้อมลู ในระดบั นี้ จะเปล่ยี นแปลง ไปตามมุมมอง (View) ของผใู้ ช้ขอ้ มลู ภายในฐานข้อมูลแต่ละคน

8. จงอธบิ ายหลักการทางานของสถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูลระดับความคดิ (Conceptual Level) เป็นระดบั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับผู้ออกแบบระบบ (Database Administrator) จะกล่าวถึงการออกแบบโครงสร้างของข้อมูลท่ีเก็บอยู่ในฐานข้อมูล เช่น ข้อมูลที่จัดเก็บควรประกอบไปด้วย เอนติต้ีอะไรบ้างในแต่ละเอนติตี้ประกอบไปด้วยแอททรีบิวท์อะไรบ้าง แต่ละเอนติตี้มีความสัมพันธ์กัน อย่างไรแต่ละแอททรีบิวท์ควรมี คณุ สมบตั ิอยา่ งไรบ้าง 9. จงอธบิ ายลักษณะการ Mapping ของสถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูล สถาปตั ยกรรม ANSI/SPARC นี้ แต่ละระดับจะมรี ะบบการจดั การฐานข้อมลู (DBMS) ทา หน้าทีแ่ ปลระดบั ทสี่ งู กว่าไปยงั สถาปัตยกรรมท่มี ีระดับตา่ กว่าได้ เรยี กวา่ Mapping สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะคอื 1. แปลระดับภายนอกและระดบั ความคิด (External /Conceptual Mapping) 2. การแปลระดบั ความคดิ และระดบั ภายใน (Conceptual / Internal Mapping) 10.จงอธบิ ายประโยชน์ของสถาปัตยกรรมฐานข้อมลู 1. เกิดประโยชน์ต่อมมุ มองข้อมูลที่แตกต่างของผู้ใช้ในระดับภายนอก เม่ือทาการแปล ระดัภายนอกและระดับความคิดแล้ว ส่งผลทาให้ผ้ใู ช้ในสถาปัตยกรรมระดับภายนอกมมี ุมมอง (View) ของ ขอ้ มูลในลักษณะท่ีแตกต่างกันไดโ้ ดยไม่ ตอ้ งคานึงถึงโครงสร้างทสี่ ถาปตั ยกรรมระดับความคดิ ทาการ ออกแบบสร้างไว้ 2. เกดิ ระโยชน์ความเปน็ อสิ ระกันของขอ้ มลู ท่มี ตี ่อผ้พู ฒั นาระบบ เมื่อทาการแปลระดับ ภายนอกและระดับความคิด สถาปตั ยกรรมระดับความคิดจะเปล่ยี นแปลง ปรบั ปรุงโครงสร้างอย่างไรกต็ าม กไ็ มส่ ง่ ผลกระทบต่อโปรแกรมประยุกตท์ ผ่ี ู้พฒั นาระบบทาการออกแบบไวใ้ หส้ ถาปัตยกรรมระดับภายนอกใช้ งานเลย 11.จงอธิบายความแตกต่างระหว่าง ฐานขอ้ มลู แบบลาดับขั้น (Hierarchical Database) และแบบ เครือขา่ ย (Network Database) รูปแบบฐานข้อมูลแบบลาดับข้ันน้ี พัฒนามาจากโปรแกรม GUAM จะมีความสัมพันธ์กันในแบบ ลาดับขั้นในรูปต้นไม้ (Tree) ระเบียนบนสุดเรียกว่า ระเบียนพ่อแม่ (Parent record) ระเบียนข้ันต่อมา จะเรียกว่า ระเบียนลูก (Child record) ซ่ึงในความเป็นจริงพ่อแม่จะมีลูกได้เพียงหน่ึงคน หรือมากกว่า หน่ึงคนก็ได้ แต่ลูกจะมีพ่อแม่ท่ีแท้จริงได้เพียงหนึ่งคนเท่าน้ัน ดังนั้นฐานข้อมูลในรูปแบบน้ี จึงมี ความสัมพันธ์ของข้อมูลเป็นหน่ึงต่อหน่ึง กับหนึ่งต่อกลุ่มเท่านั้นเป็นฐานข้อมูลท่ีมีโครงสร้างของข้อมูล จาแนกตามความสัมพนั ธ์ของข้อมลู โดยมีจุดประสงค์เพอื่ กาหนดให้เป็นรูปแบบของโครงสรา้ งข้อมลู ที่เป็น มาตรฐาน และสามารถรองรบั ขอ้ มลู ที่มคี วามสัมพนั ธ์แบบกลมุ่ ต่อกลุ่มได้ 12.ฐานขอ้ มลู แบบเชิงสมั พนั ธม์ ีลกั ษณะการจดั เกบ็ ข้อมูลอย่างไร โครงสร้างข้อมูลแบบเชงิ สมั พันธน์ ้ีจะจัดเกบ็ ข้อมลู อย่ใู นรูปของตาราง (Table) ภายในตาราง ประกอบดว้ ย แถว (Row) และคอลัมน์ (Column) ฐานข้อมูลเชิง สมั พันธ์จะเรียกตารางว่า รเี ลช่นั (Relation) เรยี กแถวว่า ระเบียน(record) เรยี ก คอลัมนว์ า่ เขตข้อมูล (Field) หรือแอททรีบวิ ท์ (Attribute) 13.จงอธิบายขอ้ ดีและข้อเสียของฐานข้อมูลแบบลาดบั ขนั้ ขอ้ ดีของฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ข้นั 1. มโี ครงสรา้ งทเ่ี ข้าใจง่าย มคี วามซบั ซอ้ นน้อย 2. มีการป้องกันความปลอดภยั ของข้อมูลสูง เพราะการเข้าถงึ ข้อมูล จะตอ้ งเขา้ ถงึ ท่ีต้น กาเนดิ ของข้อมูล

