กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

Home - เนื้อหาฟิสิกส์ (Physics Story) - เนื้อหาแม่เหล็กไฟฟ้า - กฎของโอห์ม (Ohm’s Law)

            ในปี พ.ศ. 2307 จอร์จ โอห์ม นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ตีพิมพ์ผลงานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า กับความต่างศักย์ไฟฟ้าในตัวนำที่มีอุณหภูมิคงที่พบว่า กระแสไฟฟ้าจะมีขนาดแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าในตัวนำนั้น ดังสมการแปรผัน

          เมื่อนำค่าที่ได้จากการทดลองมาพล็อตกราฟพบว่า ความชันที่ได้จะมีค่าคงที่ (k) และถูกกำหนดให้เป็นความต้านทานทางไฟฟ้า (R) ดังสมการ

          โดยที่ V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า ในหน่วย โวลต์ (volt)

                     I คือ กระแสไฟฟ้า ในหน่วย แอมแปร์ (A)

                     R คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า ในหน่วย โอห์ม ()

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด
อัตราส่วนความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำโลหะใดๆ ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ จะมีค่าคงที่เสมอ ซึ่งก็คือค่าความต้านทานไฟฟ้า R Author: Einstein@min via thaiphysicsteacher.com

Previous Page : กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ

Next Page: สภาพต้านทานไฟฟ้า

            สภาพต้านทานเป็นสมบัติเฉพาะของสารหนึ่งๆ  ส่วนความต้านทาน  เป็นสมบัติของสารแต่ละชิ้น   สารใดมีความต้านทานมาก แสดงว่ามีกระแสไฟฟ้าผ่านน้อยหรือกล่าวว่ามีความนำไฟฟ้า (electrical conductance) น้อย ความนำไฟฟ้า    เป็นสมบัติทางไฟฟ้าที่ตรงข้ามกับความต้านทานไฟฟ้าของสาร   หรือกล่าวได้ว่า   ความนำไฟฟ้าเป็นส่วนกลับของความต้านทาน  สัญลักษณ์  ความนำไฟฟ้า  แทนด้วย  "G“

  จะได้ว่า…….  

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด
 มีหน่วยเป็น  โอห์ม –1  หรือ  ซีเมนส์  (S)

        สำหรับสารที่มีสภาพต้านทานมาก   จะมีสภาพนำไฟฟ้า  (electrical  conductivity) น้อย  สภาพนำไฟฟ้า

จึงเป็นส่วนกลับของสภาพต้านทาน  สัญลักษณ์  สภาพนำไฟฟ้า  แทนด้วย   s

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

     การคำนวณหาความต้านทานเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง

        ถ้ากำหนดให้ …

                                                                        R0    = ความต้านทานของโลหะตัวนำที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส

                                                                        Rt     = ความต้านทานของโลหะตัวนำที่อุณหภูมิ t องศาเซลเซียส

                                                                        t        = อุณหภูมิของโลหะตัวนำในหน่วยองศาเซลเซียส

                                    a  = สัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทานเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป  1  องศาเซลเซียส มีหน่วยเป็น (0C)-1

        จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้ …

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

            ไดโอด

                   ไดโอด   เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั่วๆ ไป ที่จำกัดทิศทางการไหลของประจุไฟฟ้ามันจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลในทิศทางเดียว  และกั้นการไหลในทิศทางตรงกันข้าม    เช่น ใช้เป็นอุปกรณ์กรองแรงดันไฟฟ้าในวงจรภาคจ่ายไฟ  เป็นต้น

                    ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode ; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด และ แคโทด (Cathode; K)  ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด n

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

                ชนิดของสารกึ่งตัวนำ  เนื่องจากสารกึ่งตัวนำที่บริสุทธิ์  จะมีอิเล็กตรอนอิสระน้อย กระแสไฟฟ้าที่ผ่านจึงมีน้อยถ้าต้องการให้มีกระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวนมาก   ต้องทำการเจือปนอะตอมของธาตุอื่นลงไปในสารเหล่านั้น   เรียกว่า สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ นอกจากนี้ยังมีสารกึ่งตัวนำแบบสารประกอบ
                
สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์  แบ่งออกเป็น  2  ประเภท
                  1.  สารกึ่งตัวนำประเภท  N - type    เป็นสารกึ่งตัวนำ     ที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของสารหนูทำให้มีอิเล็กตรอนอิสระขึ้นมาหนึ่งตัวซึ่งสามารถเคลื่อนที่ในผลึกจึงยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลได้

                 2.  สารกึ่งตัวนำประเภท  P - type     เป็นสารกึ่งตัวนำ   ที่เกิดจากการจับตัวของอะตอมซิลิกอนกับอะตอมของ
อะลูมิเนียม
  ทำให้เกิดที่ว่างเรียกว่า  Hole  ขึ้น  อิเล็กตรอนที่อยู่ข้าง  Hole จะเคลื่อนที่ไปอยู่ใน  Hole ทำให้ดูคล้ายว่า  Hole  เคลื่อนที่ได้ในทิศทางตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน  จึงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าได้

     แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า

   วงจรไฟฟ้า

                        วงจรไฟฟ้า ประกอบด้วย ความต้านทานหลายตัวต่อเข้าด้วยกันแบบต่างๆ เซลล์ไฟฟ้าหลายๆ เซลล์ต่อเข้าด้วยกัน  มีการใช้แอมมิเตอร์    โวลต์มิเตอร์วัดในจุดต่างๆ     ซึ่งเมื่อต่อตัวนำหรือตัวต้านทานเข้ากับแหล่งกำเนิดไฟฟ้าจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวต้านทานและแหล่งกำเนิดไฟฟ้านั้น      กระแสไฟฟ้าที่เกิดก็เนื่องจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า โดยประจุไฟฟ้าได้รับพลังงานจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า

    แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive  force ; e.m.f.)        

              แรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือ electromotive force (emf ; E) ของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าใดๆ นิยามว่า  เป็นพลังงานที่แหล่งกำเนิดนั้นจะสามารถให้ได้ต่อหน่วยประจุไฟฟ้า ตัวอย่างเช่นถ่านไฟฉายก้อนหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 1.5 โวลต์ (V) หรือจูลต่อคูลอมบ์ (J/C) หมายความว่า  ให้พลังงานได้  1.5  จูลต่อประจุไฟฟ้าทุกๆ  1  คูลอมบ์    ที่เคลื่อนที่ระหว่างขั้วไฟฟ้า

             

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

จากรูป  

                                                                                                สัญลักษณ์ 

กฎ ของ โอห์ม เป็นการ กล่าว ถึง ความ สัมพันธ์ ของ ปริมาณ ทาง ไฟฟ้า ตาม ข้อ ใด

             หมายถึง  เซลล์ไฟฟ้า นำโวลต์มิเตอร์ (เครื่องมือวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า) V  มาวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วของถ่านไฟฉาย   ปรากฏว่า   วัดได้ค่า  V1   ตามความหมายของแรงเคลื่อนไฟฟ้า 

                  จะได้ ...

                                                                  V1          =          E           =            1.5          โวลต์


                    ถ้าวงจรเปลี่ยนไปเป็นรูป (ข)   โวลต์มิเตอร์อ่านได้  V2    ตอนนี้   V2    จะเป็นความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมความต้านทาน R    และเป็นความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วของเซลล์ไฟฟ้า   เมื่อมีความต้านทาน  R  ต่อรวมอยู่  พบว่า V2  น้อยกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้า E  อธิบายได้ว่า  เพราะเซลล์ไฟฟ้ามีความต้านทานภายใน  r  ทำให้พลังงานไฟฟ้าบางส่วนสูญเสียไป   โดยการอาศัยกฎของโอห์ม   และความหมายของแรงเคลื่อนไฟฟ้า  และความต่างศักย์ไฟฟ้า 

              จะได้ ...

                                                                      E          =          IR  +  Ir

               หรือ...

                                    I     =     E/R+r

มื่อ ...   I   เป็นกระแสไฟฟ้า

สรุปนิยาม

            แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive   force “e.m.f.”) หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่แหล่งกำเนิด (เซลล์ไฟฟ้า) ใช้ในการเคลื่อนประจุ +1 คูลอมบ์  ครบวงจรพอดี  จากขั้วบวกไปยังขั้วลบผ่านตัวต้านทาน (R)  ภายนอกเซลล์และจากขั้วลบไปยังขั้วบวก  ผ่านเซลล์ไฟฟ้าภายใน  มีหน่วยเป็น  จูลต่อคูลอมบ์ หรือ โวลต์

            ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายนอกเซลล์  (VR)  หมายถึง พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ +1 คูลอมบ์  จากขั้วบวกไปยังขั้วลบของเซลล์  โดยผ่านตัวต้านทานภายนอกเซลล์ (R)  มีหน่วยเป็น  จูลต่อคูลอมบ์  หรือ  โวลต์

          ความต่างศักย์ไฟฟ้าภายในเซลล์  (Vr)    หมายถึง  พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในการเคลื่อนประจุ  +1 คูลอมบ์   จากขั้วลบไปยังขั้วบวกของเซลล์   โดยผ่านภายในเซลล์ไฟฟ้า  มีหน่วย เป็น  จูลต่อคูลอมบ์ หรือ  โวลต์

          ความต้านทานภายใน  (r) หมายถึง ความต้านทานภายในเซลล์ไฟฟ้า  มีหน่วย เป็น  โวลต์ต่อแอมแปร์  หรือ โอห์ม