3. เหมาะกับข้อมลู ทีม่ กี ารเรียงลาดบั แบบต่อเน่ือง ข้อเสยี ของฐานขอ้ มูลแบบลาดับขั้น 1. ไมส่ ามารถรองรับขอ้ มลู ทมี่ คี วามสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกล่มุ (Many to Many) ได้ 2. มีความยดื หย่นุ นอ้ ยเพราะการปรบั โครงสรา้ งของ Tree มีความยุ่งยาก 3. การเขา้ ถึงข้อมูลจะต้องเข้าถงึ ที่ต้นกาเนิดของข้อมูล ดังนั้นถ้ามีข้อมูลจานวนมาก ทาให้ ต้องใชเ้ วลามากในการคน้ หาข้อมูล 14.จงอธบิ ายขอ้ ดีและข้อเสียของฐานขอ้ มลู แบบเครอื ข่าย ข้อดีของฐานข้อมูลแบบเครอื ข่าย 1. สามารถรองรบั ขอ้ มูลท่ีมคี วามสัมพนั ธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many to Many) ได้ 2. สามารถเชอ่ื มโยงขอ้ มลู แบบ ไป-กลับ ได้ 3. มีความสามารถในการค้นหาขอ้ มลู สูง โดยการใช้ Pointer ในการเข้าถึงข้อมูล ขอ้ เสียของฐานข้อมลู แบบเครือขา่ ย 1. การป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลมีน้อย เพราะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรงโดยใช้ Pointer 2. ใชเ้ นื้อทใ่ี นหน่วยความจามากข้ึนในการเกบ็ Pointer 3. การเปล่ยี นแปลงโครงสร้างขอ้ มลู มีความยุ่งยาก 15.จงอธิบายขอ้ ดีและข้อเสียของฐานข้อมลู แบบเชิงสัมพนั ธ์ ขอ้ ดีของฐานขอ้ มลู แบบเชิงสัมพนั ธ์ 1. เปน็ การส่อื สารทีเ่ ขา้ ใจง่าย เพราะเป็นการนาเสนอในรปู แบบของตาราง 2 มิติ 2. สามารถสรา้ ง View ของข้อมลู ตามเง่ือนไขไดห้ ลายรูปแบบ 3. ความซา้ ซ้อนของขอ้ มูลมีน้อย 4. การป้องกันความปลอดภัยของข้อมูลมีสูง เพราะรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ ผู้ใชง้ านไมท่ ราบถงึ กระบวนการจดั เก็บขอ้ มูลในฐานข้อมลู 5. รปู แบบโครงสรา้ งข้อมลู มีความเปน็ อสิ ระจากโปรแกรมประยกุ ต์ ขอ้ เสียของฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ 1. ตอ้ งใช้งบประมาณสูงในการติดต้ังระบบ เพราะต้องใช้ทรัพยากรทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ท่ีมีความสามารถสูง 2. เนื่องจากผู้ใช้ไม่ทราบถึงรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ ทาให้การแก้ไขปรับปรุง แฟม้ ข้อมลู มคี วามยุ่งยาก 16.จงอธบิ ายคณุ สมบตั ิของ Relation 1. ในแต่ละคอลัมนข์ องตารางจะเกบ็ ขอ้ มลู เพียงคา่ เดียว ค่าของข้อมลู ในแต่ละคอลัมนจ์ ะไม่เปน็ กลมุ่ ข้อมูล 2. ชนิดของข้อมลู ในคอลัมนเ์ ดยี วกนั จะต้องเป็นชนดิ เดยี วกัน 3. ชื่อของคอลัมน์จะต้องกาหนดใหแ้ ตกตา่ งกนั 4. การเรียงลาดับของข้อมูลแต่ละคอลัมนไ์ มถ่ ือว่าสาคัญ 5. การเรียงลาดับของข้อมูลแต่ละแถวไม่ถือว่าสาคญั 6. ขอ้ มูลในแต่ละแถวตอ้ งมคี วามแตกต่างกนั จะตอ้ งไม่มแี ถวที่ซ้ากนั

17. จงอธบิ ายหลักการกาหนดคา่ ของข้อมูลในแอททรีบิวท์ ใหเ้ ปน็ โดเมน 1. คา่ ที่นิยามให้กับขอ้ มูลจะต้องมคี ่าที่ไมส่ ามารถแยกย่อยออกได้ เช่น แอททรีบวิ ท์ท่อี ยู่ ไม่สามารถ กาหนดเปน็ โดเมนได้ เพราะแอททรบี ิวท์ทอี่ ยู่ สามารถแยกย่อยออกเปน็ เลขท่ี ซอย ถนน แขวง เขต จังหวดั ได้ 2. คา่ ท่ีนิยามให้กับข้อมลู จะต้องเปน็ คา่ ของข้อมูลท่ีอิสระจากขอ้ มลู อื่น เช่น รหัสพนักงานของพนักงานแต่ ละคน สามารถกาหนดเปน็ โดเมนได้ ส่วนรหัสแผนก ของพนักงานแตล่ ะคนไมส่ ามารถกาหนดเป็นโดเมนได้ เพราะรหัสแผนกของ รเี ลชั่นพนักงาน มีการอ้างองิ มาจากรีเลชนั่ แผนก แต่สาหรับรหสั แผนกของ รเี ลชน่ั แผนกสามารถกาหนดเปน็ โดเมนได้ เปน็ ต้น 3. คา่ ทีน่ ยิ ามให้กับขอ้ มลู จะต้องเปน็ ข้อมลู ชนดิ เดยี วกนั เช่น เพศ ค่าของข้อมลู ทจ่ี ดั เก็บเป็นข้อความ คอื ชายหรือหญงิ จะกาหนดเปน็ ตัวเลขผสมกับข้อความไม่ได้ เปน็ ต้น 18.จงอธิบายหลักการกาหนดคีย์นอก (FK: Foreign Key) ของ Realtion 1. คา่ ของข้อมูลทปี่ รากฏอย่ใู นคียน์ อก จะต้องเปน็ ค่าของข้อมลู ที่ปรากฏอยใู่ นคียห์ ลกั มาก่อนแล้ว 2. ค่าของข้อมลู ในคียน์ อกสามารถซ้าได้ เปน็ ค่าว่างได้ 3. ช่อื ของคียน์ อกไมจ่ าเปน็ ต้องเป็นชื่อเดยี วกนั กับคียห์ ลกั ของอีกรเี ลชน่ั หน่งึ ที่มคี วามสัมพันธ์กนั 19.จงอธบิ ายหลกั การควบคุมให้เปน็ ไปตามกฎความคงสภาพของเอนติต้ี (Entity Integrity Rule) เปน็ การกาหนดใหใ้ หค้ า่ ของขอ้ มูลที่มอี ยูใ่ นคยี ห์ ลัก (Primary Key) จะต้องไมเ่ ปน็ คา่ วา่ ง (Null Value) หรอื การไมป่ ้อนคา่ ว่าง (Null Value) ลงในแอททรีบิวทท์ เ่ี ป็นคีย์หลัก (Primary Key) 20.จงอธิบายหลักการควบคุมให้เปน็ ไปตามกฎความคงสภาพของการอา้ งอิง (Referential Integrity Rule) การเพมิ่ ขอ้ มลู การเพ่ิมข้อมลู ลงในแอททรีบิวท์ทม่ี ีคณุ สมบตั ิเปน็ คยี น์ อก จะต้องทาการ ใส่คา่ ของที่ปรากฏอย่ใู นแอททรีบิวท์ท่เี ป็นคีย์หลกั มาก่อนแลว้ หรือมิฉะนน้ั จะทาการใส่คา่ วา่ ง (Null Value) ลง ในแอททรบี ิวท์ท่ีมคี ุณสมบตั เิ ป็นคยี ์นอกกไ็ ด้ การลบขอ้ มลู ของแอททรีบิวท์ที่มีความสัมพันธ์กันระหวา่ งคีย์หลัก (Primary Key) กบั คยี ์ นอก (Foreign Key) จะตอ้ งกระทาดังนี้ 1.) การกระทาแบบตอ่ เนื่อง (Cascades) หมายถึงใหท้ าการลบคา่ ของขอ้ มูลทเ่ี ปน็ คีย์หลักได้แตจ่ ะตอ้ งไปทาการลบคา่ ของขอ้ มูลท่มี ีอยู่ในคยี น์ อก ด้วย ทั้งน้หี ากต้องการทาแบบต่อเนอื่ งจะต้องทาการลบข้อมลู ท่คี ียน์ อกเสียกอ่ น จึงจะลบข้อมูลท่ีเป็นคีย์ หลักได้ 2.) การกระทาแบบมีขอ้ จากดั (Restricted) หมายถึงให้ทาการลบค่าของข้อมูลที่มีอยู่ในคยี ห์ ลกั ได้แต่คา่ ของข้อมูลทลี่ บจะตอ้ งไม่มีการอ้างอิงข้อมลู ในแอททรีบวิ ทใ์ ด ๆ ที่มคี ุณสมบตั เิ ป็นคยี ์นอกเลย 3.) การกระทาโดยใสค่ ่าวา่ ง (nullifies) หมายถึงให้ทาการลบค่าของข้อมูลที่มีอยู่ในแอททรีบิวท์ที่มีคุณสมบัติเป็นคีย์หลักได้ แต่จะต้องใส่ค่าว่าง (Null Value) ในแอททรีบิวท์ท่ีมีคุณสมบัติเป็นคีย์นอกด้วย ทั้งน้ีหากต้องการกระทาแบบใส่ค่าว่าง (Nullifies) จะต้องทาการใส่ค่าว่าง (Null Value) ลงในแอททรีบิวท์ท่ีมีคุณสมบัติเป็นคีย์นอกก่อน แลว้ จึงจะลบค่าของข้อมลู ในคยี ์หลกั ได้

การเปล่ยี นแปลงข้อมูลของแอททรีบิวท์ที่มคี วามสัมพันธ์กันระหวา่ งคยี ์หลกั (Primary Key) กับคีย์ นอก (Foreign Key) จะตอ้ งกระทาดังนี้ a. การกระทาแบบต่อเนอื่ ง (Cascades) หมายถึงให้ทาการเปล่ียนแปลงค่าของข้อมูลที่เป็นคีย์หลักได้แต่จะต้องไปทาการเปล่ียนแปลงค่าของ ข้อมูลท่ีมีอยู่ในคีย์นอกด้วย ท้ังนี้หากต้องการทาแบบต่อเน่ืองจะต้องทาการเปลี่ยนแปลงค่าของข้อมูลที่ คยี น์ อกเสียก่อน จงึ จะเปลยี่ นแปลงข้อมลู ทเี่ ปน็ คยี ห์ ลกั ได้ b. การกระทาแบบมีขอ้ จากัด (Restricted) หมายถึงให้ทาการเปล่ียนแปลงค่าของข้อมูลที่มีอยู่ในคีย์หลักได้ แต่ค่าของข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงจะต้อง ไม่มีการอ้างองิ ข้อมูลในแอททรีบิวทใ์ ด ๆ ท่ีมีคุณสมบตั ิเปน็ คยี ์นอกเลย c. การกระทาโดยใสค่ ่าว่าง (nullifies) หมายถึงให้ทาการเปลี่ยนแปลงค่าของข้อมูลที่มีอยู่ในแอททรีบิวท์ที่มีคุณสมบัติเป็นคีย์ หลักได้ แต่จะต้องใส่ค่าว่าง (Null Value) ในแอททรีบิวท์ท่ีมีคุณสมบัติเป็นคีย์นอกด้วย ท้ังนี้หาก ต้องการกระทาแบบใส่ค่าว่าง (Nullifies) จะต้องทาการใส่ค่าว่าง (Null Value) ลงในแอททรีบิวท์ท่ีมี คณุ สมบัติเปน็ คีย์นอกก่อน แล้วจึงจะเปลยี่ นแปลงค่าของขอ้ มลู ในคียห์ ลกั ได้ 21.ข้นั ตอนในการพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลขน้ั ตอนใดสาคญั ท่ีสดุ เพราะอะไร ขัน้ ตอนแรก ซึง่ เปน็ ขนั้ ตอนการศึกษาและวิเคราะห์ระบบเปน็ สาคญั หากขนั้ ตอน แรก ผพู้ ฒั นาระบบทาการผดิ พลาดในขัน้ ตอนตอ่ ๆ ไป กจ็ ะผิดพลาดตามไปดว้ ย 22.จงอธิบายการศึกษาความเป็นไปไดท้ างเศรษฐศาสตรว์ า่ มีลกั ษณะอยา่ งไร การศึกษาความเปน็ ไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์เรียกอกี อยา่ งว่า การวเิ คราะห์ต้นทนุ และ ผลตอบแทน (Cost – Benefits Analysis) เป็การศึกษาถึงผลตอบแทนทาง การเงินและต้นทุนท่ี เกิดข้ึนจากการพัฒนาระบบ 23.จงอธิบายการออกแบบฐานขอ้ มูลในระดับความคดิ ระดบั นเี้ ป็นการกาหนดโครงสรา้ งหลกั ๆ ของข้อมูลภายในฐานข้อมูล โดยยงั ไม่ คานึงถึงรูปแบบของฐานข้อมูลวา่ จะเป็นรปู แบบใด (แบบลาดบั ข้นั แบบเครือขา่ ย หรือแบบเชิง สมั พันธ)์ ในการกาหนดโครงสร้างของข้อมูลภายในฐานขอ้ มูลนี้ อาจจะนาเสนอเปน็ ภาพรวมในรูปของแบบจาลองความสมั พันธร์ ะหวา่ งข้อมลู (E-R Model) ที่แสดงถงึ เอนตติ ้ีและความสัมพันธ์ระหว่างเอนตติ ข้ี องฐานข้อมูลทั้งระบบผลลพั ธ์ทไี่ ด้ ใน การออกแบบระดับนเี้ รียกวา่ “Conceptual Schema” 24.จงอธิบายการออกแบบฐานขอ้ มูลในระดบั ตรรกะ ระดบั นเี้ ป็นการนาเอาโครงสร้างหลัก ๆ ท่ีไดอ้ อกแบบในระดบั ความ คิดมาปรับปรุงให้มีโครงสรา้ งขอ้ มูลที่สามารถนามาใชง้ านได้จริง โดยยังไม่คานึงถึงซอฟตแ์ วรท์ ี่จะนามาใช้ พัฒนาสรา้ งระบบฐานข้อมูลนี้ ในระดบั น้ีจึงมีการตรวจสอบความถูกตอ้ งของโครงสร้างท่อี อกแบบขึ้นกับส่วน ประมวลผลแบบต่าง ๆ ที่ออกแบบไว้ เชน่ ถา้ ตอ้ งการนาโครงสรา้ งในระดับความคิด มาปรับปรุงให้อยู่ใน รูปแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ก็จะตอ้ งนาแบบจาลองความสัมพันธ์ระหวา่ งขอ้ มูลมาแปลงให้อยู่ในรูปแบบ ฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพนั ธ์เป็นต้น หรือไม่ตอ้ งทาการออกแบบในระดบั ความคดิ แตม่ าทาการออกแบบในระดับ ตรรกะ ดว้ ยวธิ ีการนอรม์ ลั ไลซ์ เลยกไ็ ด้ ผลลัพธท์ ่ไี ด้จากการออกแบบระดับนเี้ รยี กวา่ “Logical Schema”

25.จงอธิบายขัน้ ตอนการ Implementation วา่ มีลกั ษณะอยา่ งไร เป็นขั้นตอนที่นาเอาโครงสรา้ งของฐานข้อมลู ทไี่ ด้ออกแบบไวใ้ นขนั้ ตอนการออกแบบมาทาการ สรา้ งเปน็ ฐานขอ้ มลู ท่จี ะใช้เก็บข้อมลู จริง โดยจะทาการออกแบบโปรแกรมวา่ ระบบจะตอ้ งประกอบไปดว้ ยส่วน ใดบ้าง รปู แบบหน้าจอการนาขอ้ มูลเขา้ (User Interface) และรายงานจะต้องกาหนดรูปแบบโปรแกรมอยา่ งไร และต้องทาการกาหนดกฎระเบียนเพือ่ ใหร้ ะบบฐานขอ้ มูลมคี วามคงสภาพของข้อมลู เป็นตน้ รวมทั้งทาการ แปลงข้อมลู ของระบบงานเดมิ ทใี่ ชร้ ะบบคอมพิวเตอรใ์ นการประมวลผลใหส้ ามารถนามาใชง้ านในระบบ ฐานขอ้ มูลที่พัฒนาขึ้นใหมไ่ ด้ 26.จงอธบิ ายความหมายและประเภทของเอนตติ ้ี (Entity) เอนติตี้ หมายถึงสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีสามารถระบุได้ในความเป็นจริง เม่อื มกี ารออกแบบระบบ ฐานขอ้ มลู ขึ้น ซงึ่ อาจจะอยูใ่ นรปู ของรปู ธรรมคอื มองเหน็ ได้ จบั ตอ้ งได้ หรืออยู่ในลกั ษณะนาม (Noun) สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื  เอนตติ ป้ี กติ (Regular Entity)  เอนตติ ี้แบบอ่อน (Weak Entity) 27.จงอธบิ ายสาเหตุของการเกดิ เอนติตแ้ี บบออ่ น (Weak Entity) เอนติตีแ้ บบออ่ น หมายถึงเอนตติ ้ที ีป่ ระกอบด้วยสมาชิกทีม่ ีคุณสมบตั ิบ่งบอกถึงเอกลักษณข์ องแต่ละ สมาชิกได้นนั้ จะตอ้ งอาศยั คุณสมบตั ใิ ดคุณสมบตั หิ น่งึ ของเอนตติ ้ีปกติ (Regular Entity) มาประกอบกับ คณุ สมบตั ิของตัวมันเอง 28.จงอธิบายความหมายและประเภทของแอททรีบวิ ท์ (Attribute) สิง่ ท่ีอธิบายคุณลักษณะของเอนติตห้ี นึ่ง ๆ 29.จงอธิบายความหมายและประเภทของความสัมพนั ธ์ (Relationship) นาเอาขอ้ มูลในเอนติต้ีหนึง่ เชื่อมโยงกับข้อมลู ในอีกเอนตติ ห้ี นึง่ 30.จงอธิบายข้ันตอนการสร้างแผนภาพความสมั พันธร์ ะหวา่ งขอ้ มูล 1.) การวิเคราะหห์ าเอนติตแ้ี ละแอททรีบวิ ท์ เปน็ ขั้นตอนที่ผู้ออกแบบระบบทาการศกึ ษา ระบบงานปัจจุบนั และระบบงานใหม่ทีต่ ้องการพัฒนาวา่ มีขั้นตอนอะไรบา้ ง และจดั เก็บ ขอ้ มูลอะไรบา้ ง ข้อมูลทีจ่ ัดเก็บจะจดั เกบ็ เป็นเร่ืองในแตล่ ะเรื่องประกอบด้วยหลายหวั ขอ้ หนึ่งหวั ขอ้ เปรียบเทียบได้กบั หน่งึ เอนติตี้ ในแต่ละหวั ข้อจะมีรายละเอียดเพ่ืออธิบาย หวั ข้อเรื่อง รายละเอียดเปรียบเทียบไดก้ ับเปน็ แอททรบี ิวท์ 2.) การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างเอนตติ ้ี เป็นการนาเอาเอนติตท้ี ี่เกิดขึ้นใน ฐานข้อมูลหรือจากการวิเคราะหไ์ ดใ้ นข้ันตอนแรกมาเช่ือมโยงใหเ้ กิดความสัมพันธข์ ้นึ ระหวา่ งเอนติต้ี ขนึ้ อยู่แตล่ ะคขู่ องเอนติต้ีวา่ จะมีความสัมพนั ธ์เป็นอะไร และเปน็ แบบใด 3.) การเขยี นเป็นแผนภาพความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งข้อมูล เปน็ ขั้นตอนท่ีนาเอาความสัมพันธ์ ระหว่างเอนติตี้แตล่ ะคู่ มาเขียนเปน็ ภาพรวมท่ีเรยี กว่า แผนภาพความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ข้อมูล (E – R Diagram) 31.การรักษาความปลอดภยั ของฐานข้อมูล ควรคานึงถงึ อะไรบ้าง จงอธบิ าย 1.) นโยบายขององค์การ 2.) สถานภาพของระบบการรกั ษาความปลอดภยั 32.จงอธิบายวิธีการควบคมุ การใช้งานฐานข้อมลู โดยการควบคุมทางกายภาพ

การควบคุมทางกายภาพ เป็นการควบคุมในส่วนภายนอกระบบฐานข้อมูล การ ควบคมุ ในสว่ นน้ีเปน็ การควบคุมและป้องกันความเสียหาย โดยทั่วไป เช่น - การป้องกนั ภัยจากนา้ ทว่ ม ไฟไหม้ และภยั จากระบบไฟฟา้ เสยี หาย - การลอ็ กห้องเครอื่ งคอมพวิ เตอรอ์ ย่างหนาแนน่ เม่ือไม่มกี ารใช้งาน - การใชย้ ามเฝ้าห้องเครื่องคอมพิวเตอร์ - การใช้ระบบสารองข้อมูล (Back up disk) สาหรับการสารองข้อมูลอย่างสม่าเสมอ เพื่อใช้ในกรณีท่ีระบบเกิดความเสียหายไม่สามารถเรียกข้อมูลคืนได้ และมีการ ตรวจสอบกระบวนการสารองข้อมูลอย่างสม่าเสมอ เพื่อดูว่ากระบวนการนั้นได้ทา การสารองข้อมลู ไวอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและครบถ้วน - เกบ็ ขอ้ มูลทท่ี าการสารองไว้ในสถานทตี่ า่ งหาก - การวางแผนลว่ งหน้าในกรณีฉกุ เฉิน (Contingency plan) - มีกระบวนการทาลายข้อมูลหรือลบข้อมูลท่ีไม่ใช้แล้วอย่างปลอดภัย และไร้ร่องรอย ซ่ึงอาจทาได้โดยการลบหลาย ๆ คร้ังหรือใช้เทคนิคอย่างอื่นเข้าช่วย ไม่ใช่เพียงแต่ เขียนข้อมูลใหม่ทับซ้าลงไปเท่าน้ัน เน่ืองจากการกระทาเช่นน้ีไม่สามารถทาลาย ข้อมูลเก่าให้หมดไปได้ เพราะอาจมีการใช้เทคนิคต่าง ๆ มาทาการอ่านข้อมูลเก่าที่ ถกู ทบั ไวไ้ ด้ - ส่ือทใ่ี ช้ในการจดั เก็บข้อมลู เมือ่ ต้องการจะท้ิงหรือไมต่ ้องการใช้งานแล้ว ต้องมีวิธีการ ทาลายที่เหมาะสม - มีโปรแกรมท่ีสามารถทาการสารองข้อมูลได้โดยอตั โนมัตแิ ละสมา่ เสมอ โดยไมต่ ้องใช้ ผู้ดูแลระบบมาทาการสารองข้อมลู ดว้ ยตนเอง เพราะทาให้เกดิ ความไม่สมา่ เสมอ 33.จงอธบิ ายวธิ ีการควบคมุ การใช้งานฐานขอ้ มลู โดยการควบคมุ การเขา้ ถึงข้อมูล การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล ควรมีการควบคุมความปลอดภัยในการเข้าถึงระบบ ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และส่วนอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การทางาน โ ด ย มี ก า ร ค ว บ คุ ม ดังนี้ - ควบคุมความปลอดภัยโดยระบบปฏิบัติการ(Operating system controls) หรือ ระบบการจัดการฐานข้อมูล ควรมีการควบคุมสิทธิการเข้าถึงและการใช้ข้อมูลใน ส่วนต่างๆ มีระบบบันทึกเหตุการณ์ต่างๆในระบบ(Security log)ไว้โดยอัตโนมัติ เพอ่ื ใช้เป็นหลกั ฐานการตรวจสอบ (Audit trail) - ควบคุมความปลอดภัยในการเข้าถงึ ระบบฮาร์ดแวร์ โดยใช้ เทคโนโลยีของฮารด์ แวร์ ที่ได้มีการออกแบบสถาปัตยกรรมขั้นพ้ืนฐานในการรักษาความปลอดภัยท่ีสามารถ ควบคุมการเข้าถึงระบบได้อย่างดี เช่น การใช้สมาร์ตการ์ดในการควบคุมการใช้งาน การใช้วงจรเฉพาะกิจเช่ือมต่อกบั หนว่ ยความจา เพอ่ื ตรวจสอบ ป้องกนั และจากัด เวลาในการใช้ เปน็ ตน้ - ผู้ใช้แต่ละคนจะต้องมีชื่อผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน (Password) ท่ีแตกต่าง กนั ออกไปในแต่ละคน

- ควบคุมการเข้าถึงข้อมูลโดยการกาหนดระดับสิทธิในการกระทาต่อส่วนต่างๆ ของ ระบบ และมีการกาหนดกลุ่มผู้ใช้ต่างๆ เช่น ผู้ใช้กลุ่มใดมีสิทธิในการใช้ระบบ แฟ้มข้อมูล (File system) - ควบคุมความปลอดภัยในการเข้าถึงระบบเครือข่าย ส่ิงที่ต้องคานึงถึง คือการ ควบคุมการอนุญาตให้เข้ามาในระบบ (Access Control) การตรวจสอบความ ถูกต้องระบบคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย (Authentication in Distributed System) การรักษาความถูกต้องของข้อมูลท่ีส่งผ่านระบบเครือข่าย (Data Integrity) และการใช้ตัวป้องกันการบุกรุกหรือกาแพงไพ (Firewall)ในการักษา ความปลอดภัยของระบบเครอื ขา่ ย - การรักษาความถูกต้องของข้อมูลที่ส่งผ่านระบบเครอื ขา่ ย (Data Integrity) โดยการ นาวิธีการติดต่อส่ือสารทีมีข้ันตอนและรูปแบบที่แน่นอนระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ ภายในเครือข่าย เช่น การใช้โพรโตคอล (Protocol) มาตรฐาน การใช้ลายเซ็น อเิ ลก็ ทรอนิกส์(Digital Signature) 34.จงอธิบายโครงสรา้ งของวิว วิว หมายถงึ ตารางเสมือนซึ่งเป็นตารางทม่ี รี ายละเอียดหรอื ได้รายละเอียดมาจาก ตารางหลัก ววิ ถกู สร้างขน้ึ จากฐานข้อมูล โดยววิ ที่สร้างขนึ้ น้จี ะสอดคล้องกับการ ใช้งานของ ผูใ้ ชแ้ ละยงั เปน็ การป้องกันข้อมลู ทแี่ ทจ้ รงิ ภายในฐานขอ้ มูล 35.จงอธิบายหลักการทางานของวิว หลกั การทางานของวิว เม่ือมีการเรียกใช้ววิ ระบบจดั การฐานขอ้ มูลจะทา หน้าท่โี ดยเรมิ่ คน้ หาขอ้ กาหนดของววิ ในคาสงั่ SQL ที่เก็บไวใ้ นฐานขอ้ มลู แล้วแปลคาสง่ั ของ วิวเพื่อไปนาข้อมูลมาจากตารางข้อมูลจรงิ ทาใหว้ ิวรกั ษาความถูกตอ้ งของโครงสร้างข้อมลู (Integrity) ไว้ได้ 36.จงอธิบายลักษณะของฐานข้อมูลแบบกระจาย  ความเป็นอิสระของการกระจายของข้อมูล (Distributed Data Independent) นั่นคือผู้ใช้ สามารถที่จะสอบถามข้อมูลได้โดยไม่ต้องระบุว่า รีเลช่ัน หรือสาเนาของรีเลช่ัน หรือส่วนของ รีเลชั่น อยู่ท่ีไหน ซ่ึงเป็นลักษณะของความเป็นอิสระทางกายภาพของข้อมูล และความเป็นอิสระ ทางตรรกะของข้อมูล อย่างหนึ่ง และในการสอบถามข้อมูลก็จะมีการพจิ ารณาถึงค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ เพ่อื ประสิทธภิ าพในการสบื ค้นขอ้ มูล  ความถูกต้องในการประมวลผลทรานแซกชันแบบกระจาย (Distributed Transaction Atomicity) นน่ั คือผู้ใช้สามารถสร้างทรานแซกชันท่ีสามารถเขา้ ถึงข้อมูลและปรับปรุงขอ้ มูลท่ีอยู่ ที่ไซตอ์ ื่น ๆ ได้ โดยการสร้างทรานแซกชันทไ่ี ซต์ของตนเองเท่าน้ัน โดยเฉพาะการทาทรานแซกชัน ที่มกี ารเขา้ ถึงข้อมูลจากหลาย ๆ ไซต์ ทรานแซกชันนัน้ จะต้องมคี ุณสมบัติ ACID ดว้ ย 37.จงอธิบายข้อดีของระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย  การกระจายข้อมูลตามลักษณ ะระบบงาน (Distributed nature of some database applications) ระบบงานทางด้านฐานข้อมูลบางระบบงานเป็นลักษณะท่ีข้อมูลมีการกระจายอยู่ ในหลายๆ ที่ เช่นบริษทั ท่มี ีหลาย ๆ สาขา หรอื ธนาคารทมี่ ีหลาย ๆ สาขาเป็นต้น ซ่งึ โดยธรรมชาติ ของขอ้ มูลทีใ่ ชใ้ นระบบงานดังกลา่ ว จะการกระจายอยใู่ นสาขาต่าง ๆ

 เพ่ิมความน่าเช่ือถือ (Increased reliability and availability) ในระบบฐานข้อมูล โดยมีการ จัดเก็บข้อมูลไว้ในหลาย ๆ ไซต์ นนั่ คือเมื่อมีไซต์ใดไซต์หน่ึงเกิดความล้มเหลวขึ้นทาให้ไม่สามารถ เข้าถึงข้อมูลในไซต์นั้นได้ ระบบก็สามารถท่ีจะไปหาข้อมูลจากไซต์อื่นได้ ซึ่งแตกต่างจากระบบ แบบรวมศูนย์ ถ้าไซตเ์ กิดลม้ เหลว จะทาใหไ้ ม่สามารถใช้งานได้เลย  การยอมให้มีการใช้ขอมูลร่วมกันได้ (Allowing data sharing while maintaining some measure of local control) นั่นคือในแต่ละไซต์สามารถที่จะยอมให้ผู้ใช้จากไซต์อ่ืนสามารถ เขา้ ถึงขอ้ มลู ในขณะทไี่ ซตก์ าลังจัดการกบั ขอ้ มูลและโปรแกรม  ปรับปรุงการทางาน (Improved performance) กรณีท่ีมีข้อมูลมีจานวนมาก และได้มีการ กระจายข้อมูลไว้ในไซต์ต่าง ๆ ในการสืบค้นข้อมูลหรือการทาทรานแซกชันของแต่ละไซต์ จะ สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งในการทาทรานแซกชันยังสามารถทาพร้อม ๆ กันได้มากกว่า หนึ่งไซต์ ทาให้การประมวลผลเป็นการประมวลผลแบบขนาน ซึ่งจะช่วยลดเวลาในการ ประมวลผลลงไปได้ 38.จงอธบิ ายหนา้ ทขี่ องระบบการจดั การฐานข้อมูลแบบกระจาย  สามารถตดิ ตอ่ ไปยังไซตอ์ ่ืนๆ และส่งแบบสอบถามและขอ้ มูลผา่ นทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้  สามารถเก็บข้อมูลของข้อมูลที่มีการกระจาย และข้อมูลท่ีมีการทาสาเนา ไว้ในแค็ตตาล็อก ของ DDBMS ได้  สามารถวางแผนวธิ กี ารสบื คน้ ขอ้ มลู และการทาทรานแซกชนั ท่มี ีการใช้ข้อมลู มากกว่า 1 ไซต์  สามารถตดั สินใจได้วา่ จะเขา้ ถึงข้อมูลทไี่ ดม้ ีการสาเนาไว้จากไซต์ใด  สามารถจดั การความสอดคลอ้ งของข้อมูลทไ่ี ดม้ กี ารทาสาเนาไว้  สามารถท่ีจะกคู้ นื ข้อมลู จากไซต์ทล่ี ้มเหลวได้ 39.จงอธิบายการควบคุมสภาวะการทางานพรอ้ มกันและการฟื้นสภาพขอ้ มูล วิธี Coordinator Selection ในกรณที ตี่ วั ประสานงานทรานแซกชันล้มเหลว ระบบสามารถทางานตอ่ ไปได้ โดยการ กาหนดตวั ประสานงานทรานแซกชันข้ึนมาใหมโ่ ดยการสรา้ งตัวประสานงานทรานแซกชนั สารอง (backup coordinator) ซึง่ พรอ้ มทจี่ ะทาหนา้ ทเี่ ปน็ ตวั ประสานงาน ทราน แซกชนั ทันทที่ ่ีตัวประสานงานทรานแซก ชันล้มเหลว หรือจะเปน็ วธิ กี ารเลือกตัว ประสานงานทรานแซกชันใหม่หลงั จากท่ีตัวประสานงานทรานแซก ชนั ล้มเหลว 40.จงอธบิ ายการควบคมุ สภาวะการทางานพร้อมกันและการฟ้ืนสภาพข้อมูล วิธี System Structure ในแต่ละไซต์จะมีตัวจัดการทรานแซกชัน (local transaction manager) เป็นของตนเอง ซึ่งทา หน้าที่ควบคุมให้การทาทรานแซกชันให้มีคุณสมบัติ ACID โดยท่ีตัวจัดการทรานแซกชันแต่ละตัวก็จะ ร่วมกันในการทา global transaction เพื่อความเข้าใจมากย่ิงขึ้น เราจะกาหนดโมเดลของระบบทราน แซกชัน โดยในแต่ละไซต์ประกอบไปด้วยระบบย่อยสองระบบคือ ตัวจัดการทรานแซกชัน และตัว ประสานงานทรานแซกชัน

41.จงอธิบายวัตถุประสงค์ของระบบคลังข้อมลู  คลังข้อมูลทาให้สามารถเข้าถึงข้อมูลขององค์กรได้ ผู้จัดการและนักวิเคราะห์ขององค์กรสามารถ เช่ือมต่อเข้าไปยังคลังข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนได้ ซึ่งการเชื่อมต่อสามารถทาได้ทันที ตามความต้องการและด้วยประสิทธิภาพสูง เครื่องมือที่มีให้กับผู้จัดการและนักวิเคราะห์ใช้งาน ง่าย สามารถออกรายงานไดด้ ้วยการคลิกปุ่มเดียว  ข้อมูลในคลังข้อมูลมีความถูกต้องตรงกันหมด คาถามเดียวกันต้องได้รับคาตอบท่ีเหมือนกันเสมอ ไมว่ ่าผูถ้ ามจะเปน็ ใคร ถามเวลาใด  ข้อมูลในคลังข้อมูลสามารถถูกวิเคราะห์จากหัวข้อในธุรกิจประเภทนั้น โดยแบ่งข้อมูลหรือรวม ข้อมลู มาวเิ คราะหต์ ามความต้องการ  คลังข้อมูลเป็นส่วนท่ีผลิตข้อมูลจาก OLTP ข้อมูลไม่เพียงแต่ถูกรวบรวมมาไว้ท่ีศูนย์กลางอย่าง เดียว แต่จะถูกรวบรวมอย่างระมัดระวังจากแหล่งข้อมูลหลายๆ แห่งนอกองค์กรด้วย แล้วมา ปรับปรุงใหเ้ หมาะสมกับการใชง้ านเท่านั้น ถ้าข้อมูลเชอ่ื ถือไม่ได้หรือไม่สมบูรณจ์ ะไม่ถกู อนุญาตให้ นาไปใช้  คณุ ภาพของขอ้ มูลในคลงั ขอ้ มลู เปน็ ตวั ผลกั ดนั ให้สามารถทาการ Reengineering ธรุ กิจได้ 42.จงอธิบายความสัมพันธ์ของระบบคลังขอ้ มลู กับระบบฐานข้อมลู ระบบคลังขอ้ มูลคือระบบฐานขอ้ มลู ทมี่ ีคุณสมบัตดิ ังนี้ คือ  Subject Oriented ข้อมูลจะต้องถูกสร้างข้ึนจากหัวข้อ (subject) ธุรกิจที่สนใจ เช่น ถ้า บริษัทประกันภัยต้องการใช้คลังข้อมูล ฐานข้อมูลท่ีได้จะต้องสร้างข้ึนจากประวัติลูกค้า, เบ้ีย ประกัน และการเรยี กร้องแทนทีจ่ ะแยกตามชนิดของผลติ ภณั ฑ์ หรือบริการประกันภัย/ประกัน ชวี ิต ขอ้ มูลท่สี ร้างขึน้ จะประกอบด้วยหวั ขอ้ ที่เก็บเฉพาะข่าวสารทีจ่ าเปน็ สาหรบั กระบวนการ ตัดสินเทา่ นน้ั  Integrated ข้อมูลถูกรวบรวมจากแหล่างต่าง ๆ จากระบบปฏิบัติการ, รูปแบบของข้อมูล, แพลตฟอร์มที่หลากหลาย สร้างข้ึนเป็นฐานข้อมูลที่สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียว เช่นค่าของตัว แปรตัวเดียวในแต่ละฐานข้อมูลอาจต่างกัน ฐานข้อมูลหน่ึงอาจใช้ 0 และ 1 อีกฐานข้อมูล หนึ่งอาจใช้ T และ F ดังนั้นฐานข้อมูลที่สร้างใหม่จะต้องได้รับการกาหนดค่าตัวแปรให้ เหมือนกนั เป็นหนง่ึ เดยี ว  Time-variant ข้อมูลซึ่งใช้ตัดสินใจที่เก็บไว้จะต้องมีอายุประมาณ 5 ถึง 10 ปี เพ่ือใช้ เปรียบเทียบ หาแนวโน้ม และทานายผลลัพธใ์ นอนาคตได้  Non-volatile ข้อมูลจะไม่อัพเดตหรือถูกทาให้เปล่ียนแปลงง่ายๆ ผู้ใช้สามารถใช้ฐานข้อมูล คลังข้อมลู ได้ในลกั ษณะการเรียกใชง้ านเท่าน้นั

43.จงอธิบายองคป์ ระกอบของคลังข้อมูล องค์ประกอบของคลังข้อมูล · เครอ่ื งมือสกดั แยกข้อมลู · ข้อมลู ท่สี กดั และแยกออกมาแลว้ · เมตาเดตาสาหรับบรรยายเน้ือหาข้อมูล · ฐานขอ้ มลู สาหรับคลังข้อมลู · เครื่องมือจดั การขอ้ มูลในคลังข้อมูล · โปรแกรมสาหรบั จัดสง่ ข้อมูล · เครอื่ งมือวเิ คราะหส์ าหรบั ผู้ใช้ · วสั ดุและหลกั สูตรการฝึกอบรม · ทีป่ รกึ ษาด้านคลังข้อมูล 44.จงอธบิ ายกระบวนการรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะหห์ ารูปแบบข้อมูลในคลังข้อมูลในข้ันตอนเลือก grain ของ business process ข้อมูลที่เป็นข้อมูลพ้ืนฐานท่ีเก็บอยู่ใน fact table เรียกว่า grain ใน business process น้ีมี grain ท่ีมีอยู่ท่ัวไป เช่น ข้อมูลของการทา transaction ในแต่ละครั้ง (individual transaction), ข้อมูลของการทางานในแต่ละวัน, สรุปในแต่ละวัน (individual daily snapshots), ข้อมูลจากการสรปุ การทางานในแตล่ ะเดอื น (individual monthly snapshots) 45.จงอธิบายกระบวนการรวบรวมข้อมูลและวเิ คราะห์หารูปแบบข้อมูลในคลังข้อมูลในข้ันตอนเลือก measured fact เลือก measured fact (ข้อมูลที่มีการวัด, การประมวลผล หรือการคานวณไว้ แล้ว) ทจ่ี ะเกบ็ อยู่ในแต่ละเรคอรด์ ของ fact table ปรมิ าณต่างๆหรือ measured fact ท่เี พม่ิ เข้า ไปซ่ึงจะมีลักษณะเป็นตวั เลข ได้แก่ ปริมาณท่ขี ายได้ (quality sold) และ จานวนเงินท่ีได้รับจาก การขาย (dollars sold)